Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบปลิวA5 Best Practice 2023

ใบปลิวA5 Best Practice 2023

Published by สุกัญญา ศรีสาคร, 2023-08-14 13:27:57

Description: ใบปลิวA5 Best Practice 2023

Search

Read the Text Version

บทสรุปสาํ หรับผูบริหาร Best ปฐมวัยสุพรรณบุรี Practice การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและพัฒนาแนวทางการบริหารการศึกษาปฐมวัย โดยใชรูปแบบ SPRINTER MODEL ประกอบดวยกระบวนการดังตอไปน้ี ปฐมวัยสุพรรณบุรี 1. SURVEY สาํ รวจสภาพปจจุบัน ความตองการและปญหา 2. PLAN วางแผน กําหนดเวลา เปาหมายและวิสัยทัศน นางสาวกญั ภกิ า วงั เปรม 3. ROLE AND RESPONSIBILITY จาํ แนกความถนัดเพ่ือสรางทีมงาน สรรหาครูผูนาํ รองผอู้ ํานวยการชาํ นาญการพเิ ศษ 4. INTERACTIVE DEVELOPMENT ดาํ เนินการรวมกันในการพัฒนาทักษะ โรงเรยี นอนบุ าลดา่ นชา้ ง องคความรูท่ีจาํ เปน สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต 3 5. NEW TECHNOLOGY มุงเนนสนับสนุนทรัพยากรและเทคโนโลยี 6. TAKE ACTION กําหนดวิธีการปฏิบัติอยางชัดเจน มีมาตรฐาน ชนะเลิศ 7. EVALUATION มีการประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนา 8. RECOGNIZE คนหาตนแบบการปฏิบัติท่ีมีความสําเร็จ ดา้ นผบู้ รหิ าร มุงแกปญหารวมท้ังพัฒนาเด็กใหมีคุณภาพสอดคลองกับวิสัยทัศน (VISION) ระดบั จงั หวดั ของโรงเรียนอนุบาลดานชางที่มุงเนนการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพ จัดการศึกษา เทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยนอมนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือมุงพัฒนาเด็ก \" การบรหิ ารการศึกษาปฐมวยั ปฐมวัยใหมีศักยภาพเปนพลโลก และสายชั้นปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลดานชาง จัดการศึกษา โดยใชร้ ปู แบบ SPRINTER Model \" ปฐมวัยตั้งแตอายุ 3 ปถึงอายุ 6 ปบริบูรณโดยมุงพัฒนาเด็กใหมีพัฒนาการท้ัง 4 ดาน อยางเปนองครวม โดยการพัฒนาอยางรอบดานใหสมดุลเต็มตามศักยภาพ ใหเกิดการเรียนรู โดยมุงเนนเด็กเปนสาํ คัญ คาํ นึงถึงความสามารถตามวัยและความแตกตางระหวางบุคคล รวมกับการจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) การจัดกิจกรรม การเรียนรูแบบ PROJECT APPROACH ใหมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี มีวินัย ปลูกฝงใหมีคุณธรรม จริยธรรม และสํานึกในความ เปนไทย รวมถึงการปรับตัวอยูในสังคมตามสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ภายใตความรวมมือ ระหวางครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษาและชุมชน เพื่อพัฒนาใหเด็กเปนมนุษยท่ีสมบูรณ และอยูรวมกันอยางมีความสุข การวิเคราะหขอมูล โดยใชวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวย การหาคะแนนเฉลี่ย (������ ) คารอยละ (PERCENTAGE) และวิเคราะหขอมูลดวยวิธีวิเคราะห เชิงเน้ือหา (CONTENT ANALYSIS) ผลการศึกษา พบวา 1. ผลการประเมินพัฒนาการของผูเรียนระดับชั้นปฐมวัยในระดับ 3 ขึ้นไป เพิ่มข้ึนรอยละ 3.05 เกินกวาเปาหมายท่ีกําหนด 2. ความพึงพอใจท่ีมีตอการดําเนินงานของโรงเรียนของผูมีสวนเก่ียวของตั้งแตระดับ ความพึงพอใจมากข้ึนไปคิดเปนรอยละ 100 เกินกวาเปาหมายท่ีกาํ หนดโดยผูเรียนระดับ ชั้นอนุบาลปท่ี 1- 3 ที่ไดรับการแกปญหา ดานพัฒนาการเชิงวิชาการ มีผลพัฒนาการ เชิงวิชาการและเชิงคุณลักษณะของการเรียนรู ประกอบดวย ดานพัฒนาการและ ดานอารมณ สังคม เจตคติ มีคุณลักษณะดานการเรียนรูเพิ่มขึ้น นักเรียนมีเจตคติ ท่ีดีในดานการเรียนรูและผูมีสวนเกี่ยวของมีความพึงพอใจตอการดําเนินงาน จัดการศึกษาของโรงเรียนในระดับมากสงผลให โรงเรียนอนุบาลดานชางไดรับการยกยองชมเชย ตลอดจนไดรับการยอมรับและมีผูปกครอง สงบุตรหลานมาเขาเรียนเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง

การบริหารการศึกษาปฐมวัย โดยใชรูปแบบ SPRINTER MODEL 0645362650 [email protected] Kanphika Wangprem @Kanphika ความเปนมาและความสําคัญ บุคลากรในโรงเรียนมีความตระหนักและชวยกันดาํ เนินงานใหสําเร็จตามเปาหมาย บทเรียนท่ีไดรับ การพัฒนาคุณลักษณะของผูเรียนดานการกาํ กับตนเอง (SELF REGULATION) และการเอาชนะอุปสรรค พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สภาพปญหาของ สพป.สพ.เขต ๓ สภาพปญหา และการปรับตัวเขากับความยากลาํ บากหรือความทาทายในนการดาํ เนินชีวิต (RQ: RESILIENCE QUOTIENT) ของโรงเรียนอนุบาลดานชาง จากผลการประเมินพัฒนาการเด็กและผลการติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายใน ของโรงเรียน ในวิถีชีวิตปกติรูปแบบใหม (NEXT NORMAL) อนุบาลดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ปการศึกษา 2564 พบวา คะแนนทักษะทางภาษาและพัฒนาการ ดานรางกายและดานสติปญญา การดําเนินงานตามแผนงานและกิจกรรมสงผลใหเด็กไดพัฒนาตามศักยภาพและไดรับการดูแลชวยเหลืออยางรอบดาน ของเด็กมีคาคะแนนต่ํากวาคาเปาหมายท่ีโรงเรียนกาํ หนด ทําใหมีเสียงสะทอนและความหวงใยและเปนโจทยใหญของการบริหารจัดการ การไดรูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย โดยใชรูปแบบ SPRINTER MODEL เปนแนวการปฏิบัติท่ีเปนเลิศ BEST PRACTICE ศึกษาวาควรใชรูปแบบการจัดการศึกษาอยางไรใหเหมาะสมกับสถานการณ เพื่อใหเด็กปฐมวัยไดเรียนรูอยางเหมาะสม สนับสนุน ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพท่ีสูงข้ึนอยางตอเน่ืองและย่ังยืน พัฒนาการ ทั้ง 4 ดานอยางเปนองครวม มุงแกปญหารวมทั้งพัฒนาเด็กใหมีคุณภาพสอดคลองกับวิสัยทัศน (VISION) ของโรงเรียน อนุบาลดานชาง ท่ีมุงเนนการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพ จัดการศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยนอมนําหลักปรัชญาของ เผยแพรประชาสัมพันธในรูปแบบและชองทางที่หลากหลาย เชน เว็บไซตโรงเรียน การเผยแพรและการไดรับการยอมรับ เศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะชีวิต เปนคนดี มีวินัย ปลูกฝงใหมีคุณธรรม จริยธรรม และสาํ นึกในความเปนไทยรวมถึงการปรับตัวอยูใน สังคมตามสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสม ภายใตความรวมมือระหวางครู ผูปกครองกรรมการสถานศึกษาและชุมชน เพ่ือพัฒนาใหเด็กเปน FACEBOOK และส่ือสังคมออนไลนตางๆ มนุษยท่ีสมบูรณและอยูในสังคมอยางมีความสุขและมีศักยภาพเปนพลโลก เผยแพรผลงานในฐานะโรงเรียนแกนนําการดําเนินงานเครือขายนวัตกรรมคุณภาพสถานศึกษา 1 ชวย 3 ใหแกโรงเรียนรวมพัฒนาจํานวน 3 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัดทับผ้ึงนอย โรงเรียนวัดวังคัน และโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 20 (บานหนองมะคาโมง) จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินงาน เผยแพรผลงานในรูปแบบนวัตกรรมที่เปนแบบอยางไดดานกระบวนการนิเทศการศึกษา \"การนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยใช SPRINTER MODEL\" ระดับ สพฐ. เพ่ือแกปญหาดานพัฒนาการเชิงวิชาการของผูเรียนระดับช้ันอนุบาลปท่ี 1-3 เผยแพรผลงานรูปแบบนวัตกรรมที่เปนแบบอยางได 1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม\" การนิเทศแบบลยาณมิตรเพ่ือขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนรู เพื่อแกปญหาเชิงคุณลักษณะของการเรียนรู ประกอบดวยดานพัฒนาการ ภายใตสถานการณการแพรระบาดไวรัสโคโรนา 2019 โดยใชรูปแบบ SPRINTER MODEL\" ระดับ สพฐ. ดานรางกายและดานอารมณ สังคม เจตคติ ของผูเรียนระดับช้ันอนุบาลปที่ 1 –3 นาํ เสนอเผยแพรผลงานน้ีกับคณะศึกษาดูงานจากโรงเรียน และสพป. อ่ืนๆ เพื่อรวมเปนเครือขายพัฒนาการจัดการศึกษา เพ่ือใหผูมีสวนเกี่ยวของมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานจัดการศึกษาของโรงเรียน อยูในระดับมาก เปนผูนํากิจกรรม PLC กับคณะครูสายชั้นปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลดานชาง การขยายผล ตอยอดหรือประยุกตใช การแลกเปล่ียนเรียนรูกับคณะที่มาศึกษาดูงาน คณะนิเทศกาํ กับติดตามจาก สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 นํานวัตกรรมมาปรับประยุกตในระดับประถมศึกษา รวมถึงการบริหารงานดานอ่ืนๆ กระบวนการผลิตผลงานหรือข้ันตอนการดาํ เนินงาน ปจจัยความสาํ เร็จ ครูหัวหนาสายช้ันอนุบาล และครูผูสอน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา วิเคราะหสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ รวมมือและทุมเทในการปฏิบัติอยางมี ขั้นตอนท่ี 2 กาํ หนดกรอบแนวคิดของกระบวนการพัฒนานวัตกรรมวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ ผูบริหารหนวยงาน และโรงเรียน ประสิทธิภาพ ขั้นตอนท่ี 3 สรางนวัตกรรมเพื่อนํามาใชในการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย รวมปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร ขั้นตอนท่ี 4 ทดลองใชนวัตกรรม ดําเนินกิจกรรมตามแนวทางการปฏิบัติที่กําหนด ใหการสนับสนุน สงเสริมใหเกิดการพัฒนา การจัดประสอบการณการเรียนรู ขั้นตอนท่ี 5 นิเทศติดตามระหวางการดาํ เนินการ อยางตอเน่ือง ข้ันตอนที่ 6 ประเมินผลนวัตกรรมวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ และการวัดประเมินผลอยางตอเนื่อง ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงแกไข และมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนที่ 8 รายงานผลการดําเนินการและเผยแพรขยายผล นักเรียน บุคลากรที่เก่ียวของ ผูปกครอง ตลอดจนภาคี เครือขาย นักเรียนมีความมุงมั่น ตั้งใจ เม่ือรวมกิจกรรม สนับสนุน มีสวนรวม ในกิจกรรม และการติดตาม พัฒนาการของเด็กอยางสม่ําเสมอ สนัสนุนกิจกรรมของโรงเรียน

รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ บทสรุปสาํ หรับผูบริหาร ปฐมวัยสุพรรณบุรี สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย สรุปผลตามวัตถุประสงคของการวิจัย ไดดังนี้ 1. การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย จากการศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย การศึกษาโรงเรียนที่ผลการปฏิบัติท่ีดีระดับปฐมวัย และการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ สังเคราะหเปนรูปแบบการนิเทศ Best การจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย มีสวนประกอบท่ีสาํ คัญ 2 สวน คือ 1.1 องคประกอบของการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย มี 3 องคประกอบ คือ Practice 1) ผูมีสวนเก่ียวของ ไดแก 1.1 ผูบริหารโรงเรียน 1.2 ครูหัวหนาสายช้ันระดับอนุบาล (สําหรับโรงเรียนขนาดใหญขึ้นไป) ปฐมวัยสุพรรณบุรี 1.3 ครูผูสอนระดับปฐมวัย จับคูระหวางครูท่ีมีวุฒิการศึกษาปฐมวัยและมีประสบการณในการสอนระดับปฐมวัยมาแลวไมนอยกวา 5 ป หรือเปนผูมีประสบการณในการสอนระดับปฐมวัยและมีวิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษสาขาปฐมวัย จับคูกับครูที่ไมมีวุฒิการศึกษา ปฐมวัยหรือมีประสบการณ ในการสอนระดับปฐมวัยไมถึง 2 ป การจับคูใชวิธีการแบบสมัครใจ (ครูคูรวมพัฒนา) 1.4 ศึกษานิเทศก 2) ปจจัยแหงความสาํ เร็จ 2.1 สื่อ / วัสดุอุปกรณ 2.2 ความไววางใจ 3) แรงจูงใจ 3.1 การยกยองชมเชย 3.2 การนาํ เสนอผลงาน รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย แสดงดังแผนภาพดานบน 1.2 กระบวนการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย มีข้ันตอนในการนิเทศ 6 ข้ัน SPIDROR RE คือ ข้ันที่ 1 การศึกษาวิเคราะหสภาพบริบทพื้นฐานและความตองการการนิเทศ (STUDY OF CONTEXT AND NEEDS ANALYSIS: S) ขั้นที่ 2 การวางแผนการดาํ เนินงาน (PLANNING: P) ข้ันที่ 3 การเตรียมความพรอมและใหความรูกับผูที่เกี่ยวของทุกฝาย (INFORMATION: I) ขั้นที่ 4 การลงมือปฏิบัติ (DOING: D) - การสรางสัมพันธภาพท่ีดีระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ (RELATIONSHIP: R) - การสังเกตการจัดการเรียนรูในหองเรียน (OBSERVATION: O) - การใหขอมูลยอนกลับ ขอเสนอแนะหลังการสังเกตการจัดการเรียนรู (REFLECTION: R) นางดวงทพิ ย์ เพช็ รนลิ ขั้นท่ี 5 การเสริมสรางกําลังใจ (REINFORCEMENT: R) ข้ันท่ี 6 การประเมินผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ (EVALUATION: E) ศกึ ษานเิ ทศกช์ าํ นาญการพเิ ศษ 2. ผลการตรวจสอบความเหมาะสม ความเปนไปได ความมีประโยชนของรูปแบบการนิเทศ การจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการ สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต 1 คาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ในภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด ( = 4.70, S.D. = 0.15) ผลการตรวจสอบ และรับรอง รูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้น ดานความเหมาะสม อยูในระดับมากท่ีสุด ( =4.70, S.D. = 0.15) ดานความเปนไปได อยูในระดับมาก ชนะเลิศ ที่สุด ( = 4.67, S.D. = 0.15) และดานความมีประโยชน อยูในระดับมากท่ีสุด ( = 4.72, S.D. = 0.16) ตามลําดับ 3. ผลการนํารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ไปทดลองใช ด้านศึกษานเิ ทศก์ กับกลุมตัวอยาง มีผลดังนี้ คือ 3.1 ผลความสามารถในการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย หลังการทดลอง ระดบั จงั หวดั สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และพิจารณาผลการประเมินความสามารถหลังไดรับการนิเทศดวยรูปแบบ การนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ในภาพรวมอยูในระดับดี ( = 2.74, \"การพฒั นารปู แบบการนเิ ทศการจดั ประสบการณ์ S.D. = 0.26) การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคํานวณ สาํ หรบั ครผู สู้ อนระดบั ปฐมวยั \" 3.2 ผลการสังเกตพฤติกรรมการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ผูวิจัย ใหผูบริหารหรือครูหัวหนาสายชั้นอนุบาล สังเกตพฤติกรรมจาํ นวน 5 คร้ัง และนํามาสรุปผลการสังเกตพฤติกรรม การจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ หากพบวาประเด็นที่สังเกตครูผูสอนระดับปฐมวัยปฏิบัติ/มี จํานวน 4 ครั้ง แสดงวาประเด็นท่ีสังเกตน้ัน ครูผูสอนระดับปฐมวัยปฏิบัติ/มี ผลการสังเกตพฤติกรรมการจัดประสบการณการเรียนรู วิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย พบวา ครูผูสอนระดับปฐมวัยมีผลการปฏิบัติ/มี พฤติกรรมการจัด ประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ ตามประเด็นที่สังเกตในภาพรวมคิดเปนรอยละ 92.92 3.3 ผลความพึงพอใจตอรูปแบบการนิเทศการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัยในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด ( = 4.59, S.D. = 0.33) 3.4 ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอน ระดับปฐมวัย หลังจากทดลองใชกับกลุมตัวอยาง มีผลการประเมินดังนี้ คือ ในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด ( = 4.66, S.D. = 0.20) 4. ความคิดเห็นของผูมีสวนเก่ียวของจากการขยายผลรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู วิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ใหกับโรงเรียนที่สนใจนาํ ไปใชในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.61 , S.D. = 0.17)

การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ การเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย 0894547578 [email protected] Duangthip Petnil บทเรียนท่ีไดรับ ความเปนมาและความสาํ คัญ รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย เปนรูปแบบการนิเทศของ สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 ซึ่งสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอื่นๆ และโรงเรียนสามารถนาํ ไปปรับหรือประยุกตใหมีความเหมาะสมกับบริบทของแตละพ้ืนท่ี โดยการวิเคราะห พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สภาพปญหาของ สพ.สพ.เขต 1 สภาพบริบทขอมูลพ้ืนฐานอยางแทจริงเพ่ือใหการดาํ เนินการนิเทศสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด เด็กปฐมวัยถือวาเปนชวงโอกาสทองของการเรียนรู จึงประกาศพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย การนํารูปแบบการจัดประสบการณการเรียนรู สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัยไปใช ตองคาํ นึงถึงองคประกอบท้ัง 3 องคประกอบ คือ พ.ศ. 2562 ข้ึนเพ่ือสงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีรอบดานทั้งทางรางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย ผูมีสวนเกี่ยวของ ปจจัย แหงความสาํ เร็จ และแรงจูงใจ ซ่ึงทางสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนท่ีนําไปใชตองมีการเตรียมความพรอม เกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต พัฒนากระบวนการคิดอยางเปนระบบและมีความคิดสรางสรรคต้ังแตระดับช้ัน ใหครบทั้ง 3 องคประกอบ เน่ืองจาก องคประกอบเหลานี้เปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหการดําเนินการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู ปฐมวัย ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ความตองการของครู สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ตามกระบวนการ ท้ัง 6 ข้ัน SPIDROR RE ดําเนินไปไดอยางราบร่ืน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยที่ตองการอบรมเทคนิคการจัดประสบการณการเรียนรูใหม ๆ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จึงไดพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สําหรับครูผูสอนระดับ การเผยแพรและการไดรับการยอมรับ ปฐมวัย เพ่ือพัฒนาความสามารถของครูในการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ และวางรากฐานเด็กปฐมวัยใหมีความสามารถ นวัตกรรมน้ีไดรับการพัฒนามาจากการนิเทศโดยใชเทคนิค COACHING ทางการแกปญหา การแสดงลําดับขั้นตอนการทาํ งานโดยใชภาพหรือสัญลักษณ และการเขียนสัญลักษณแทนคําสั่งอยางงายในการดําเนินการ เพื่อพัฒนาการจัดประสบการณการเรียนรูตามโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย อยางเปนลาํ ดับ ื ซ่ึงไดรับการประเมินวิธีปฏิบัติท่ีดีดานการนิเทศการศึกษา BEST PRACTICE ชนะเลิศอันดับท่ี 1 ดานการนิเทศการเรียนการสอน ระดับเครือขายการนิเทศกลุมจังหวัดเครือขายการนิเทศ ท่ี 4 เผยแพรผลการพัฒนารูปแบบนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินงาน วิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัยแกสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ในสังกัด สพฐ. ศึกษาธิการจังหวัด และเผยแพรบนเว็บไซต การขยายผล ตอยอดหรือประยุกตใช เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย เพ่ือศึกษาผลการใชรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย นํารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย เพ่ือพัฒนาความสามารถในการจัดประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณใหครูผูสอนระดับปฐมวัย เผยแพรตอศึกษานิเทศก ประจํากลุมโรงเรียน และผูบริหารโรงเรียน สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 สังกัด สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นําไปใชในปการศึกษา 2565 เปนตนไป เปนวิทยากรอบรมหลักสูตรอบรมการใหคําปรึกษาและการจัดการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ สําหรับศึกษานิเทศก กระบวนการผลิตผลงานหรือข้ันตอนการดําเนินงาน ผูบริหารโรงเรียน ปจจัยความสําเร็จ ครูหัวหนาสายชั้นอนุบาล ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาองคประกอบ กระบวนการนิเทศและตัวช้ีวัด ในการจัด ผูบริหารตองมีความรู ความเขาใจ เห็นความสาํ คัญ ควรมีความรู ความเขาใจ ในการจัด ประสบการณการเรียนรูวิทยาการคาํ นวณ ใหการสนับสนุน และอาํ นวยความสะดวก ประสบการณการเรียนรู สามารถเปนผูนํา สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ในการดําเนินกิจกรรมการจัดประสบการณตาง ๆ ใหคําปรึกษาและชี้แนะเกี่ยวกับแผน ข้ันตอนที่ 2 การตรวจสอบและรับรองรูปแบบ ของครูผูสอนระดับปฐมวัย การจัดประสบกาณการเรียนรูที่สอดแทรก การนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู สงเสริมและสนับสนุน กิจกรรม วิทยาการคํานวณสําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ใหครูและบุคลากร ใหมีความถูกตอง ข้ันตอนที่ 3 การศึกษาผลการใชรูปแบบ ไดมีการพัฒนาตนเอง เหมาะสมและ การนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู วิทยาการคาํ นวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับปฐมวัย ครูผูสอนระดับปฐมวัย นาํ ไปปฏิบัติไดจริง ข้ันตอนท่ี 4 ขยายผลรูปแบบการนิเทศ การจัดประสบการณการเรียนรู ครูควรมีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญ ศึกษานิเทศก วิทยาการคํานวณ สาํ หรับครูผูสอนระดับ ของการจัดประสบการณการเรียนรูในระดับปฐมวัย ปฐมวัย ครูตองจัดเตรียมส่ือ วัสดุ อุปกรณใหพรอมเพียงพอ รวมกันจัดทํากําหนดแผนการนิเทศการจัดประสบการณการเรียนรู และเหมาะสมสําหรับเด็กในการจัดประสบการณการเรียนรู ปฏิทินการดาํ เนินงานรวมกับผูบริหาร/หัวหนาสายชั้นอนุบาล ครูตองจัดทาํ บันทึก ครูผูสอนระดับปฐมวัย การสังเกตพฤติกรรม นิเทศ ติดตาม ใหความชวยเหลือ และประเมินพัฒนาการ คอยช้ีแนะ และเก็บรวบรวมขอมูล ของเด็กอยางสม่าํ เสมอ จากการสังเกตการจัดประสบการณ ใหกาํ ลังใจ สงเสริม สนับสนุน ใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ

บทสรุปสําหรับผูบริหาร Best ปฐมวัยสุพรรณบุรี การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทักษะการสื่อความหมาย Practice ของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรม บานนักวิทยาศาสตรนอยตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ปฐมวัยสุพรรณบุรี โดยใช PROJECT APPROACH เปนฐานสาํ หรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้น อนุบาลปท่ี 2 กลุมเปาหมายที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนระดับชั้น นางจติ รา พลสธุ รรม อนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลดานชาง ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2565 ครชู าํ นาญการพเิ ศษ จาํ นวน 32 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดประสบการณ โรงเรยี นอนบุ าลดา่ นชา้ ง การเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา จาํ นวน 24แผน ประกอบดวยหนวยการ เรียนรูบานในฝน วันฝนตกไขนาชม การคมนาคมสะดวก ลอยหรือจมลมและ สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต 3 อากาศ การละลาย ใบและดอก แบบสังเกตทักษะการสื่อความหมายของเด็ก ปฐมวัย ไดแก ความสามารถในการพูดบอกชื่อส่ิงของ ความสามารถในการ ชนะเลิศ พูดเลาเร่ือง ตามลาํ ดับเหตุการณ และความสามารถในการวาดภาพและแบบ ประเมินทักษะการสื่อความหมายของเด็กปฐมวัย ไดแก ความสามารถในการ ดา้ นครูผสู้ อน พูด บอกชื่อส่ิงของ ความสามารถในการพูดเลาเร่ืองตามลําดับเหตุการณ และความสามารถในการวาดภาพ วิเคราะหขอมูลโดยใชวิเคราะหขอมูล ระดบั จงั หวดั เชิงปริมาณ ดวยการหาคะแนนเฉลี่ย (������ ) และหาคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (������)และวิเคราะหขอมูลดวยวิธีวิเคราะหเชิงเนื้อหา(CONTENT \" การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกิจกรรม ANALYSIS) (STEMเพEือdสu่งcเบสa้ารtนiิมoนทnักัก)วษิทโดะยกยาาใศรชาส้ สPือตrคoรวj์นeา้อมcยหtตมAาาpมยpแขrนอoวงaสเcดะhเ็กตปเ็มปฐศนมึกฐวษาัยนา\" ผลการวิจัย พบวาคะแนนทักษะการสื่อความหมายของเด็กปฐมวัย กอนการจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอย ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) โดยใช PROJECT APPROACH เปนฐานมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 7.31 คะแนน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 1.71 และหลังการจัดประสบการณ การเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษามีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 12.06 คะแนน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 1.60 กลาวคือ เด็กปฐมวัย ท่ีไดรั บการจัดประสบการณการเรียนรู ตามแนวสะเต็มศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย ทักษะการสื่อความหมาย หลังการทดลองสูงกวา กอนการทดลอง

ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย กิ จ ก ร ร ม บ า น นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร น อ ย ต า ม แ น ว ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า ( S T E M E D U C A T I O N ) โ ด ย ใ ช P R O J E C T A P P R O A C H เ ป น ฐ า น เ พื่ อ ส ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย 0816154649 [email protected] จิตรา พลสุธรรม ความเปนมาและความสําคัญ เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอย บทเรียนท่ีไดรับ พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัยฯ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สภาพปญหาของ สพป.สพ.เขต 3 ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) โดยใช PROJECT APPROACH เปนฐาน สภาพปญหาของโรงเรียนอนุบาลดานชาง มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการส่ือความหมายหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลอง และผลจากการสังเกตพฤติกรรมพบวาเด็กปฐมวัยท่ีไดรับ เด็กไมสามารถส่ือความหมายใหผูอื่นเขาใจดวยการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนไมสามารถ การจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรม บอกความตองการของตนเองผานการนําเสนอดวยการอธิบายการวาดภาพและ บานนักวิทยาศาสตรนอยตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) โดยใช PROJECT APPROACH เปนฐาน ซึ่งประกอบดวย รวมแสดงความคิดเห็นใหผูอ่ืนเขาใจได จึงใชวิธีการจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรม ความสามารถในการพูดบอกช่ือสิ่งของ บานนักวิทยาศาสตรนอยตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) โดยใช การพูดเลาเร่ืองตามลําดับเหตุการณและการวาดภาพใหผูอื่นรูไดอยางถูกตองและชัดเจน PROJECT APPROACH เปนฐาน ในการแกปญหาและพัฒนาทักษะการส่ือความหมาย การเผยแพรและการไดรับการยอมรับ ใหเด็กมีคุณภาพตามประกาศคาเปาหมายของโรงเรียน เทียบเคียงกับทักษะดานอ่ืนและ บรรลุตามเปาหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดแนวปฏิบัติท่ีดี (BEST PRACTICES) ดานการศึกษาปฐมวัยประจาํ ปการศึกษา 2564 ในระดับ สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินงาน และองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี รับรางวัลผลงานนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัย ดานการจัดประสบการณการเรียนรูปฐมวัย ประจําปการศึกษา 2565 ในระดับ เพื่อศึกษาทักษะการสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรม สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี และเปนตัวแทนไปเผยแพรผลงานที่สาํ นักงานศึกษาธิการ ภาค 3 บานนักวิทยาศาสตรนอยตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) โดยใช PROJECT APPROACH เปนฐาน รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญทองนวัตกรรมหริการปฏิบัติที่เปนเลิศของการศึกษาปฐมวัยที่ประสบความสาํ เร็จในการจัดการเรียนรู สําหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปที่ 2 โรงเรียนอนุบาลดานชาง ใหมีคะแนนทักษะการสื่อความหมาย ประจาํ ปการศึกษา 2566 ในระดับสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 หลังการทดลองสูงข้ึนทุกคน เปนผูนํา PLC กับคณะครูสายช้ันปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลดานชาง การขยายผล ตอยอดหรือประยุกตใช กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาํ เนินงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคณะท่ีมาศึกษาดูงาน คณะนิเทศกํากับติดตามจาก สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 P 1. ศึกษา วิเคราะหเอกสาร และสรางเคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา การแลกเปล่ียนเรียนรูกับคณะผูเขารับการอบรมจากการที่ผูศึกษาไปเปนวิทยากรแกนนํา (LT) ของโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย 2. วางแผนและดําเนินการทดลองตามแผนการทดลองแบบ ONEGROUP ประเทศไทย PRETEST – POSTTEST DESIGN ปจจัยความสําเร็จ D 3. ดาํ เนินการประเมินทักษะการส่ือความหมายของเด็กปฐมวัย ผูบริหารโรงเรียน กอนจัดประสบการณ ครูหัวหนาสายช้ันอนุบาล ผูบริหารใหการสนับสนุน สงเสริมครูทุกมิติ 4. จัดประสบการณการเรียนรูดวยกิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอย ตามแนวสะเต็มศึกษา(STEM EDUCATION) โดยใช กระบวนการ PLC คณะครูในสายช้ันปฐมวัย PROJECT APPROACH เปนฐาน จํานวน 8 สัปดาห ๆ ละ 3 วัน คือ วันจันทร วันพุธ และวันศุกร วันละ 45 นาที นักเรียน ครู บุคลากร และผูปกครอง ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง 9.45 น. ครู บุคลากร ผูปกครอง และผูเกี่ยวของมีสวนรวม ในชวงกิจกรรมเสริมประสบการณ นักเรียนมีความมุงมั่น ต้ังใจ เมื่อรวมกิจกรรม C 5. ดาํ เนินการประเมินทักษะการสื่อความหมาย ของเด็กปฐมวัย หลังจัดประสบการณ และวิเคราะห สรุปขอมูล รายงานผล A 6. นาํ ขอมูลมาปรับปรุง พัฒนา และเผยแพรผลงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook