Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ตำบลจอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ตำบลจอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270020000, 2020-09-30 21:52:47

Description: พ.ย.62 ตำบลจอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี

Search

Read the Text Version

คาํ นํา ด้วย กศน.ตำบลจอมบึง ได้ดำเนินการจัดทำภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพื้นท่ี ตำบลจอมบึง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ทั้งจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนำภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพื้นที่ได้นำไปใช้และเรียนรู้เพื่อเพิ่มอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และไม่มีสารพิษ เช่น ดิน น้ำ แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดมีความสมดุล ของสภาพแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตำบลจอมบึง หวังวา่ เอกสารเล่มน้คี งมปี ระโยชนต์ ่อผอู้ า่ นและผู้ปฏิบัตงิ านต่อไป กศน.ตำบลจอมบงึ พฤศจิกายน 2562

สารบญั หนา้ คำนำ 1 สารบญั 5 กศน.ตำบลจอมบึง 10 - ภมู ิปัญญา การแพทยพ์ ้ืนบา้ น : คณุ สมาน ชฝู า - ภูมปิ ญั ญา การจักสานไมไ้ ผ่ : คณุ พล จันทรชติ - ภมู ิปญั ญา การเกษตรทฤษฎใี หม่ : คุณสมหวัง สุขพว่ ง คณะผ้จู ดั ทํา

1 แบบบันทึกชุดข้อมูลคลงั ปัญญา-ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ชอื่ ภมู ิปัญญา : ด้านการการแพทย์พนื้ บา้ น (กวาดยาเด็ก ดบั พิษไฟ) ชือ่ นายสมาน นามสกุล ชูฝา วนั เดือนปีเกิด : - เมษายน 2494 ท่อี ยู่ปจั จุบนั (ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได)้ : บา้ นเลขที่ 97 หมู่ที่ 10 ตำบล จอมบงึ อำเภอ จอมบงึ จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70150 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 094-0845070 ความเป็นมาของบคุ คลคลังปัญญา คุณลุงสมาน ชูฝา เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ในด้านการแก้ดับพิษไฟ การเป่ากระหม่อม งูสวัด และเริม เป็น ต้น ให้กับประชาชน หมู่ท่ี 10 บ้านแสนกะบะ มานานแล้ว จนกลายเป็นที่ยอมรับ นับถือในความเก่งในด้านนี้ เป็นอย่างมาก และยังมีบุคคลจากนอกพื้นที่ที่ได้รับข่าวสารในด้านนี้ ก็เดินทางให้ท่านได้ปัดเป่า โรคภัย ไข้เจ็บ เป็นประจำได้เรียนภูมิปัญญาท้องถิ่นการแพทย์แผนไทยด้านการกวาดยาเด็กที่เป็นซางหรือเป็นไข้เจ็บป่วย เล็กนอ้ ย การเป่าหวั การรักษาเริม งูสวดั ดบั พิษไฟ จาก ปู่ ย่า ตา ยาย จากรนุ่ สู่รุ่น เป็นการสืบทอดกันมาอย่าง ยาวนาน ลงุ สมาน เป็นทีร่ ู้จกั ในชุมชน หมบู่ า้ นและหมู่บา้ นใกลเ้ คยี ง ในเร่ืองของการรักษาเบื้องต้น แต่ถ้าอาการ หนกั ลงุ จะแนะนำให้ส่งโรงพยาบาล แต่ส่วนมากจะรกั ษาหาย จุดเด่นของภมู ปิ ัญญา - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานทีถ่ ่ายทอดความรู้ วัตถดุ บิ ที่ใช้ประโยชนใ์ นการผลิตภณั ฑ์ท่ีเกิดจากภูมปิ ัญญา ซงึ่ พื้นทีอ่ ่นื ไม่มี ไดแ้ ก่ - สมุนไพร - ฝาละมีฝนยา - ยากวาดคอ - ตำรายาสมุนไพร - ตำราดบั พิษไฟ รายละเอยี ดของภมู ิปัญญาท้องถิ่น - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ้งั การศกึ ษาดูงาน การเข้ารับการอบรมและฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ เพอ่ื นำประโยชน์ท่ไี ดร้ บั ไปปฏบิ ตั ิใชไ้ ดจ้ รงิ ในชีวติ ประจำวัน

2 รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ยงั ไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ ใช้เฉพาะบคุ คล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นส่อื มวลชนและสอ่ื อย่างแพร่หลาย มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จำนวน.................ครงั้ จำนวน................คน มกี ารนำไปใช้ ในพื้นท.่ี ..................คน นอกพื้นที่...................คน อ่นื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ การพฒั นาต่อยอดภูมปิ ญั ญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คุณคา่ (มูลคา่ ) และความภาคภูมิใจ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ /นวัตกรรมท่คี ดิ ค้นขนึ้ มาใหม่ ภมู ิปัญญาท้องถ่ินด้งั เดิมได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคือ หมอสมุนไพรมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น การักษาโดยรวม จะเหมือนกันคือใช้สมุนไพรเป็นหลักในการรักษา เนื่องจากหมอพื้นบ้านเชื่อว่าความเจ็บป่วยไม่ได้เกิดจาก สาเหตุใดเพียงสาเหตุเดียว ดังนั้นหมอสมุนไพรจำนวนมากจึงมีความรู้เกี่ยวกับเวทมนตร์คาถา การทำนาย โชคชะตาควบคูไ่ ปกบั การรักษาดว้ ย การพฒั นาตอ่ ยอดคือ ความภาคภมู ใิ จในด้านการดูแลสุขภาพ เป็นผลผลติ ทางวฒั นธรรม และ เนื่องจากคนมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมในแต่ละสังคมจึงควร จะมีวิธีการที่หลากหลายไว้เพื่อแก้ปัญหา สุขภาพดว้ ย เมอื่ พิจารณาในประเด็นสทิ ธผิ ู้ป่วยก็พบวา่ เป็น สทิ ธิอันชอบธรรมของผู้ปว่ ยที่จะเลือกวิธีการรักษาท่ี เห็นว่าเหมาะสมกับตนและไม่สร้างความเดือดรอ้ นเสียหายให้กับผู้ใด ด้วยเหตุน้ีภูมปิ ญั ญาการแพทย์พืน้ บ้านอัน เป็นวิธีการดูแลสุขภาพ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนไทยและใช้ปฏิบัติสืบต่อกันมายาวนาน และเป็นการรักษา เบื้องต้นก่อนทจ่ี ะไปโรงพยาบาล

3 ภาพถ่ายเจ้าของภมู ิปญั ญา นายสมาน ชฝู า (เจ้าของภูมปิ ญั ญาการแพทย์พนื้ บ้านการกวาดยาเด็กและด้านการดบั พิษไฟ)

4 รปู ภาพภมู ิปญั ญา อปุ กรณใ์ นการกวาดยา อุปกรณ์ในการกวาดยา (น้ำผงึ้ ) (ยาตราใบโพธ์)ิ อุปกรณใ์ นการกวาดยา นายสมาน ชูฝา (ฝาละมีฝนยา) ฝนยาในฝาละมีเพื่อทำการกวาดคอเดก็

