Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3

บทที่ 3

Published by 6032040026, 2018-08-28 03:10:19

Description: บทที่ 3

Search

Read the Text Version

โครงสร้างเครือข่าย (Topology)1.ลกั ษณะการเชอื่ มตอ่ เครือขา่ ย คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบเป็นเครือข่าย มีการเช่ือมโยงถึงกันในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า รูปแบบเครือข่าย (network topology) โทโปโลยี คือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของเครือข่าย ซ่ึงหมายถึงลักษณะของการเชื่อมโยงสายส่ือสารเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ภายในเคร่อื งเขา้ ดว้ ยกนั นน่ั เอง1.1การเชอื่ มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ (Point to Point) เป็นการเช่ือมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ส่ือสาร 2 เคร่ือง โดยใช้ส่ือกลางหรือช่องทางในการส่ือสารช่องทางเดียวเป็นการจองสายในการส่งข้อมูลระหว่างกัน โดยไม่มีการใช้งานสื่อกลางน้ันรว่ มกับอุปกรณ์ช้ินหลังอ่นื ๆ ลักษณะน้ีเปน็ การเช่อื มตอ่ ทท่ี าใหส้ น้ิ เปลอื งชอ่ งทางการสือ่ สาร

1.2การเชอื่ มต่อแบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop) เนื่องจากการเช่ือมโยงแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสายส่ือสารมากเกินไป และในการส่งข้อมูลส่วนใหญ่มักใช้งานไม่เต็มประสิทธิภาพของสาย สื่อสาร แบบการเช่ือมโยงที่คุ้มค่ากว่าคือการใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียว แต่เชื่อมต่อกับเทอร์มินัลได้หลายๆ เครอ่ื ง หรอื หลายๆ จดุ2.โครงสรา้ งของเครือขา่ ย (Network Topology) แบ่งเปน็ 6 ชนดิ1.1โครงสร้างแบบบัส (Bus Topology) เป็นเครือข่ายท่ีเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบ้ิลยาว ต่อเน่ืองไปเร่ือย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เขา้ กับสายเคเบิ้ล ในการส่งขอ้ มูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นท่ีสามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลา หน่ึงๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีน้ีจะต้องกาหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทาให้ข้อมูลชนกัน วิธีการท่ีใช้อาจแบ่งเวลาหรือใหแ้ ต่ละสถานีใช้ความถ่ี สัญญาณท่ีแตกต่างกัน การเซตอปั เครื่องเครือข่ายแบบบัสน้ีทาไดไ้ มย่ ากเพราะคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพยี งเส้นเดียวโดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบัสมักจะใชใ้ นเครือข่ายขนาดเล็ก ซึง่ อยใู่ นองค์กรทีม่ คี อมพิวเตอร์ใชไ้ มม่ ากนกั

ข้อดี คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหน่ึงเสียก็จะไม่ส่งผลตอ่ การทางาน ของระบบโดยรวม ขอ้ เสยี คอื การตรวจจุดท่ีมีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่องคอมพวิ เตอร์ในเครือข่ายมากเกินไปจะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหาข้อจากัด คือ จาเป็นต้องใช้วงจรสื่อสารและซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเพ่ือหลีกเลี่ยงการชนกนั ของ สญั ญาณข้อมูล และถ้ามีอปุ กรณต์ วั ใดตวั หน่งึ เสยี หาย อาจสง่ ผลใหท้ ั้งระบบหยุดทางานได้1.2โครงสร้างแบบดาว (Star Topology) เปน็ เครอื ขา่ ยทเ่ี ชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ทเี่ ปน็ จดุ ศนู ย์กลาง ของเครอื ข่าย โดยการนาสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกนั กับหนว่ ยสลบั สายกลางการติดตอ่ สอื่ สารระหวา่ งสถานจี ะกระทาได้ ดว้ ยการ ตดิ ตอ่ ผา่ นทางวงจรของหน่วยสลับสายกลางการทางานของหนว่ ยสลบั สายกลางจึงเปน็ ศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชือ่ มโยงระหว่างสถานีตา่ ง ๆ ท่ตี อ้ งการติดต่อกนั ข้อดี คือ ถา้ ต้องการเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบต่อ เคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่นื ๆ ในระบบ ขอ้ เสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบ้ิลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮบั ไม่ทางาน การส่ือสารของคอมพวิ เตอร์ท้ังระบบก็จะหยุดตามไปดว้ ย

1.3โครงสรา้ งแบบวงแหวน (Ring Topology) เปน็ เครอื ขา่ ยท่ีเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียว ในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่าน้ัน เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงส่งข้อมูล มันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เคร่ืองถัดไป ถ้าข้อมูลท่ีรับมาไม่ตรงตามท่ีคอมพิวเตอร์เคร่ืองต้นทางระบุ มันก็จะส่งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซ่ึงจะเป็นขั้นตอนอย่างน้ีไปเรื่อย ๆจนกวา่ จะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางท่ีถกู ระบตุ ามท่อี ยู่ ข้อดี คือ ใช้สายเคเบ้ิลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือขา่ ยน้ี และจะไมม่ ีการชนกันของข้อมูลทแ่ี ตล่ ะเครอื่ งส่ง ข้อเสีย ถ้าเครือ่ งใดเครอ่ื งหนง่ึ ในเครือขา่ ยเสยี หาย อาจทาใหท้ ง้ั ระบบหยดุ ทางานได้1.4โครงสร้างแบบตน้ ไม้ (Tree Topology) มีลกั ษณะเช่อื มโยงคลา้ ยกับโครงสรา้ งแบบดาวแต่จะมโี ครงสรา้ งแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสญั ญาณแยกออกไปเปน็แบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสรา้ งแบบนี้จะเหมาะกบั การประมวลผลแบบกลุม่ จะประกอบด้วยเคร่อื ง คอมพวิ เตอรร์ ะดับต่างๆกนัอย่หู ลายเครื่องแลว้ ตอ่ กันเปน็ ชนั้ ๆ ดรู าวกับแผนภาพองคก์ ร แต่ละกลมุ่ จะมโี หนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มน้ันทมี่ กี ารสัมพันธก์ นัการสอื่ สารข้อมูลจะผ่านตวั กลางไปยงั สถานีอน่ื ๆได้ทง้ั หมด เพราะทกุ สถานีจะอยู่บนทางเชือ่ ม และรบั สง่ ขอ้ มลู เดียวกัน ดังน้นั ในแตล่ ะกล่มุ จะสง่ ข้อมูลไดท้ ีละสถานโี ดยไมส่ ง่ พรอ้ มกนั

ขอ้ ดี คอื 1. รองรบั การขยายเครอื ขา่ ยในแต่ละจุด2. รองรับอุปกรณ์จากผู้ผลติ ทแี่ ตกตา่ งกนั ขอ้ เสีย คือ 1.ความยาวของแตล่ ะเซ็กเมนต์อาจแตกต่างกันไปข้ึนอยู่กบั สายสัญญาณท่ใี ช้2.หากสายสญั ญาณแบ๊กโบนเสยี หาย เครอื ขา่ ยจะไม่สามารถส่ือสารกันได้3.การตดิ ตงั้ ทาไดย้ ากกว่าโพโลยีแบบอืน่1.5โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆหลายๆแบบเข้าด้วยกันคือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ หลาย ๆ เครอื ขา่ ยเพอ่ื ให้เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการทางานขอ้ ดี คือ 1. ไม่ต้องเสยี ค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก2. สามารถขยายระบบได้ง่าย3. เสยี ค่าใช้จ่ายน้อย

ข้อเสีย คือ 1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เน่ืองจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังน้ันหากมกี ารขาดท่ตี าแหน่งใดตาแหนง่ หนึง่ กจ็ ะทาให้เครอ่ื งอืน่ ส่วนใหญ่หรือท้ังหมดในระบบไมส่ ามารถใชง้ านได้ตามไปด้วย2. การตรวจหาโหนดเสีย ทาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเคร่ืองเดียวเท่าน้ันที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนนั้ ถา้ มเี ครื่องคอมพิวเตอร์จานวนมากๆ อาจทาให้เกิดการคบั ค่ังของเนตเวิร์ก ซ่ึงจะทาให้ระบบช้าลงได้1.6โครงสร้างแบบเมซ (Mesh Topology) เป็นรูปแบบที่ถือว่าสามารถป้องกันการผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบท่ีใช้วิธีการเดินสายของแตเ่ ครอ่ื งไปเช่ือมการติดต่อกับทุกเคร่ืองในระบบเครือข่าย คือเคร่ืองทุกเคร่ืองในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเช่ือมกับทุกๆ เครื่อง ระบบนย้ี ากต่อการเดินสายและมรี าคาแพง จงึ มคี อ่ ยมีผ้นู ิยมมากนกั ข้อดี คอื 1. อัตราความเรว็ ในการสง่ ขอ้ มูล ความเชือ่ ถือได้ของระบบ2. ง่ายต่อการตรวจสอบความผิดพลาด3. ขอ้ มูลมีความปลอดภัยและมคี วามเปน็ ส่วนตวั ข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายสายเคเบิ้ลสูง เช่น ถ้าในกรณีท่ีจานวนโหนดมากเช่นถ้าจานวนโหนดทั้งหมดในเครือข่ายมีอยู่100 โหนด จะต้องมจี านวนจุดเช่ือมตอ่ ถงึ 4,950 เส้น เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook