Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่อง การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง

ใบความรู้ เรื่อง การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง

Published by Titima Boonpeng, 2022-04-07 02:56:29

Description: ใบความรู้ เรื่อง การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง

Search

Read the Text Version

ใบความรู เรอื่ ง การรับบุคคลเขา ศกึ ษาในสถาบนั อุดมศึกษาในระบบกลาง (Admissions) (Central University Admissions System : CUAS) ที่ประชุมอธกิ ารบดแี หง ประเทศไทย (ทปอ.) ไดก ำหนดองคป ระกอบและคา น้ำหนกั ในการ คดั เลือกเขา ศึกษาในสถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาดวยระบบกลาง (Admissions) ประกอบดว ย 1. ผลการเรยี นเฉลย่ี ตลอดหลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา ( GPAX) คา นำ้ หนัก 20% 2. ผลการสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) คาน้ำหนัก 30% 3. คะแนนสอบ GAT คาน้ำหนัก 10 - 50% 4. คะแนนสอบ PAT คา น้ำหนกั 0 - 40% ไขขอ สงสยั การสอบ O – NET, GAT และ PAT O – NET แบบทดสอบทางการศึกษาแหง ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (Ordinary National Educational Test) เพ่ือสำเร็จการศกึ ษาตามหลักสตู รใหม และนกั เรยี นตองสอบทุกชวงชน้ั ของ 4 ชวงชั้น (ป.3,ป.6,ม.3,ม.6) ในชวงช้นั ท่ี 4 จัดสอบ 8 กลมุ สาระไดแ ก ภาษาไทย คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ ศิลปะ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี จดั สอบเพยี งคร้งั เดยี ว สำหรบั ผูเรยี นจบหลกั สูตร การศึกษาชวงช้นั ท่ี 4 จึงนบั วาเปนสว นหนงึ่ ของการศกึ ษา ซงึ่ นักเรียนจะตองสอบตามระบบการเรยี นโดยปกตอิ ยู แลว ไมใชเปน การกำหนดใหส อบเพิ่มเติม และสถาบนั อดุ มศกึ ษาเหน็ รวมกนั วา นาจะเปนขอ มูลที่เปนประโยชน ตอ การคัดเลอื กบุคคลเขาศกึ ษาตอ จงึ ไดกำหนดใหนำมาใชเปนสว นหนงึ่ ขององคประกอบการคัดเลือก GAT (General Aptitude Test) การวดั ศกั ยภาพในการเรยี นในมหาวทิ ยาลยั ใหประสบ ความสำเรจ็ แยกได 2 สวน สว นท่ี 1 คือ ความสามารถในการอา น เขยี น คิดวเิ คราะห และแกโจทยปญหา 50% สว นท่ี 2 คือ ความสามารถในการสอื่ สารดว ยภาษาองั กฤษ 50% PAT (Professional Aptitude Test) ความถนดั ทางวชิ าการและวชิ าชีพ มี 7 ประเภท PAT 1 ไดแก ความถนดั ทางคณิตศาสตร ประกอบดวย 2 สว น คือ (1) ความรใู นวชิ าคณิตศาสตร พีชคณิต เรขาคณิต Calculus สถิติ ฯลฯ (2) ความถนัดในการเรียนคณติ ศาสตรในมหาวทิ ยาลยั ใหประสบความสำเร็จ เชน การคิดแบบนกั คณิตศาสตรการแกโจทยป ญหาและแกป ญ หา กระบวนการคณิตศาสตร การอา นเรอื่ งทาง คณิตศาสตรแ ลวเขาใจ เปนตน PAT 2 ไดแก ความถนัดทางวิทยาศาสตร ประกอบดว ย 2 สว น คอื (1) ความรูในทางวิทยาศาสตรท่ีจะเรียนในคณะวิทยาศาสตรแ ละคณะอื่นที่ เก่ียวของ เชน ความรใู นเรือ่ งเคมี ชีววทิ ยา ฟส ิกส earth science ICT เปน ตน (2) ความถนดั ในการเรียนวทิ ยาศาสตรในมหาวทิ ยาลยั ประสบผลสำเร็จ เชน การคิดแบบนักวทิ ยาศาสตร การแกปญ หาดวยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร ฯลฯ PAT 3 ไดแก ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร ประกอบดวย 2 สวน คอื (1) ความรพู ืน้ ฐานทจ่ี ะเรยี นตอในคณะวศิ วกรรมศาสตรส ำเรจ็ เชน ความรู ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตรบ างอยา ง เทคโนโลยีบางอยา ง เปนตน