5 แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มูลคลังปัญญา-ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จังหวดั ราชบรุ ี ชือ่ ภูมปิ ัญญา : การจักสานไมไ้ ผ่ ชื่อ นายพล นามสกลุ จันทรชิต วนั เดอื นปีเกดิ : – 2498 ท่อี ยู่ปจั จุบนั (ทสี่ ามารถติดตอ่ ได้) : บา้ นเลขท่ี 3 หมทู่ ี่ 10 ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี รหสั ไปรษณีย์ 70150 เบอร์โทรศพั ท์ : 092-2691722 ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปญั ญา นายพล จันทรชิต มีความถนัดด้านงานจักสานเป็นงานหัตถกรรมที่ชาวบ้านทำเพื่อใช้ในครัวเรอื นมาแต่ โบราณ งานจักสานหรือเครื่องจักสานจะมีอยู่น้อย แต่ก็ยังคงมีอยู่ทั่วไป ทุกภาคในประเทศนอกเหนือจาก ประโยชน์ใชส้ อยแล้ว งานจกั สานยังสะท้อน วัฒนธรรม สะทอ้ นความคิดสร้างสรรค์ และภมู ปิ ัญญาของชาวบ้าน ไดอ้ ีกด้วย และยงั นำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาและต่อยอดตอ่ ไป จักสานไม้ไผ่เป็นงานฝีมือที่มีคุ้นค่าคู่กับชนชาติไทยมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยโบราณก็มีการจักสาน เครื่องมือ เครื่องใช้ โดยใช้ไม้ไผ่ป่า ไม้รวก ฯลฯ เพื่อนำมาทำเป็นอาวุธและเรื่องใช้ในครัวเรือน และ ใช้ประกอบการหาอาหารเพื่อเลี้ยงชีพและจักสานเพื่อความสวยงาม ทำเปน็ โฟอรน์ ิเจอร์ไว้ประดับบ้านเรือนและ จำหนา่ ยใหก้ บั ประชาชนในชมุ ชนและชุมชนใกล้เคยี งไว้ใช้สอย นายพล จันทรชิต คือบุคคลที่มีความสนใจในเรื่องไม้ไผ่เป็นอย่างมากและสนใจในเรื่องการนำไม้ไผ่ มาแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าให้กับไม้ไผ่ให้มีราคาสูงขึ้น โดยการนำไม้ไผ่มาแปรรูปเป็นแปลสำหรับนอนพักผ่อน ตะกร้า สุ่ม กระบุง ฯลฯ เพื่อการจำหน่ายสร้างมูลค่าให้กับสินค้า ทำให้ชุมชนและเพื่อนบ้านใกล้เคียง มาศึกษาดูงานแล้วนำกลับไปประยุกต์.ใช้ในครัวเรือน และนำไปร่วมจัดนิทรรศการต่างๆในงานประเพณี ของดีจอมบึง งานวันผู้อายุขององค์การบริหารส่วนตำบลจอมบึง ซึ่งมีราคาไม่แพง และสารถที่จะสั่งทำ ผลติ ภัณฑ์ๆจากไม้ไผไ่ ดต้ ามความต้องการ จดุ เด่นของภูมปิ ัญญา - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดูงาน - เปน็ สถานทถ่ี ่ายทอดความรู้ - เปน็ แหล่งฝกึ ทดลองทำงานด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง วตั ถดุ บิ ท่ใี ชป้ ระโยชน์ในการผลติ ภณั ฑท์ ่เี กดิ จากภูมิปัญญา ซึ่งพนื้ ท่อี นื่ ไม่มี ได้แก่ - ไม้ไผ่ รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถน่ิ - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ มีทัง้ การศึกษาดงู าน การเขา้ รบั การอบรมและฝกึ ปฏบิ ัติจริง เพ่ือนำประโยชน์ทไ่ี ด้รับไปปฏิบัตใิ ช้ไดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจำวัน

6 รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพรภ่ มู ิปัญญาท้องถน่ิ ยังไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผ่านสอื่ มวลชนและส่ืออย่างแพรห่ ลาย มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จำนวน.........2.......คร้งั จำนวน......20......คน มกี ารนำไปใช้ ในพ้นื ที.่ .......6.......คน นอกพืน้ ท.่ี ...2......คน อน่ื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภมู ิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาตอ่ ยอดภมู ิปัญญาใหเ้ ป็นนวตั กรรม คณุ ค่า (มูลคา่ ) และความภาคภูมใิ จ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ /นวัตกรรมท่คี ิดคน้ ขน้ึ มาใหม่ ภมู ิปัญญาท้องถ่ินดั้งเดิมได้รบั การถ่ายทอดมาจาก ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นที่ได้พฒั นาและตอ่ ยอด แบบเดิมคือ ต้นไผ่ ถือเป็นทรัพยากรสำคัญ สามารถนำส่วนต่างๆ ของไผ่มาใช้ได้ ตั้งแต่ หน่อ ลำต้น ใบ ราก เย่อื ไผ่ ขุยไผ่ ประโยชน์ หลากหลายดา้ น โดยเฉพาะด้านงานหัตถกรรมจักสาน ใช้ทำเป็นข้าวของ เครื่องใช้มากมาย เช่น กระบุง ตะกร้า แคร่ กระจาด ฝาชีกรอบรปู กระเป๋า เป็นต้น นับจากอดีตกาลการดำเนิน วิถีชีวิตของคนไทยอยู่คู่มากับเครื่องใช้ไม้สอยที่ทำด้วยไม้ไผ่แทบทั้งสิ้น เครื่องจักสาน ไม้ไผ่จึงนับได้ว่าเป็น สิง่ จำเปน็ ที่อยู่รว่ มกับการดำรงชวี ติ ของ ชาวบ้านแทบทกุ หลังคาเรอื น การพฒั นาต่อยอดคือ \"เปลไมไ้ ผ่\" หรือเปลกระบอกไม้ไผ่ มกั แขวนไวต้ ามใตถ้ ุนบ้าน หรือ ตาม ใต้ร่มไม้ เพื่อใช้นอน หรือนั่งเล่นในยามว่าง บางทีใช้สำหรับเด็กๆนอนก็มีการใช้ไม้ไผ่มาทำเปลนั้นเพราะไม้ไผ่มี ประโยชน์มากมายในท้องถ่นิ มที ้งั ขน้ึ เองตามธรรมชาตแิ ละปลกู ไว้ ใช้ประโยชนอ์ ืน่ ๆ ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวบา้ นจึงใช้ไม้ ไผ่ประดิษฐ์ ของนานาชนิด เปลไม้ไผ่จึงเป็นผลงานของบรรพบุรุษ ซึ่งทำไว้ ในสมัยก่อน ปัจจุบันไม่ค่อยมีการทำ เพราะมีวัสดุที่ใช้ทำแทนแล้ว เช่น เชือก เปลไนลอน หรือเปลญวน ซึ่งสะดวกต่อการใช้สอยและเก็บรักษา ซึ่ง ชาวบา้ นฤกษ์อดุ มยงั เปน็ หมู่บา้ นทย่ี ังอนุรักษแ์ ละเห็นคณุ ค่าของเครื่องใช้ ท่ีเป็นส่ิงทสี่ บื ทอดกันมาแต่โบราณ โดย ยังคงทำเครื่องมือ เครื่องใช้ จักสานด้วยไม้ไผ่หลายชนิด การทำเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความเป็น อยู่ของชาวบ้านเอง นอกจากทำเครื่องมือเครื่องใช้แล้ว ก็จะมองหาสิ่งอำนวยความสะดวก และ สามารถสรา้ งความอบอ่นุ ภายในครอบครวั เชน่ การทำเปล ให้ลกู นอน

7 ภาพถา่ ยเจ้าของภูมิปัญญา นายพล จันทรชิต (เจ้าของภูมปิ ัญญาด้านการจักสานไมไ้ ผ่)

8 รูปภาพภมู ปิ ัญญา อปุ กรณ์ในการทำแปล อุปกรณใ์ นการทำแปล ต้นไผ่สีสกุ ไผส่ ีสุกตัดเป็นลำๆ นำไมไ้ ผส่ ีสกุ มาตดั ตามความยาว 3 เมตร ตอกทส่ี านจะมหี ลายขนาด ยาวทีส่ ุดอยู่ที่ 95, 80, ต้องตดั ไวข้ อ้ หัวปลาย แลว้ เล่อื ยข้อท่ี 2 ใต้ขอ้ ท้งั หวั -ปลาย 70, 50 เซนตเิ มตร ตามลำดับ เปล 1 ตวั จะใช้ตอก ประมาณครงึ่ หน่ึงแล้วผา่ ออก ส่วนทีเ่ หลอื คร่งึ หน่งึ จะแบ่ง ประมาณ 200 เสน้ ให้ได้ 9 ซี่

9 รปู ภาพภมู ิปญั ญา ผ่าสายยาง แลว้ นามาครอบกนั ขอบทง้ั 2 ข้าง ของแมเ่ ปลแลว้ ใช้เชือกไนล่อนมดั ใช้น้ำมนั แชลค็ ทาไม้ไผ่ เตรยี มสง่ ใหล้ กู ค้า แปลไมไ้ ผ่

10 แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มลู คลงั ปญั ญา-ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตำบลจอมบงึ อำเภอจอมบงึ จังหวัดราชบุรี ชอ่ื ภูมิปัญญา : เกษตรทฤษฎีใหม่ (การปลูกพืชผสมผสาน) ช่อื นายสมหวัง นามสกลุ สขุ พว่ ง วนั เดือนปีเกิด : 15 สิงหาคม พ.ศ.2497 ทอี่ ยู่ปัจจุบนั (ทสี่ ามารถติดต่อได้) : บ้านเลขที่ 117 หมู่ที่ 10 ตำบล จอมบึง อำเภอ จอมบงึ จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70150 เบอรโ์ ทรศัพท์ : 081-8805122 Facebook : ไรส่ ขุ พว่ ง : Rai Sukphoang ความเปน็ มาของบคุ คลคลงั ปญั ญา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ กรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และ แนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ในทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ อาจเปรียบเทียบกับ หลกั เศรษฐกจิ ในระดบั บคุ คล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเปน็ เศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้นื ฐาน นายสมหวัง สุขพ่วง คือบุคคลที่น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่เข้ามา ใช้ในชีวิตประจำวันจนเป็นแบบอย่างให้กับลูกๆของท่าน พื้นที่ 5 ไร่ การออกแบบพื้นที่ตามหลักของ เกษตรทฤษฎีใหม่ (การปลูกพืชผสมผสาน) มีระบบจัดการน้ำตามศาสตร์พระราชา เปลี่ยนพื้นที่แห้งแล้งให้มีนำ้ ตลอดปี มีความสามารถกักเก็บน้ำฝน ได้ทั้งบนดินและใต้ดิน ที่นี่เราแสดงแนวคิดของพระราชา เมื่อในนาไม่ได้ มีแค่ข้าว นาข้าวคือชีวิตและจิตวิญญาณหลายดวงรวมกันอยู่ที่นี่ ความสมบูรณ์ของท้องนา ที่ปราศจากสารเคมี เกิดระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ ลมหนาวข้าวเบาไหวๆตามสายลม นาข้าวมาตรฐาน Earth Safe อินทรีย์วิถีไทย ไรส่ ุขพ่วง : Rai Sukphoang สถานที่ถ่ายทอดความรู้ ไร่สุขพ่วง ความสุขพร้อมแบ่งปัน เดินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ถ่ายทอดให้ความรู้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในแต่ละเดือนจะมีบุคคลภายนอกมาศึกษาดูงาน เป็นจำนวนมากด้านการถ่ายทอดให้ความรู้ คุณสมหวัง สุขพ่วง จะเป็นวิทยากรบรรยายในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ และยังถ่ายทอดความรู้และฝึกประสบการณ์ในพื้นที่ ผลผลิตของเกษตรกรที่ยึดมั่นในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน ด้วยการมีตัวตนท่ี ชัดเจนและเจตจำนงที่แน่วแน่ของพวกเขา ลุกขึ้นมาสร้างสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับครอบครัวที่เขารัก รวมถึง ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ กาย ผลแห่งการปฏิบัติจึงเป็นสิ่งที่รับรองตัวตนและสิ่งดีงามที่ได้กระทำผ่านเรื่องราว ผา่ นวัฒนธรรมประเพณคี วามเป็นวถิ ีไทย “เราจะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามศาสตร์พระราชามาถ่ายทอด ความรใู้ หก้ ับผทู้ ่ีสนใจนำไปปฏบิ ัติ”

11 จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญาท้องถิ่น - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เป็นสถานท่ถี า่ ยทอดความรู้ - เป็นแหลง่ ฝกึ ทดลองทำงานด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถุดิบทีใ่ ช้ประโยชน์ในการผลติ ภัณฑ์ที่เกิดจากภูมปิ ัญญา ซ่งึ พนื้ ท่อี ืน่ ไม่มี ได้แก่ - เรื่องของการจัดการนำ้ โคกหนองนาโมเดล เช่น การสร้างคลองใกล้-ไกล การสร้างบอ่ เก็บน้ำขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ทำหัวคันนาขนาดใหญ่เพื่อให้เก็บน้ำฝนได้ รวมถึงการปลูกป่าเพื่อให้ป่าช่วยซับน้ำ เพราะฉะนน้ั พนื้ ท่ีเลยมี 4 ส่วน 1. ทีอ่ ย่อู าศัย 2. นาขา้ ว 3. ป่า 4. คอกสัตว์ ทำในรูปแบบของป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง รายละเอยี ดของภูมิปัญญาท้องถิน่ - รปู แบบในการถา่ ยทอดความรู้ มที ั้งการศึกษาดูงาน การเขา้ รับการอบรมและฝึกปฏิบตั ิจรงิ เพ่อื นำประโยชน์ท่ีได้รับไปปฏบิ ตั ิใช้ไดจ้ รงิ ในชีวิตประจำวัน รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสื่อมวลชนและสือ่ อยา่ งแพรห่ ลาย มีการดูงานจากบคุ คลภายนอก จำนวน........5-6........คร้ัง จำนวน.......100.....คน มีการนำไปใช้ ในพนื้ ท.ี่ .......10...........คน นอกพื้นที่............20.......คน อน่ื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น การพัฒนาต่อยอดภมู ปิ ัญญาใหเ้ ป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภมู ใิ จ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น/นวัตกรรมทค่ี ดิ คน้ ขึน้ มาใหม่ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ดั้งเดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นท่ไี ด้พัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดิมคอื ทำในรูปแบบครัวเรือนขยายการผลติ จากปลูกกินเอง เปน็ ปลูกเพื่อการค้า อุปสรรคมากมาย เอาชนะได้ด้วยศาสตร์พระราชาเมื่อสามารถปลูกผักเลยี้ งคนในครอบครัวได้แล้ว จงึ เริ่มคิดท่ีจะ ทำเพื่อสร้างรายได้ขยายพื้นที่ปลูกให้มากขึ้น แต่เมื่อเริ่มขยายพื้นที่มากขึ้น ปัญหาเริ่มเกิด น้ำไม่พอใช้ พื้นที่ดิน เส่อื มโทรม มีโรคพชื โรคแมลง อุปสรรคเข้ามามากมายจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งไปศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งต่างๆ ศกึ ษาวา่ ท่ีไหนสามารถชว่ ยเราไดบ้ ้าง

12 การพัฒนาต่อยอดคือ วันนี้ถ้าคุณกินของเรา คุณจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือใครหรือ เกื้อกูลใคร เราทำตลาดในรูปแบบแบรนด์ ทำในชื่อแบรนด์ไร่สุขพ่วง หมายความว่า ถ้าคุณเป็นส่วนหนึ่งในการ ซื้อผลิตภัณฑ์ของไร่สุขพ่วง คุณจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือชุมชน ช่วยเหลือสิ่งแวดล้อม เพราะว่าเราไม่ใช้ สารเคมี เราเดินตามเศรษฐกจิ พอเพียง ก็กลายเป็นเร่ืองราวที่ติดไปกับแบรนด์ของเรา สร้างมาตรฐานอินทรีย์วิถี ไทย เป็นตรารับรองสินคา้ ทไี่ มม่ สี ารเคมีปนเปอ้ื น ทัง้ หมดน้ีถอื ว่าไรส่ ขุ พว่ งได้ทำใหท้ ุกคนมสี ว่ นร่วม เขาไม่ทำงาน คนเดยี ว เกดิ การสรา้ งเครือขา่ ยท่ัวประเทศไทย

13 ภาพถ่ายเจ้าของภูมปิ ญั ญา นายสมหวัง สขุ พว่ ง (เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาเกษตรทฤษฎใี หม่การปลูกพชื ผสมผสาน)

14 รูปภาพภูมิปัญญา บอ่ น้ำสำหรบั ใชใ้ นพน้ื ท่ี แปลงเกษตรผสมผสาน แปลงนาขา้ ว Earth Safe อินทรยี ์วถิ ไี ทย ไร่สขุ พ่วง ใช้พลังงานแสงอาทิตย์

ทป่ี รกึ ษา คณะผู้จัดทาํ นายนพรัตน์ แจ้งหมน่ื ไวย์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอจอมบงึ นางศันสุนยี ์ ศรพี รหมทอง ครูผ้ชู ่วย รา่ ง/เรียบเรยี งและจดั พิมพ์ นางสาววารุณี จันทรโ์ ตศรี ครู กศน.ตำบลจอมบึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook