Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม

พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม

Published by Boosanee Nuchrungreung, 2019-09-24 04:45:59

Description: บรรยาย พรบ.วอ.

Search

Read the Text Version

สำนักควบคุมพืชและวสั ดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION พระราชบัญญัติวตั ถุอันตราย พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ

สำนักควบคมุ พชื และวัสดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION ความเปน็ มาของกฎหมาย 1. พระราชบญั ญัตวิ ตั ถุมีพิษ พ.ศ. 2510 2. พระราชบญั ญตั วิ ัตถุมพี ิษ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2516 3. พระราชบญั ญัตวิ ัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 4. พระราชบญั ญตั ิวตั ถอุ นั ตราย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 5. พระราชบญั ญัตวิ ัตถอุ ันตราย (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2551

สำนักควบคุมพชื และวสั ดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือคมุ้ ครองปอ้ งกันอันตรายทีเ่ กิดกบั บุคคล สัตว์ พชื ทรพั ย์ หรือส่งิ แวดล้อม 2. เพื่อควบคมุ ผปู้ ระกอบการ 3. เพ่ือคุ้มครองเกษตรกร

สำนักควบคุมพืชและวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION ประโยชน์ของกฎหมาย 1. เกษตรกรจะไดใ้ ช้วตั ถุอนั ตรายท่มี คี ณุ ภาพ ตรงตามชนดิ ของพืชและศตั รพู ืช 2. ทาให้ลดตน้ ทนุ ในการผลิต

สำนกั ควบคมุ พืชและวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION ประโยชนข์ องกฎหมาย(ต่อ) 3. ลดความเสยี หายที่เกดิ จากศตั รูพืช 4. ผู้ประกอบธรุ กจิ ไมก่ ลา้ ละเมิดกฎหมาย 5. เกษตรกรถูกเอารัดเอาเปรียบ ในทางการค้านอ้ ยลง

สำนกั ควบคมุ พชื และวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION ควำมสำคัญของสำรกำจดั ศตั รพู ืช ➢ เปน็ ปัจจัยกำรผลิตพืชทีส่ ำคัญ ➢ รักษำผลผลิต และคุณภำพผลผลิต เพ่อื ให้เพยี งพอต่อ ประชำกรทีเ่ พ่ิมขึ้น ท้งั ในประเทศ และกำรส่งออก ➢ ลดแรงงำน

สำนักควบคมุ พชื และวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION กลุม่ ศตั รูพชื ➢ ศัตรูพืช คอื ส่งิ มีชีวติ ท่ีทำควำมเสียหำยแก่พชื เศรษฐกจิ ➢ โรค (เชอ้ื รำ แบคทีเรยี ไวรัส ไสเ้ ดอื นฝอย) ➢ แมลง (กดั กนิ ใบ/รำก ดูดนำ้ เล้ียง ชอนใบ เจำะลำตน้ ) ➢ วัชพชื (ประเภทใบแคบ ใบกว้ำง กก) ➢ สัตว์ (หนู หอย ไร)

สำนกั ควบคมุ พืชและวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION ควำมเสยี หำย ➢ ผลผลติ ลดลง ➢ คณุ ภำพลดลง ➢ ขำยไมอ่ อก ➢ ขำยไม่ได้รำคำ

สำนักควบคมุ พืชและวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม ผลติ หมายความว่า ทา เพาะ ปรงุ ผสม แปรสภาพ ปรงุ แต่ง แบง่ บรรจุ หรือ รวมบรรจุ

สำนักควบคุมพชื และวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม มไี ว้ในครอบครอง หมายความว่า การมีไว้ใน ครอบครองไมว่ ่าเพอ่ื ตนเองหรือผูอ้ ื่น และไม่ว่าจะมีไวเ้ พื่อ ขาย เพื่อขนส่ง เพอ่ื ใช้ หรือเพอ่ื การอืน่ ใด และรวมถงึ การท้งิ อยู่หรือปรากฏอยใู่ นบรเิ วณทอ่ี ยู่ในครอบครองดว้ ย

สำนักควบคุมพืชและวัสดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม ขาย หมายความวา่ การจาหนา่ ย จา่ ย หรือแจก เพ่อื ประโยชน์ทางการคา้ และให้หมายความรวมถงึ การมไี วเ้ พอ่ื ขายด้วย สารสาคัญ หมายความวา่ สารออกฤทธิ์

สาระสาคัญหรอื สารออกฤทธ์ิ = 50 และมีสารปรงุ แตง่ = 50

สำนกั ควบคุมพชื และวัสดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม วตั ถุอนั ตราย หมายความถึง 1. วตั ถรุ ะเบดิ ได้ 2. วตั ถุไวไฟ 3. วัตถุออกซไิ ดซแ์ ละวัตถุเปอร์ออกไซด์ 4. วัตถุมพี ิษ

สำนกั ควบคมุ พชื และวัสดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม 5. วัตถุทท่ี าให้เกดิ โรค 6. วตั ถกุ ัมมันตรังสี 7. วัตถุทีก่ อ่ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง ทางพันธกุ รรม 8. วัตถกุ ดั กร่อน

สำนักควบคุมพชื และวสั ดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION คำนยิ ำม 9. วตั ถุทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อาการระคายเคือง 10. วัตถอุ ยา่ งอ่ืนไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรอื สิง่ อ่ืนใด ท่อี าจทาใหเ้ กิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พชื ทรพั ย์ และส่งิ แวดล้อม

สำนักควบคุมพืชและวัสดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบตามกฎหมาย 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. กระทรวงอตุ สาหกรรม 3. กระทรวงสาธารณสขุ 4. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. กระทรวงพลงั งาน 6. กระทรวงกลาโหม

สำนกั ควบคุมพืชและวัสดกุ ำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION วัตถุอันตรายทางการเกษตร ➢ สารกาจัดแมลง ➢ สารกาจดั วชั พืช ➢ สารปอ้ งกันกาจัดโรคพชื ➢ สารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพืช

สำนกั ควบคุมพืชและวัสดุกำรเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL REGULATION วัตถอุ ันตรายทางการเกษตร(ตอ่ ) ➢ สารกาจัดไร ➢ สารกาจัดหนู ➢ สารกาจัดหอย

มาตรการท่ีใชค้ วบคุมวตั ถุอันตรายทางการเกษตร • กาหนดให้มีการขึ้นทะเบียน เพ่ือเลือกใช้วัตถุอันตรายท่ีมี ประสิทธิภาพและปลอดภัย • กาหนดให้มีการขอนุญาตประกอบกิจการ เพื่อเป็นการ ควบคุมการผลิต การนาเข้า การส่งออก และการมีไว้ใน ครอบครอง • การควบคุมหลังจากการได้รับการขึ้นทะเบียนและอนุญาตแล้ว ได้แก่การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และ การดาเนนิ คดตี อ่ ผฝู้ า่ ฝืนกฎหมาย

พ.ร.บ. วัตถอุ นั ตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๖ ➢ ผู้ผลติ หรอื นาเขา้ ซึ่งวัตถอุ นั ตรายชนิดท่ี ๒ หรือชนดิ ท่ี ๓ จะตอ้ งขอข้นึ ทะเบียนก่อน จงึ จะแจง้ หรอื ขออนุญาต ผลิตหรือนาเขา้ วัตถุอนั ตรายได้

การขึน้ ทะเบยี นวัตถอุ ันตราย เปน็ กำรเลอื กใช้วตั ถอุ ันตรำยทม่ี ปี ระสทิ ธิภำพและปลอดภัย ➢ แผนกำรทดลอง / ผลกำรทดลองประสิทธภิ ำพในประเทศ ➢ ขอ้ มลู พิษวิทยำ ➢ ขอ้ มูลผลกระทบกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ➢ ขอ้ มูลพษิ ตกค้ำง / ระยะเวลำก่อนกำรเก็บเก่ียว

เอกสารที่ใช้ประกอบการพจิ ารณาขน้ึ ทะเบยี น ๑. ผลกำรทดลองประสิทธิภำพ ของพชื และศัตรพู ชื ท่ีจะระบใุ ห้ใช้ในฉลำก ๒. ผลกำรทดลองพษิ ตกค้ำง เพอ่ื หำระยะเกบ็ เก่ยี วหลงั กำรใชค้ รัง้ สดุ ทำ้ ย ตำมวธิ กี ำรใชท้ ีร่ ะบุในฉลำก ๓. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ควำมเปน็ พิษ (TOX) ของสำรเข้มขน้ และผลิตภัณฑ์ สำเร็จรูป ตอ้ งได้มำจำกห้องปฏิบัตกิ ำรทไ่ี ดร้ ับกำรรบั รองมำตรฐำน GLP ตำมมำตรฐำน OECD ๔. ผลวเิ ครำะห์

การขน้ึ ทะเบยี นวตั ถุอันตรายมี ๓ ขั้นตอน • กำรทดลองเบื้องต้น เพ่ือทรำบประสิทธิภำพ ข้อมูลพิษเฉียบพลัน และ พิษตกค้ำง • กำรทดลองใช้ชั่วครำว เพ่ือสำธิตกำรใช้ และทรำบข้อมูลพิษระยะ ปำนกลำง พิษเรื้อรัง • กำรประเมินผลขั้นสุดท้ำย เพื่อรับข้ึนทะเบียนวัตถุอันตรำย โดยกำร ประเมินผลกำรทดลองและขอ้ มลู ตำ่ งๆ เพ่อื ทรำบประสทิ ธิภำพ ควำม ปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมท้ังพิษเร้ือรังระยะยำว ๒ ปี ต่อสัตวท์ ดลอง

ขัน้ ท่ี ๑ การทดลองเบ้ืองตน้ ➢ แผนกำรทดลองประสทิ ธภิ ำพ และพษิ ตกคำ้ ง ➢ ขอ้ มูลพิษเฉียบพลนั ของวตั ถุอนั ตรำย (GLP/OECD) ➢ นกั วิชำกำรของบรษิ ทั ฯ เป็นผทู้ ดลอง ภำยใตก้ ำร ควบคมุ ของทำงรำชกำร ➢ จำกดั ปริมำณตัวอยำ่ งวัตถอุ ันตรำยท่ีนำมำทดลอง

ข้ันท่ี ๒ การทดลองใช้ชวั่ คราวเพอ่ื สาธติ การใช้ ➢ ข้อมูลพษิ ระยะปำนกลำง พิษตกคำ้ ง ➢ ทรำบผลกำรใช้จำกขัน้ กำรทดลองเบือ้ งต้น ➢ เกษตรกรเปน็ ผู้ใช้ ภำยใตก้ ำรดแู ลของนกั วชิ ำกำรของ ท้งั บรษิ ัทฯ และรำชกำร ➢ ใหน้ ำตัวอยำ่ งวัตถุอนั ตรำยมำทดลองในพื้นทท่ี ่กี ำหนด

ข้ันท่ี ๓ การประเมนิ ผลขน้ั สุดทา้ ยเพ่ือรับขนึ้ ทะเบยี น ➢ ข้อมูลพิษเรอื้ รังระยะยำว ๒ ปี ต่อสัตวท์ ดลอง ➢ มผี ลกำรทดลองประสิทธิภำพจำกข้ันกำรทดลอง เบือ้ งต้น หรือกำรสำธิตกำรใช้

การประชมุ คณะอนกุ รรมการข้ึนทะเบยี น วัตถอุ ันตราย • เข้ำประชมุ คณะอนกุ รรมกำร เพอ่ื พิจำรณำกำรข้ึน ทะเบียนวตั ถอุ ันตรำยทำง กำรเกษตร • ตรวจฉลำกวัตถอุ ันตรำย • ออกใบสำคัญกำรขน้ึ ทะเบียนวตั ถุอันตรำย



ใบสาคญั การข้นึ ทะเบยี น วตั ถุอันตราย มอี ายุ ๖ ปี





ฉลำกวตั ถุอนั ตรำย

กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับฉลาก 1.พระรำชบัญญัติวัตถอุ นั ตรำย พ.ศ. ๒๕๓๕ ตำมมำตรำ ๒๐ (๑) กำหนดใหว้ ัตถุอันตรำยมฉี ลำก เพือ่ ควบคุม ปอ้ งกัน ระงบั อันตรำย ท่ีจะเกิดแกบ่ คุ คล สัตว์ พชื ทรพั ย์ หรือสงิ่ แวดล้อม 2.ประกำศกระทรวงเกษตรฯ เรื่อง ฉลำกและระดบั ควำมเปน็ พษิ ของ วตั ถอุ นั ตรำยทีก่ รมวชิ ำกำรเกษตรเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ พ.ศ. ๒๕๓๘

ฉลากวัตถุอนั ตราย • รปู รอยประดิษฐ์ หรอื ขอ้ ควำมใดๆ ซ่งึ แสดงไวท้ ีว่ ตั ถอุ ันตรำยหรอื ภำชนะบรรจุ หรือหบี ห่อบรรจุ หรอื สอดแทรก หรอื รวมไว้กับวตั ถุ อนั ตรำย และหมำยควำมรวมถงึ เอกสำร หรือคู่มือประกอบกำรใช้ วตั ถุอันตรำย

ความสาคัญของฉลาก ➢ บอกเกยี่ วกับคุณประโยชนแ์ ละวิธใี ช้ ➢ ผลกระทบจำกกำรใช้ ➢ ชว่ ยลดอนั ตรำยต่อผใู้ ช้

ข้อความตา่ งๆ ท่ีระบุบนฉลาก ➢ ประโยชน์ / วิธกี ำรใช้ ➢ ระดับควำมเป็นพษิ ➢ เลขทะเบียนวตั ถุอนั ตรำย ไดม้ ำจำกกำรขน้ึ ทะเบียน

ฉลากวัตถุอนั ตราย ➢ เพอ่ื นำเข้ำ ➢ เพอื่ จำหนำ่ ยในประเทศ

ฉลากวตั ถุอันตรายท่ีนาเขา้ ประกอบด้วย ๑. ช่อื กำรคำ้ (ถ้ำม)ี ๒. ชอ่ื สำมญั ๓. UN number หรอื CAS number (ถ้ำม)ี ๔. คำเตอื น สญั ลักษณ์ หรอื เครอ่ื งหมำยแสดงควำมเปน็ อนั ตรำย ๕. อตั รำสว่ นผสม ๖. ชอ่ื ทีอ่ ยู่ของผผู้ ลิต ๗. ขนำดบรรจุ





ตามประกาศกระทรวงเกษตรฯ กาหนดให้ • วัตถอุ นั ตรำยที่ขำยหรอื จำหนำ่ ย ตอ้ งมี ➢ ฉลำกขนำดท่เี หมำะสมกบั ภำชนะบรรจุ ➢ ปดิ หรอื พมิ พ์ไวท้ ภ่ี ำชนะบรรจุ ➢ ข้อควำมต้องเป็นภำษำไทย

ชอ่ื สำมัญ เลขทะเบยี น ชือ่ กำรคำ้ วัตถุอนั ตรำย ชื่อกลมุ่ สำรเคมี อัตรำส่วนผสม วิธีเกบ็ รกั ษำ ลักษณะและสตู ร คำเตอื น อำกำรเกิดพษิ ชอื่ กำรค้ำ วตั ถุประสงค์กำรใช้ กำรแกพ้ ิษเบอื้ งตน้ แถบสี ภำพแสดงคำเตือน คำแนะนำสำหรับแพทย์ ประโยชน์ และวธิ ีใช้ เดือนปที ี่ผลิต หรอื หมดอำยุกำรใช้ ชือ่ ผู้นำเข้ำ ผผู้ ลติ ผู้จำหนำ่ ย สถำนที่ประกอบกำร และขนำดบรรจุ สถำนท่ตี งั้ โรงงำน







เลขทะเบียนวตั ถุอนั ตราย: xxxx-2554 (ทะเบียนหมดอายุ 1 เม.ย.66)



การจาแนกระดับความเป็นพิษของวัตถุอันตราย [WHO] WHO Class ค่าความเป็ นพษิ เฉียบพลนั (LD 50) สาหรับหนู (mg/kg body weight) 1 เอ (Ia)พษิ ร้ายแรงมาก 1 บี (Ib) พษิ ร้ายแรง ทางปาก ทางผวิ หนัง 2 (II) พษิ ปานกลาง 3 (III) พษิ น้อย < 5 < 50 ยู (U) พษิ น้อยมาก 5 - 50 50 - 200 50 - 2000 200 - 2000 > 2000 > 2000 ≥ 5000