(2) ความถนดั ในการเรยี นวศิ วกรรมในมหาวทิ ยาลัยประสบความสำเร็จ เชน การคดิ แบบวิศวกร การแกปญ หาทางวิศวกรรม เปน ตน PAT 4 ไดแก ความถนดั ทางสถาปตยกรรมศาสตร ประกอบดว ย 2 สว น คือ (1) ความรูพ้ืนฐานที่จะเรียนตอ ในคณะสถาปตยกรรมศาสตรส ำเรจ็ เชน ความรทู างคณิตศาสตร วิทยาศาสตรบางอยาง ศิลปกรรมบางอยาง ฯลฯ (2) ความถนดั ในการเรยี นในคณะสถาปตยกรรมศาสตรใหประสบความสำเร็จ เชน การมองเห็นภาพ 3 มติ ิในใจ และการออกแบบบางอยาง ฯลฯ PAT 5 ไดแ ก ความถนัดทางครู ประกอบดว ย 2 สวน คอื (1) ความรพู ื้นฐานท่ีจะเรยี นตอ ในคณะครศุ าสตร/ศกึ ษาศาสตรสำเรจ็ เชน ความรพู น้ื ฐานทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร สงั คม ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ฯลฯ (2) ความถนดั ในการเรียนในคณะครศุ าสตร/ศกึ ษาศาสตรสำเร็จหรอื แววใน การจะเปนครู เชน ความสามารถในการแสวงหาความรู ทกั ษะสื่อสารรูเรือ่ ง ฯลฯ PAT 6 ไดแก ความถนดั ทางศลิ ปกรรมศาสตร ประกอบดวย 2 สว น คือ (1) ความรูใ นทฤษฎที ศั นศิลป นาฏศิลป ดนตรี และความรอู นื่ ทเี่ ปน พ้นื ฐานทจ่ี ะเรียนในคณะศิลปกรรมหรอื ที่เกี่ยวขอ งใหป ระสบความสำเร็จ (2) ความถนดั ในการเรยี นศิลปะ เชน ความคิดสรา งสรรค ฯลฯ PAT 7 ไดแก ความถนัดในการเรยี นภาษาตางประเทศ ประกอบดวย 2 สวน คือ (1) ความรูเรอื่ งการออกเสียง คำศพั ท ไวยากรณ หลักภาษา วัฒนธรรม วรรณกรรม วรรณคดี ฯลฯ (2) ความสามารถในการฟง พดู อาน เขียน สรุป ยอความ ขยายความ สังเคราะห วิเคราะห ฯลฯ PAT 7 มี 6 ภาษา คอื (1) ภาษาฝรัง่ เศส (2) ภาษาเยอรมนั (3) ภาษาญี่ปุน (4) ภาษาจนี (5) ภาษาบาลี (6) ภาษาอาหรับ นักเรียนรูกนั อยแู ลววา GAT ทกุ คนตอ งสอบแนๆ สว น PAT เลอื กตามกลมุ ที่เราอยากเรียน ซึง่ สำนักงานทดสอบ ทางการศึกษาแหง ชาติ แบงไว 9 กลุม 1. กลมุ วทิ ยาศาสตรสุขภาพ ใครอยากเรียน สตั วแพทย เทคนิคการแพทย วทิ ยาศาสตรก าร กีฬา พลศกึ ษา ทนั ตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร กลมุ น้ีตองสอบ PAT 2 2. กลุมวทิ ยาศาสตรก ายภาพ ใครอยากเรยี นคณะวทิ ยาศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยี สารสนเทศ ตอ งสอบ PAT 1 กบั PAT 2 3. กลมุ วิศวกรรมศาสตร โตขึน้ อยากเปนวิศวกร วัยรนุ ตอ งสอบ PAT 2 กับ PAT 3 4. กลุม สถาปต ยกรรมศาสตร ใครอยากเปนสถาปนิกออกแบบบาน ตองสอบ PAT 4 5. กลมุ เกษตรศาสตร เกษตรศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตร เทคโนโลยกี ารเกษตร food science ก็อยใู นกลมุ นี้ ตองสอบ PAT 1 กับ PAT 2

6. กลุม บรหิ าร ใครอยากเรียนบริหารธุรกจิ พาณิชยศาสตรก ารบญั ชี และเศรษฐศาสตร ตอ ง สอบ PAT 1 สว นสาขาการทอ งเทีย่ วและการโรงแรม ถา เรยี นวิทย กับศลิ ปคำนวณ ตอ งสอบ GAT อยางเดยี ว ไมตองสอบ PAT แตถ า เรยี น ศิลปภาษา ตองสอบ PAT 7 7. กลุม ครุศาสตร / ศกึ ษาศาสตร โตข้นึ อยากเปนครู ตอ งสอบ PAT 5 8. กลมุ ศิลปกรรม ดุริยางคศิลป และนาฏยศิลป วิจิตรศิลป ศลิ ปะประยุกต ดรุ ยิ างคศิลป และนาฏยศลิ ป ตองสอบ PAT 6 9. กลุมมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร นเิ ทศศาสตร วารสารศาสตร อักษรศาสตร ศิลปศาสตร มนษุ ยศาสตร รัฐศาสตร นติ ิศาสตร สังคมวทิ ยา สงั คมสงเคราะหศ าสตร กลุมสุดทายแลว ถา เปน เด็กวิทย ตอ งสอบ PAT 1 ศิลปคำนวณ สอบ GAT อยางเดยี ว ศลิ ปภาษา ตอ งสอบ PAT 7 อา งองิ เรยี บเรยี งขอมลู จาก www.eduzone.com

ใบความรู เร่อื ง “ตวั อยางหลกั สูตรและแหลง คนหาขอ มลู ” สาขา/สถาบนั รายละเอียดหลักสูตร แหลง คนหาขอมลู วิศวกรรมเคมี เนน การใชต ำราหลักเปน ภาษาอังกฤษ - แผนพบั ในหองแนะแนว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ความสามารถในการออกแบบควบคกู บั www.che.eng.ku.ac.th เทคโนโลยีการผลติ สัตว หลักเศรษฐศาสตร และการประยุกตใ ช มหาวิทยาลยั แมโจ คอมพิวเตอรและซอฟแวรตลอดหลักสูตร อุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ เพอ่ื ใหน ิสติ มีความสามารถสนองตอความ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ตอ งการของภาคอุตสาหกรรม พระนครเหนอื เนนการศกึ ษาเก่ียวกบั การผลติ และการ - แผนพับในหองแนะแนว จดั การฟารมสตั วป ก สุกร โคนมและโค เนือ้ วชิ าดา นการสถติ ิ การวางแผน การ ทดลอง คน ควา ขอมูลทางวชิ าการ นำเสนอในรูปแบบสมั มนากลุม ตอ งผาน การฝก งานในฟารมเอกชนไมนอ ยกวา 300 ช่ัวโมง เนนความรูท างดา นเทคโนโลยกี ารแปรรปู - แผนพับในหอ งแนะแนว อาหาร การวิเคราะห การควบคุมและ www.agro.kmitmb.ac.th การประกนั คุณภาพอาหาร การ ผลติ ภัณฑจ ากธัญพชื นม เน้ือสัตว ผัก ผลไมแ ละอาหารหมกั รวมทั้งความรู ทางดานการบริหารจดั การเก่ียวกบั ธรุ กิจ เชน หลกั การตลาด การเงนิ การบญั ชี และการบรหิ ารบคุ คล ผสู ำเร็จการศกึ ษา จะมีศักยภาพในการประกอบกิจการ สว นตวั ดา นการแปรรูปผลิตผลจาก การเกษตรในลักษณะของธรุ กิจ SME

สาขา/สถาบนั รายละเอียดหลักสูตร แหลง คน หาขอมลู รฐั ศาสตรส าขาความสัมพันธ ศกึ ษาเก่ยี วกับ ประวตั ศิ าสตรก ารทตู www.polsci.tu.ac.th ระหวางประเทศ การเมอื ง องคการ กฎหมายระหวาง มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ประเทศ นโยบายตางประเทศของไทยและ นานาชาติ การเมืองและเหตุการณป จจบุ ัน หลกั สูตรภูมิภาคศกึ ษา ศึกษาภาษาตางประเทศ สนับสนุนใหมกี าร มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ คนควา วจิ ัยและทดลองปฏบิ ัติงานใน หนวยงานรัฐและเอกชน มนุษยศาสตร- การทองเทีย่ ว เนน ความรูรอบดานแบบสหวิทยาเกี่ยวกบั - แผน พบั ในหอ งแนะแนว มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตท ้ังดาน www.wu.ac.th นิติศาสตร วฒั นธรรม สงั คม การเมือง เศรษฐกจิ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร สามารถพดู และอา นภาษาในเอเชยี ในเอเชีย ศิลปศาสตรภาควชิ าภาษาญี่ปนุ ไดอยางนอยภาษาใดภาษาหนึ่ง มที ักษะใน มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร กาทำวิจยั ดวยตนเองเกี่ยวกับภมู ิภาคศึกษา ศกึ ษาเก่ยี วกับภาษาในการสอื่ สารและใชใ น http://human.cmu.ac.th ดานการธุรกิจการทอ งเทย่ี วและการทำ ธุรกจิ การโรงแรม ศึกษากฎหมายมหาชน กฎหมาย www.psu.ac.th รฐั ธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมาย ลักษณะหน้ี กฎหมายวา ดว ยการกยู มื และ หลกั ประกนั ฯลฯ ฝกทกั ษะในการใชภาษาญป่ี ุนทงั้ การฟง http//:arts.tu.ac.th/japan พดู อาน เขยี น ศกึ ษาใหมคี วามรูความ เขาใจเก่ียวกบั ประเทศญ่ีปุนทั้งดา นศิลปะ สงั คม วัฒนธรรม วรรณคดญี ่ีปุน