Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OMRON(CP1L)

OMRON(CP1L)

Published by wongphommek2554, 2019-08-29 23:56:46

Description: OMRON(CP1L)

Search

Read the Text Version

PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2.2 การออกแบบระบบ เราขอยกตัวอยางประกอบการออกแบบระบบควบคุมดังตัวอยางตอไปน้ี ซ่ึงเปนระบบ ควบคุมการเปดปดประตู(Shutter Control System) ของที่จอดรถยนต สวนรูปขางลางน้ีแสดงให เหน็ Workflow ในการออกแบบระบบควบคุม รูปที่ 2.5 แสดงWorkflow การออกแบบระบบ -43-

PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รปู ที่ 2.6 Shutter Control System 2.3 ขั้นตอนการทํางาน ข้นั ตอนการทาํ งานสาํ หรบั การใช CP1L เพอ่ื ควบคุมการเปด ปดประตแู สดงไดต าม Workflow ในรูปท่ี 2.5 สว นรปู ที่ 2.6 แสดงการทาํ งานของ Shutter Control การทาํ งานของระบบ Shutter Control • เมือ่ เซนเซอรต รวจจับไดว ามแี สงไฟหนา รถเปนเวลา 5 วนิ าที ประตูจะเปดออก • ประตสู ามารถเปด ปด และ หยุดดว ยการกดสวติ ช • เมือ่ เซนเซอรตรวจจบั วา มรี ถเขาจอดในโรงรถแลว ประตจู ะปด • เมอ่ื ตอ งการเอารถออกจากโรงจอดรถใหใ ชก ารกดสวติ ช อปุ กรณต า งๆ ในระบบ PLC • CP1L (14 I/O) อุปกรณก ารเขยี นโปรแกรม • CX-programmer • Computer • สาย USB อินพตุ • Shutter OPEN button : PB1 • Shutter STOP button : PB2 • Shutter CLOSE button : PB3 • Car detection sensor : SEN1 -44-

PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ • Headlight detection sensor : SEN2 • Limit switch, จะ ON เมื่อ shutter เปดสดุ : LS1 • Limit switch, จะ ON เม่ือ shutter ปด สุด : LS2 เอาตพ ตุ • คอนแทคส่ังให shutter motor เปด : MO1 • คอนแทคสง่ั ให shutter motor ปด : MO2 รูปท่ี 2.7 แสดงรายละเอยี ดอปุ กรณ การจดั สรรอินพตุ /เอาตพ ตุ สําหรบั Shutter control ในข้ันตอนน้จี ะทาํ การจดั สรร I/O ใหกบั อปุ กรณต างๆ ดงั นี้ อนิ พุต Device Contact Address OPEN button PB1 0.00 STOP button PB2 0.01 CLOSE button PB3 0.02 Care detection sensor SEN1 0.03 Light detection sensor SEN2 0.04 Upper limit LS LS1 0.05 Lower limit LS LS2 0.06 เอาตพ ุต Contact Address MO1 100.00 Device MO2 100.01 Escalation motor De-escalation motor -45-

PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ รปู ที่ 2.8 แสดงแอดเดรสท่จี ดั สรร การจดั สรร I/O ของ CP1L (รุน 14 I/O) จากรูปขา งลางนีแ้ สดงการจดั ตาํ แหนงอนิ พตุ เอาตพ ตุ ของ CP1L ขนาด 14 I/O ซง่ึ อนิ พตุ จะ เรมิ่ ตน word ท่ี ‘0’ สว นเอาตพตุ จะเริ่มตน word ที่ ‘100’ รปู ท่ี 2.9 การจดั ตําแหนง I/O และเทอรม ินอล การเขยี นแลดเดอรโ ปรแกรม ตอ ไปเปนขน้ั ตอนทีส่ าํ คัญเพราะวาตอ งใชความคิดและความรูพืน้ ฐานเกยี่ วกบั คาํ ส่งั ของ PLC จงึ จะสามารถเขียนโปรแกรมได ซ่งึ จะกลา วถงึ วธิ กี ารเขียนโปรแกรมและคําสง่ั ตา งๆ ของ พแี อลซใี นลาํ ดับตอไป -46-

PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ รูปท่ี 2.10 ตวั อยางแลดเดอรไ ดอแกรม -47-

บทที่ 3 ความรพู ้นื ฐานทางดา นดจิ ติ อล เนือ่ งจากพื้นฐานของ PLC นัน้ มาจากการทาํ งานของวงจรรเี ลย ซ่ึงมีสภาวะการทาํ งานแบบ ลอจกิ (0 และ 1) ซ่ึงก็คอื คา ทางดิจติ อลนนั่ เอง ดงั นน้ั กอ นการใชง าน PLC จะตอ งมีความรูพ ้นื ฐาน ในเร่ืองของเลขฐานและวธิ ีการแปลงเลขฐานกอ น เพอ่ื จะเขา ใจการทาํ งานที่แทจ รงิ และสามารถใช งาน PLC ไดด ี 3.1 ระบบเลขฐาน (Number System) ระบบเลขฐาน จดั เปน ระบบตวั เลขท่ใี ชง านอยใู น PLC ในบทน้จี ะยกตวั อยางเฉพาะการใช งานระบบเลขฐานสอง, เลขฐานสิบ และเลขฐานสบิ หกเทา นั้น • ระบบเลขฐานสอง (Binary: BIN) มีตวั เลขท่ไี มซ ้ํากนั อยูท้ังหมด 2 ตวั คือ 0 และ 1 • ระบบเลขฐาน BCD (Binary Code Decimal: BCD) มีตวั เลขท่ีไมซ าํ้ กนั อยทู ง้ั หมด 10 ตวั คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรอื เรียกอกี อยา งหนง่ึ วา BCD code • ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal: HEX) มตี วั เลขท่ีไมซํ้ากนั อยทู ้งั หมด 16 ตวั คอื 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร 6 ตวั แทน ตัวเลข 10 –15) ความสัมพันธข องเลข BIN, BCD และ HEX สามารถกําหนดใหเปน ตารางไดดงั ตารางท2่ี .1 -48-

PNSPO บทที่ 3 ความรพู น้ื ฐานทางดา นดิจิตอล ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพนั ธของเลขฐานตา งๆ HEX BCD FOUR DIGIT BINARY 0 23 = 8 22 = 4 21 = 2 20 = 1 1 0 2 0 0 00 1 3 0 4 1 0 00 1 5 0 6 2 0 01 1 7 0 8 3 0 01 1 9 0 A 4 0 10 1 B 0 C 5 0 10 1 D 0 E 6 0 11 1 F 0 7 0 11 1 หมายเหตุ 8 1 00 9 1 00 - 1 01 - 1 01 - 1 10 - 1 10 - 1 11 - 1 11 BIN (Binary) = ระบบเลขฐานสอง BCD (Binary Code Decimal) = ระบบเลขฐาน BCD HEX (Hexadecimal) = ระบบเลขฐานสิบหก ตัวอยา งที่ 3.1 การเปลยี่ นเลขฐานสบิ หก(HEX)ใหเปน เลขฐานสอง (BIN) โดยใชต ารางที่ 2.1 วิธีทาํ แปลงเลข 2F61 ฐานสบิ หกใหเปนเลขฐานสอง เลขฐานสบิ หก 2 F 6 1 เลขฐานสอง 0010 1111 0110 0001 - 49 -

PNSPO บทท่ี 3 ความรพู ้นื ฐานทางดา นดิจิตอล 3.2 การแปลงเลขฐาน 3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเ ปน เลขฐานสบิ ตวั อยา งท่ี 3.2 ขอมลู ซ่งึ อยใู นระบบเลขฐานสองขนาด 16 บิต มีคา 0000 0000 1001 0110 ถาจะ เปลย่ี นเปน เลขฐานสิบ จะมคี าเทาใด วิธีทาํ 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 Bit 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 1 0 ฐานสอง 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 Weight ในฐานสิบ 32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 8 4 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 128 0 0 16 0 4 2 ขอ มูล 0000 0000 1001 01102 = 128 + 16 + 4 + 2 = 15010 ตอบ 3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเปน เลขฐานสอง ตวั อยา งที่ 3.3 ตองการเปล่ยี นเลขฐานสิบ 1,750 ใหเ ปนเลขฐานสอง ขนาด 16 บติ จะไดคาเทาใด วธิ ที ํา 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 Weight 32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 64 32 16 21 ในฐานสบิ Weight 84 0 0 0 0 0 1024 512 0 128 64 0 16 0 4 2 0 175010 = 1024 + 512 + 128 + 64 + 16 + 4 + 2 = 0000 0110 1101 01102 - 50 -

PNSPO บทที่ 3 ความรูพ น้ื ฐานทางดานดิจิตอล 3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปน เลขฐานสบิ หก และการแปลงเลขฐานสบิ หกเปน เลขฐาน สอง • การแปลงเลขฐานสองใหเ ปน เลขฐานสิบหก จะกระทาํ ไดโ ดยแปลงเลขฐานสอง ทีละ 4 บติ เปนเลขฐานสบิ หก 1 หลกั • ถาตอ งการแปลงเลขฐานสองขนาด 16 บติ ใหเปน ฐานสบิ หก ตอ งแบง เลขฐาน สองเปน 4 กลุม กลมุ ละ4 บติ โดยแตละกลมุ จะแทนไดด ว ยเลขฐานสิบหก 1 หลกั (1 ดิจิต) หลักท่ี 4 หลักที่ 3 หลกั ที่ 2 หลกั ท่ี 0 เสลิบขหฐากน 1 0 A F 0 0 0 1 00 0 01 010 1110 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 1 สเลอขงฐาน 0001 0000 1010 11112 = 10AF16 • เชน เดยี วกบั การแปลงเลขฐานสิบหกเปน เลขฐานสอง เราจะแปลงเลขสบิ หก 1 หลกั เปน เลขฐานสอง 4 บติ เชน 0001 0000 1010 11112=10AF1 3.3 การบวกและลบเลขฐาน 3.3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานสองมคี วามตางกนั ของคา น้าํ หนกั (Weight) ของเลข ฐานสองในแตล ะหลักท่อี ยูถ ดั กนั เทากบั 2 23 22 21 20 01 1 0 +0 1 0 1 10 1 1 3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก เลขฐานสบิ หกมีความตางกนั ของคา น้ําหนัก (Weight) ของ เลขฐานสบิ หกในแตล ะหลักที่อยูถ ัดกันเทากับ 16 163 162 161 160 0 4 B6 +0 C 6 4 111A - 51 -

PNSPO บทท่ี 3 ความรูพน้ื ฐานทางดานดิจิตอล 3.3.3 การลบเลขฐานสอง เลขฐานสองมีความตางกันของคา นาํ้ หนัก (Weight) ของเลข ฐาน สองในแตล ะหลกั ท่ีอยูถัดกนั เทากบั 2 ดงั นน้ั ในการลบของเลขฐานสองแตล ะหลกั นนั้ หากตวั ตงั้ มี คา นอยกวา ตัวลบ จะตองยมื คา จากหลักถดั ไปคร้ังละ 2 23 22 21 20 11 1 0 -0 1 0 1 10 0 1 3.3.4 การลบเลขฐานสิบหก เลขฐานสองมีความตางกันของคานา้ํ หนกั (Weight) ของเลข ฐานสองในแตล ะหลักทีอ่ ยถู ดั กนั เทา กบั 16 ดังนั้นในการลบของเลขฐานสิบหกแตละหลกั นนั้ หาก ตัวตั้งมคี า นอยกวาตวั ลบ จะตอ งยมื คา จากหลักถัดไปครง้ั ละ16 163 162 161 160 1 4 B6 -0 C 6 4 0852 3.4 ประเภทของขอ มลู ขอมูลภายใน PLC จะมีคําจาํ กดั ความทเี่ รยี กกนั คือ บิต (Bit), ไบต (Byte), เวริ ด (Word) หลกั การเรยี กและความหมายของแตล ะคาํ มดี งั นี้ 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 เรยี กวา ขอ มลู ขนาด 16 บิต หรือ 1 เวิรดหรอื 1 Channel ก็ได 1 ดิจติ † † † † = 4 บติ = 1 ดจิ ิต 1 ไบต † † † † † † † † = 8 บิต = 1 ไบต 1 เวิรด † † † † † † † † † † † † † † † † = 16 บติ = 1 เวิรด - 52 -

PNSPO บทท่ี 3 ความรพู ืน้ ฐานทางดา นดิจิตอล ตวั อยา งท่ี 3.4 ขอ มลู ขนาด 256 กิโลบิต (kBits) จะสามารถเก็บขอมูลไดก ก่ี โิ ลไบต (kBytes) วธิ ที าํ 8 บิต = 1 ไบต 256 กโิ ลบิต = 256 x 1000 = 32,000 ไบต 8 = 32 กโิ ลไบต ตวั อยา งที่ 3.5 Data memory ขนาด 6 kWords ถา จะเปลี่ยนหนว ยเปน kBytes จะไดเ ทา ไร วิธีทํา 1 Word = 2 ไบต 6 kWord = 2 x 6 x 1000 = 12,000 ไบต = 12 กโิ ลไบต 3.5 หลักการพ้ืนฐานทางลอจกิ PLC ทาํ งานดว ยหลกั การของ binary คือ เปน อยางใดอยา งหน่ึงใน 2 สถานะ เชน สูงหรือตํา่ ปด หรือเปด , 0 หรอื 1 3.5.1 หลกั การของ AND A Y AB Y 00 0 B 01 0 10 0 11 1 3.5.2 หลกั การของ OR Y AY 0 B AB 1 00 1 01 1 10 11 - 53 -

PNSPO บทที่ 3 ความรพู น้ื ฐานทางดา นดิจิตอล 3.5.3 หลกั การของ NAND A Y AB Y 00 1 B 01 1 10 1 AY 11 0 B 3.5.4 หลกั การของ NOR AY B AB Y 00 1 AY 01 0 10 0 11 0 3.5.5 หลักการของ Exclusive OR AB Y 00 0 01 1 10 1 11 0 3.5.6 หลกั การของ NOT Y A 1 0 0 1 - 54 -

บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC การอางแอสเดรสของ PLC ถาเปรยี บเทียบงา ยๆ คือ การเรียกชอ่ื ตาํ แหนง ของอปุ กรณ อินพุต/เอาตพ ตุ ทนี่ าํ มาตอ รวมกบั PLC และเปน การเรยี กชื่อพ้ืนที่หนว ยความจาํ ใน PLC นน่ั เอง PLC แตละย่ีหอ อาจมีช่อื เรยี กทแี่ ตกตางกนั ออกไป 4.1 โครงสรางของขอมูล ในแตล ะบติ ของ Word (จาํ นวน 16 บติ ) จะบรรจุขอ มลู ในเลขฐานสอง (0 หรอื 1) และเมอ่ื แยกบติ ทั้ง 16 บิตออกเปน 4 กลมุ ๆ ละ 4 บิต จะสามารถแสดงขอมูลของแตล ะ Word หรือ Channel ในรูปของเลขฐานสิบหก 4 หลักหรือท่เี รยี กวา 4 ดจิ ิต 3210 ดจิ ิตท่ี 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 บติ ที่ 0010111001000110 ขอ มลู ในเลขฐานสอง รูปท่ี 4.1 แสดงโครงสรา งของขอ มลู ใน Word หรอื Channel ท่ี 0 -55-

PNSPO! บทที่ 4 การอา งแอสเดรสของ PLC 4.2 การกําหนดเบอรข องรีเลย (Relay) ใน PLC โดยปกตแิ ลว PLC ของออมรอน จะกาํ หนดพน้ื ท่ีรเี ลย (Relay) เปน word หรอื Channel ซ่ึง แตล ะ Channel จะประกอบดว ยขอมลู ขนาด 16 บิต ในแตละบติ จะบรรจุขอ มลู ในเลขฐานสองคือ เลข 1 ซ่ึงแทนสถานะ ON และเลข 0 ซึ่งแทนสถานะ OFF ดังตวั อยา งขางลางน้ีคือ เวิรด 000 ซ่ึง ประกอบดว ย 16 บติ จากบติ ท่ี 00 ถึง บิตที1่ 5 การอางถงึ รเี ลยแ ตล ะบติ เราจะแทนดว ยเลข 5 หลัก สามหลักแรกเปน เวิรด (Word) หรอื Channel สวนสองหลักหลังเปน บติ (Bit) Internal Relay(IR) Word 000, หรอื Channel 000 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 บิตท่ี 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 ขอมูลในเลขฐานสอง 000.15 000.06 000.00 สามหลักแรกหมายถึงเวิรด สองหลกั หลังหมายถงึ บติ (เวริ ด ท่ี 000) (บติ ที่ 10 ของเวิรด 000) รปู ที่ 4.2 แสดงการกาํ หนดเบอรร เี ลยของ PLC หมายเหตุ 1. ใน PLC บางรุน ใชเ ปน ตวั เลข 6 หลักโดย 4 หลักแรกเปน หมายเลข Channel สวน 2 หลักหลังเปน หมายเลขบิตเชน 0000.00 เปน ตน 2. ในกรณที ีท่ า นใชงาน Programming Console จะไมป รากฎจุดทศนยิ มระหวา ง หมายเลขเวิรด และบติ เชน เวริ ดท่ี 0 บิตที่ 10 จะแสดงเปน 00010 3. ในกรณีทที่ า นใชง าน CX-Programmer หรือซอตฟ แวรอ ่นื จะแสดงจุดทศนยิ ม ระหวา งหมายเลขเวิรดและบติ เชน เวิรด ท่ี 0 บติ ที่ 10 จะแสดงเปน 000.10 ทกี่ ลา วถึงขางตน เปน การอางถึงแตละบติ ของรเี ลยในสว นทเี่ รยี กวา CIO หรือ Internal Relay (IR) ซึ่งประกอบดว ย Input Area, Output Area และ Work Area สําหรับ PLC รนุ ใหม เชน CP1 จะเพ่ิมหนวยความจาํ Work Area ขนึ้ มาและมตี วั อักษรนาํ หนา W เชน W0.00 ซ่ึงสามารถนํา ไปใชเปน Internal Relay ในการเขยี นโปรแกรมได ในกรณีของรเี ลยชนดิ อื่นๆ กม็ กี ารกําหนดเบอรใ นลักษณะเดยี วกนั เชน Holding Relay, Link Relay ดังตวั อยา งตอ ไปนี้ - 56 -

PNSPO! บทท่ี 4 การอางแอสเดรสของ PLC Holding Relay HR 15.01 เวริ ดที่ 15 W 09.07 บิตที่ 01 Work Area เวริ ดที่ 9 บิตท่ี 07 นอกจากพื้นที่หนวยความจําท่ีกลาวถึงแลว PLC ยังแบงพ้ืนที่หนวยความจําออกเปน สว นยอยๆ อกี หลายสว น สามารถแสดงรายละเอยี ดใหเ ห็นดังตารางท่ี 4.1 4.3 ตารางแสดงขอ กาํ หนดของพน้ื ท่ีใชงานของ PLC ตารางที่ 4.1 พน้ื ที่หนว ยความจาํ ของ PLC (อา งองิ CP1L) Data area Words Bits Function CIO Input CIO 000 ถงึ CIO 099 0.00 ถึง 099.15 บติ เหลาน้ถี ูกใชตอไปยังข้ัว อินพุตเอาตพ ุต area area (100 words) (1,600 bits) ภายนอก แตขน้ึ อยูกบั รุนของ PLC ดว ยวา ใชก่ี Output CIO 100 ถึง CIO 199 100.00 ถงึ 199.15 บิต ดังน้ันบติ ทีเ่ หลอื จะใชงานเปน Work Bits area (100 words) (1,600 bits) หรือ Internal relay ได Work 3800 ถงึ 6143 3800.00 ถึง 6143.15 Work Bits สามารถนาํ ไปใชไดอยา งอิสระ area (2,344 words) (37,504 bits) ภายในโปรแกรม Work area W000 ถึง W511 W0.00 ถึง W511.15 บิตเหลา นีใ้ ชเปน Work bit (512 words) (8192 bits) DM D00000 ถึง D32767 ใชเกบ็ ขอ มูล (Data Memory ) HR area H000 ถึง H511 H0.00 ถงึ H511.15 บิตเหลา นี้ใชเก็บขอมูลและสถานะ ON/OFF (Holding Relay) (512 words) (8192 bits) ไวไ ดเมอ่ื เกิดไฟดับ AR area A000 ถึง A959 A0.00 ถึง A959.15 บิตเหลา นี้เปนบิตพิเศษภายในซึง่ มหี นาที่เฉพาะ (Auxiliary (960 words) (15,360 bits) อยางเชน ใชเปน Flags หรือ Control bits Relay) Timer T000 ถึง T4095 ใชเปน Timers Counter C000 ถงึ C4095 ใชเปน Counters - 57 -

PNSPO! บทท่ี 4 การอางแอสเดรสของ PLC 4.4 การระบตุ าํ แหนง อนิ พุต/เอาตพ ตุ ของ PLC 4.4.1 การระบุตําแหนง อินพตุ /เอาตพ ุตของ PLC ชนิดบลอ็ ก (ยกตัวอยา งรนุ CP1L) สาํ หรบั PLC แบบ Block นนั้ ตําแหนง ของอนิ พุต/เอาตพ ุตนน้ั จะแสดงหมายเลขไว ท่ี PLC อยแู ลว ยกตวั อยา งใหเหน็ ดังตอ ไปนี้ รูปที่ 4.3 แสดงตาํ แหนงของอินพตุ /เอาตพ ุตแตล ะขวั้ จากรูปท่ี 4.3 แสดงตําแหนง ของอนิ พุต/เอาตพุตของ PLC รนุ CP1L-L20DR ซงี่ มจี าํ นวน 20 จดุ เปน พ้ืนทห่ี นว ยความจําในสวนของ CIO หรอื IR เชนในการเขียนโปรแกรม ถาตอ งการใชง านอนิ พตุ ทีต่ ออยูกับอินพุตของ PLC บติ ท่ี 0 เวลา อา งตําแหนงจะกาํ หนดเปน 000.00 หมายถึงใช CIO เวริ ด ท่ี 0 บติ ที่ 0 (วิธกี ารกําหนดตําแหนง ดไู ด จากหวั ขอ 4.2 การกาํ หนดเบอรร เี ลยข อง CP1L) - 58 -

PNSPO! บทที่ 4 การอา งแอสเดรสของ PLC สาํ หรับ CP1L รนุ อนื่ สามารถดูไดจากตารางท่ี 4.2 ซงึ่ จะแสดงตําแหนงอินพตุ /เอาตพุตท่ี ตอรว มกบั Expansion I/O Unit ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงจํานวนและตําแหนงอินพตุ /เอาตพุตบิตของ PLC รุน CP1L แตล ะ รุน เมอ่ื ใชรว มกบั Expansion I/O Units (CP1W-20EDR1) รุน CP1L-L20 CP1L-M30 CP1L-M40 ช่ือรุน Expansion จํานวน I/O IN OUT IN OUT IN OUT บนตวั - CPU 12 Points 8 Points 18 Points 12 Points 24 Points 16 Points - 000.00 100.00 000.00 100.00 000.00 100.00 - - - - - - 000.11 - 000.11 100.07 000.11 100.07 100.11 001.00 101.00 001.00 101.00 - - - - 001.05 101.03 001.11 101.07 IN OUT IN OUT IN OUT Expansion I/O 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points 12 Points 8 Points CP1W-20EDR1 Unit ตวั ที่ 1 002.00 102.00 002.00 102.00 002.00 102.00 CPM1A-20EDT1 - - - Expansion I/O 002.11 - 002.11 - 002.11 - CP1W-20EDR1 Unit ตวั ที่ 2 102.07 102.07 102.07 CPM1A-20EDT1 IN IN Expansion I/O ไมส ามารถตอ ได OUT OUT CP1W-20EDR1 Unit ตัวที่ 3 12 Points 12 Points CPM1A-20EDT1 003.00 8 Points 003.00 8 Points - 103.00 - 103.00 003.11 003.11 - - IN 103.07 IN 103.07 ไมส ามารถตอ ได 12 Points OUT 12 Points OUT 004.00 004.00 - 8 Points - 8 Points 004.11 104.00 004.11 104.00 - - 104.07 104.07 CP1L Expansion ตัวท่ี1 Expansion ตวั ที่2 Expansion ตวั ท3ี่ รูปท่ี 4.4 แสดงการเชอ่ื มตอ ระหวา ง CP1L กับ Expansion I/O Unit - 59 -

PNSPO! บทที่ 4 การอา งแอสเดรสของ PLC 4.4.2 การระบตุ าํ แหนงอนิ พตุ /เอาตพตุ ของ PLC ชนดิ โมดลู สาํ หรับ PLC ชนิดโมดลู ของ OMRON นน้ั แบงเปน หลายรุนไดแ กร นุ CS1 และ CJ1 ซึง่ ทั้งสองรุนมีการอา งแอดเดรสเหมอื นกัน จะขอยกตวั อยา งการอา งแอสเดรสของแตล ะรุน ดงั นี้ • การอางแอสเดรสของ PLC รนุ CS1/CJ1 รปู ท่ี 4.5 ตัวอยางการอา งแอสเดรสของ PLC รนุ CS1/CJ1 การอางแอสเดรสของ PLC รนุ CS1/CJ1จะอา งตําแหนงตามการตดิ ต้งั ยนู ติ อนิ พุต/เอาตพ ตุ นน้ั โดยไมส นใจวา จะตดิ ตงั้ ท่ตี าํ แหนงใด การนบั แอสเดรสจะนบั เรยี งตอ กนั ไปเร่อื ยๆ ดังรปู * หมายเหตุ *การอา งแอสเดรสของ PLC รนุ CS1/CJ1 นนั้ กลาวถึงเฉพาะ Standard I/O Unit เทา นน้ั นอกจากนย้ี งั มี Special I/O Unit อื่นๆ ซึง่ มีการกําหนดแอสเสรสแตกตาง กนั ออกไป สามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ไดจาก PLC รนุ นนั้ ๆ สําหรบั เนื้อหาในบทตอ ไปเราจะกลาวถงึ คําสงั่ พ้นื ฐานตา งๆ ท่มี ีใชง านในการเขยี น โปรแกรม PLC - 60 -

บทท่ี 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรม และคาํ สั่งพ้ืนฐาน แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) จัดเปน ภาษาสญั ลักษณทีเ่ ทยี บเคยี งมาจากวงจร รเี ลย สามารถดูตามโครงสรางแลว เขา ใจการทํางานได แตเวลาที่ PLC ทํางานจะอาศยั ชุดคาํ สั่ง (Instructions) ทํางานโดยวธิ กี ารเขียนลงในสว นหนวยความจําขอมูล ในหนว ยความจํานั้นจะจดั เกบ็ เปนรหสั (Code) ไมส ามารถจัดเกบ็ ในลกั ษณะของ Ladder Diagram ไดโ ดยตรง ดังนั้นผูใชจ งึ จาํ เปนตอ งเขา ใจชุดคําสัง่ เพราะชุดคาํ สงั่ นน้ั แปลงภาษามาจาก Ladder Diagram น่ันเอง 5.1 กลุม คําสง่ั พืน้ ฐาน (Ladder Instruction & Output Control) 5.1.1 การใชค ําสงั่ LOAD (LD), LOAD NOT (LD NOT) LOAD-LD B B : BIT LOAD NOT-LD NOT B CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W พนื้ ท่หี นว ยความจาํ ทใ่ี ชกับคาํ สง่ั ได -61-

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําส่งั พ้ืนฐาน ตัวอยา งที่ 5.1 ชดุ คําสง่ั และการเขยี น Ladder Diagram คาํ สั่ง LD และ LD NOT I 0.00 Address Instruction Operands Instruction 00000 LD 0.00 00001 Instruction I 0.00 00002 LD NOT 0.00 Instruction 00003 Instruction การเขยี น Mnemonic อา งองิ มาจาก PLC รุน CP1L เขียนใน CX Programmer Version 7 และ ไมสามารถเขยี นใน Programming Console ได 5.1.2 การใชคําสงั่ AND, AND NOT AND-AND B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W AND NOT-AND NOT B พืน้ ท่หี นว ยความจําทใี่ ชกับคาํ ส่งั ได *หลักการเขยี น Ladder Diagram และคาํ ส่ังพ้นื ฐาน อา งองิ มาจาก PLC รนุ CP1L* ตัวอยา งที่ 5.2 ชุดคาํ สั่งและการเขียน Ladder Diagram คําส่งั AND, AND NOT I 0.00 I 1.00 W 0.00 ddress Instruction Operands Instruction 00000 LD 0.00 00001 AND NOT 1.00 00002 AND W 0.00 00003 Instruction - 62 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสงั่ พื้นฐาน 5.1.3 การใชค ําสงั่ OR, OR NOT OR-OR B B : BIT OR NOT-OR NOT B CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W พน้ื ที่หนว ยความจาํ ทีใ่ ชคาํ ส่งั ได ตัวอยา งที่ 4.3 ชดุ คําสง่ั และการเขยี น Ladder Diagram คําสั่ง OR, OR NOT I 0.00 Instruction Address Instruction Operands I 1.00 00000 LD NOT 0.00 00001 OR NOT 1.00 W 0.00 00002 OR W 0.00 00003 Instruction 5.1.4 การใชค ําสงั่ OUT, OUT NOT เปนคาํ สงั่ ทีส่ งั่ ขับให OUTPUT ภายนอกทาํ งานหรอื ไมท าํ งานตามคาํ ส่งั OUTPUT-OUT B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W B พืน้ ทีห่ นว ยความจาํ ทีใ่ ชก ับคาํ สั่งได ตวั อยา งที่ 5.4 รูปแบบชดุ คําส่งั จาก Ladder Diagram I 0.00 Q 100.00 Address Instruction Operands 00000 LD 0.00 00001 OUT 100.00 - 63 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สงั่ พ้ืนฐาน OUTPUT NOT-OUT NOT: การทาํ งานของคาํ สัง่ นจี้ ะตรงกนั ขา มกับคําส่งั OUT B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W พื้นที่หนว ยความจําทใ่ี ชก ับคําสั่งได ตัวอยางที่ 5.5 จงเขยี นชดุ คาํ ส่งั จาก Ladder Diagram I 0.01 Q 100.00 Address Instruction Operands 00000 LD 0.01 00001 OUT NOT 100.00 5.1.5 การใชค าํ สงั่ END ( END 01 ) เมื่อสิ้นสุดการเขยี นโปรแกรมแลว จะตองจบดวยคําสง่ั END(01) เสมอ ถา ไมม ี คาํ สั่งน้ี เม่อื ผูใชส ั่ง Run โปรแกรมทเี่ ขยี นขนึ้ PLC จะเกดิ Error โดยสงั เกตท่ี PLC ไฟ Error/Alarm สีแดงจะตดิ คาง นั่นแสดงวาไมมคี ําส่งั END (01) ในกรณีนโี้ ปรแกรมจะไมสามารถ RUN ได เพราะฉะนนั้ เมอื่ เขียนโปรแกรมจบทุก คร้งั ควรใสค าํ ส่ัง END(01) ดว ย การเขยี นโปรแกรมดว ย CX-Programmer ไมจาํ เปนตองใสคาํ ส่งั END(01) เพราะวา ซอฟตแวรจะใสใหเ องอตั โนมัติ 5.1.6 การใชค าํ สง่ั AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD) คาํ สงั่ ทง้ั สองจะทาํ หนาทเี่ ชื่อมตอ กลมุ แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ใน กรณที ่ตี อ อนกุ รม หรอื ขนานกันมากกวา 1หนา สัมผัส ซงึ่ การใชค ําส่ัง AND หรอื OR น้นั จะกระทาํ ทลี ะ 1 หนา สมั ผสั เทานน้ั จึงตอ งใช AND LD หรือ OR LD ในการเขยี นแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ดว ยซอฟต แวรนัน้ ไมมี สญั ลกั ษณของ AND LD และ OR LD ดังนนั้ คาํ สง่ั ทงั้ 2 คําสัง่ นี้ตอ งเขยี นเปน Mnemonic หรือ Instruction list เทานั้น - 64 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําสง่ั พื้นฐาน ตวั อยางที่ 5.6 ชุดคําส่ังในรูปการเชื่อมแบบอนุกรมจะใชค าํ ส่งั AND LD I 0.00 I 0.02 Instruction Address Instruction Operands I 0.01 I0.03 00000 LD 0.00 00001 OR 0.01 00002 LD 0.02 00003 OR NOT 0.03 00004 AND LD ตัวอยางท่ี 5.7 ชดุ คาํ สงั่ ในรปู การเชือ่ มแบบขนานจะใชคาํ สั่ง OR LD I 0.00 I 0.02 Instruction Address Instruction Operands I 0.01 I0.03 00000 LD 0.00 00001 AND 0.02 00002 LD 0.01 00003 AND NOT 0.03 00004 OR LD --- ตวั อยา งที่ 5.8 การเขียนโปรแกรมโดยใชค าํ สงั่ AND LD และ OR LD ƒ AND LD คือ การเช่อื มโปรแกรม 2 block ในแบบอนกุ รม I0.02 I0.04 Q100.00 Address Instruction Data I0.03 I0.05 00000 LD 0.02 00001 OR 0.03 00002 LD 0.04 00003 OR NOT 0.05 00004 AND LD --- 00005 OUT 100.00 - 65 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสง่ั พ้ืนฐาน ƒ OR LD คือ การเชอื่ มโปรแกรม 2 block ในแบบขนาน I0.02 I0.03 Q100.01 Address Instruction Data I0.04 I0.05 00000 LD 0.02 00001 AND NOT 0.03 00002 LD 0.04 00003 AND 0.05 00004 OR LD --- 00005 OUT 100.01 5.2 ขอกาํ หนดในการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) 5.2.1 จากแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ขา งลาง จะไมส ามารถเขยี น โปรแกรมได จาํ เปน ตอ งแปลงชดุ Ladder Diagram กอ น I 0.00 I 0.02 Q 100.00 I 0.04 Q 100.01 I 0.01 I 0.03 แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ทผี่ ิด - 66 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สั่งพื้นฐาน สามารถเขียนใหมได และวงจรทาํ งานเหมอื นเดิม คอื I 0.01 I 0.04 I 0.02 Q 100.00  I 0.00 I 0.04 I 0.04 I 0.03 Q 100.01 I 0.01 แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ท่ถี ูก 5.2.2 สําหรบั แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) จะพิจารณาการทาํ งานจากซายไป ขวาเทานัน้ ดงั ตัวอยา งเชน I 0.00 I 0.04 Q 100.00 I 0.01 I 0.02 I 0.03 Q 100.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A จากแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) A ถา หนาสัมผัส 0.00, 0.02 และ 0.03 มีสภาวะ “ON” กไ็ มส ามารถทาํ ให เอาตพุต 100.01 น้ัน “ON” ไดเลย ดังนัน้ ผูใ ชจ ะตองทาํ การจดั โปรแกรมเสียใหมเพ่อื ใหก ารทํางานกระทาํ จากซายไปขวาดงั รูปแลดเดอรไ ดอะแกรม B - 67 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไ ดอะแกรมและคาํ ส่งั พ้ืนฐาน I 0.01 I 0.02 I 0.04 Q 100.00 I 0.00 I 0.00 I 0.02 I 0.03 Q 100.01 I 0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B 5.2.3 จาํ นวนหนา คอนแทคทงั้ NO และ NC ของอินพตุ /เอาตพุต, รีเลยแ ละไทมเ มอร (TIM)/เคานเตอร (CNT) จะนํามาเขยี นโปรแกรมเปน จํานวนเทา ใดก็ไดต ามความประสงคข องผูใช แตถึงอยา งไรกต็ ามการเขียนโปรแกรมทด่ี จี ะตองพยายามประหยดั ขนาดของโปรแกรมใหมากทสี่ ดุ เทา ที่จะสามารถทาํ ได ซง่ึ จะเปรียบเทยี บใหเ ห็นในแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) A และ แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) B จะสงั เกตเห็นไดว าการเขียนในแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) B จะประหยดั คําสัง่ ได 2 คาํ ส่ัง ในขณะทโี่ ปรแกรมทาํ งานไดเหมอื นกัน Address Instruction Operands I 0.00 I 0.01 Q 100.00 00000 LD 0.00 I 0.02 I 0.03 00001 LD 0.01 00002 LD 0.02 00003 AND 0.03 00004 OR LD แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A 00005 AND LD 00006 OUT 100.00 I 0.02 I 0.03 I 0.00 Q 100.00 Address Instruction Operands I 0.01 00000 LD 0.02 00001 AND 0.03 แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) B 00002 OR 0.01 00003 AND 0.00 00004 OUT 100.00 - 68 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สั่งพื้นฐาน 5.2.4 เมื่อตองการใหเ อาตพ ุต ON ตลอดเวลาเราจะใชแ ฟลค (Flag) ทีเ่ ปน แบบ “Always ON Flag” (CF113) มาเปนตัวสรา งเงอื่ นไขเพราะไมส ามารถตอ คอยลเ อาตพ ุตไดโ ดยตรงกับ Bus Bar แตกม็ ีขอยกเวนเปน บางคําส่ัง เชน INTERLOCK CLEAR, JUMP END และ STEP Q 100.00  OUT 100.00 END(01) แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ท่ผี ดิ P_On Q 100.00  LD P_No Always ON Flag OUT 100.00 END(01) แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ทถี่ กู 5.2.5 จํานวนหนา สมั ผัสท่ใี ชใ นการตออนุกรม หรอื ขนานไมม ขี ดี จํากัดจะใชเ ทา ใดกไ็ ด ขึ้นอยูกับความตองการของผูใ ช 5.2.6 เอาตพ ุตทุกๆ ตวั จะมี Auxiliary Contact เพือ่ ใชง านในโปรแกรมได และสามารถ ใชจ ํานวนไมจ าํ กดั 5.2.7 ไมส ามารถเขยี นโปรแกรมใหหนา สมั ผัสอยตู าํ แหนง หลงั จากคอยลได I0.00 Q 100.00 I0.01  แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผดิ I0.00 I0.01 Q 100.00  แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ทถ่ี กู - 69 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคาํ สัง่ พ้ืนฐาน 5.2.8 ไมส ามารถเขยี นโปรแกรมใหมเี อาตพ ตุ เบอรเ ดยี วกนั ซ้าํ หลายๆ คร้ังได ตอ งจัดรูป เสียใหม I 0.00 Q 100.00 I 0.01 Q 100.00 แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ท่ีผดิ I 0.00 Q 100.00 I 0.01 แลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก 5.2.9 เอาตพุตคอยล สามารถเขียนโปรแกรมใหตอขนานไดเลย กรณีรับเงื่อนไขของ หนา สัมผัสชดุ เดยี วกัน I 0.00 I 0.01 Q 100.00 Q 100.01 5.2.10 PLC จะเรม่ิ ประมวลผลโปรแกรมจาก Address แรกสุดจนกระท่ังถึงคาํ ส่งั END ตาํ แหนงแรก โดยท่คี ําสั่ง END อาจจะมีหลายตาํ แหนงในโปรแกรมทเ่ี ปนเชน น้ีเพื่อจุดประสงค สาํ หรับการทดสอบโปรแกรม กรณที ตี่ อ งการแยกโปรแกรมออกเปน สว นๆ เพอ่ื ใหงายตอ การ ตรวจสอบและแกไ ขโปรแกรม - 70 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สัง่ พ้ืนฐาน 5.3 กลมุ คําสง่ั Program Control Instruction 5.3.1 การใชค ําสงั่ IL(02), ILC(03) คําสง่ั IL และ ILC จะตอ งใชร วมกันคือ ถา เร่มิ ตนมีการใชค าํ สั่งดว ย IL เมื่อใดแลว ถา ตอ งการสิ้นสุดการทาํ งานตอ งจบดว ย ILC เง่ือนไขของคาํ ส่งั คอื คอนแทคตรงหนา สว นของ IL มี สภาวะ “ON” จะทําใหโ ปรแกรมทีอ่ ยรู ะหวา ง IL และ ILC ทํางานเปน ปกติ แตถ าคอนแทคตําแหนง ดังกลา วมีสภาวะ “OFF” จะทาํ ใหก ารทํางานของโปรแกรมระหวา ง IL และ ILC ไมท ํางาน ใน ขณะเดยี วกนั Output Coil ในชวงนน้ั จะมสี ภาวะ “OFF” ดว ย ตัวอยางที่ 5.9 การใชคําสัง่ Ladder Diagram ชุดคําส่ัง I 0.02 Address Instruction Data I 0.03 I 0.04 I 0.05 IL(02) 00000 LD 0.02 I 0.06 Q100.00 Q100.01 00001 IL (02) - Q100.02 00002 LD 0.03 ILC(03) END(01) 00003 AND 0.04 00004 OUT 100.00 00005 LD 0.05 00006 OUT 100.01 00007 LD NOT 0.06 00008 OUT 100.02 00009 ILC(03) - 00010 END(01) - - 71 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคําสง่ั พื้นฐาน 5.3.2 การใชค าํ สงั่ JMP (04) และ JME (05) การใชง านของคําสง่ั คนู จ้ี ะตอ งใชง านคูก ัน เงื่อนไขตา งๆ ทีอ่ ยูระหวางคาํ ส่งั JMP และ JME จะมเี งอ่ื นไขการทาํ งานเปนปกติ ในกรณีทชี่ ดุ ของคอนแทคตรงสวนหนาของ JMP มี สภาวะเปน “ON” แตถาชดุ คอนแทคดงั กลาวมีสภาวะเปน “OFF” เมอ่ื ใด Output, Timer, Counter, Keep ท่อี ยรู ะหวา งคําส่งั ดงั กลาวจะยังคงคา งสภาวะเอาไวเ ชนเดิม และจะมกี ารเปลย่ี นแปลงอกี คร้งั ถาชุดของคอนแทคมสี ภาวะ “ON” เราใช JUMP 00 ไดหลายครงั้ ตามตองการ แต JUMP 01 ถึง 49 สามารถใชไ ดเ พยี งครัง้ เดยี ว Ladder Diagram JMP(04) ชุดคําสง่ั Operand #0 0.02 I 0.03 I 0.04 Address Instruction 0.03 Q100.00 0000 LD #0 I 0.02 0001 AND 0.04 I 0.05 Q100.01 0002 JMP(04) 100.00 I 0.06 0003 LD 0.05 Q100.02 0004 OUT 100.01 0005 LD 0.06 JME(05) 0006 OUT 100.02 #0 0007 LD #0 0008 OUT END(01) 0009 JME(05) 0010 END(01) - 72 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไ ดอะแกรมและคาํ สัง่ พ้ืนฐาน แบบฝก หดั ทดสอบความเขาใจเกีย่ วกับคําส่ังพื้นฐาน 1. จงเขียนโปรแกรมจาก Ladder Diagramใหเ ปนรปู Mnemonic Code Address Instruction Operands I 0.00 I 0.01 I 0.02 I 0.05 I 0.06 Q 100.00 00000 00001 0002 I 0.03 I 0.04 00003 00004 00005 END(01) 00006 00007 00008 00009 2. จงเขียนโปรแกรมจาก Mnemonic ใหเ ปน รูป Ladder Diagram Address Instruction Operands 00000 LD 0.00 00001 AND 0.01 00002 0.02 00003 LD NOT 0.03 00004 AND 00005 OR LD 0.04 00006 LD 0.05 00007 AND NOT 0.06 00008 LD NOT 0.07 00009 AND 00010 OR LD 100.00 00011 AND LD 00012 OUT END (01) - 73 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สัง่ พ้ืนฐาน 5.4 คําสงั่ ในกลุม Bit Control Instruction 5.4.1 การใชค ําสง่ั เซต (SET) และรเี ซต (RESET) คําส่งั SET จะทาํ ใหบ ิตท่ีถกู สั่ง “ON” และคงคา งอยจู นกวาจะมีคําส่งั RSET ทบ่ี ติ เดียวกนั บติ นน้ั จึงจะ “OFF” Ladder Symbol B: Bit CIO,W,H,A,IR SET RSET BB พนื้ ทห่ี นว ยความจําทีส่ ามารถใชกับคาํ สงั่ ได ตวั อยางที่ 5.10 ตองการใหห ลอดไฟทีเ่ อาตพตุ 100.00 ติดตลอดเวลา หลังจาก ON อินพตุ 000.00 แลว คร้ังเดยี วโดยไมต อง Hold คําสงั่ อินพุต จนกวา จะมกี าร Reset ที่อินพตุ 000.01 หลอดไฟ จะดับ Ladder Diagram SET ชุดคาํ สั่ง Operands Q 100.00 Address Instruction 0.00 I 0.00 RSET 00000 LD 100.00 Q 100.00 00001 SET 0.01 I 0.01 0002 LD 100.00 END(01) 00003 RSET 00004 END 5.4.2 การใชค ําสง่ั KEEP - KEEP(11) การทํางานของคาํ สั่ง KEEP จะเหมือนกบั คําสั่ง SET และ RESET เพียงแตจ ับขา SET/RESET ใหรวมอยใู นตัวเดียวกนั เพ่ือใหผ ูใชง านสามารถเลือกใชโ ปรแกรมไดสะดวกตาม ความเหมาะสม - 74 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ ส่งั พ้ืนฐาน Ladder Symbol B: Bit CIO,W,H,A,IR S KEEP(11) RB พ้นื ท่ีหนว ยความจาํ ทสี่ ามารถใชกบั คําสั่งได เม่อื ขา S มีสถานะ “ON” บติ ท่ี B จะทํางานจนกวาขา R จะมีสถานะ “ON” บติ B ถงึ จะเลกิ ทํางาน ตวั อยางท่ี 5.11 ตอ งการใหเอาตพตุ 100.00 เปลีย่ นเปน “ON” ตลอดเวลาโดยการ ON อินพุต 0.00 ไมว า จะ “OFF” แลวก็ตามจนกวา อินพตุ 0.01 จะ ON (RESET) Ladder Diagram ชดุ คาํ สัง่ I 0.00 S KEEP (11) Address Instruction Operands R Q 100.00 00000 LD 0.00 I 0.01 00001 LD 0.01 END(01) 00002 KEEP 100.00 00003 END 5.4.3 การใชค ําสงั่ DIFFERENTIATE UP และ DOWN–DIFU(13), DIFD(14) คาํ สงั่ DIFU(13) และ DIFD(14) จะเปนคําสง่ั ที่ทํางานเพียงขอบขาขึ้น หรือขอบขา ลงของสญั ญาณอนิ พตุ เทา นั้น และจะทํางานเพียงชว งเวลา One Cycle เทานั้น Ladder Symbols B: Bit CIO,W,H,A,IR DIFU DIFD BB พ้ืนทีห่ นว ยความจาํ ทีส่ ามารถใชก ับคําสัง่ ได ตวั อยางที่ 5.12 ตองการใหอ ินพตุ 0.00 ทํางานเพอื่ ON บติ W2.00 ซงึ่ จะทําใหเอาตพ ตุ หลอดไฟ 100.00 ใหต ิดไดโ ดยอนิ พตุ 0.01 เปนตวั สัง่ OFF - 75 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สั่งพื้นฐาน Ladder Diagram DIFU(13) ชุดคําส่งั Operands W 2.00 0.00 I 0.00 I 0.01 Q 100.00 Address Instruction W2.00 00000 LD W2.00 W 2.00 END(01) 00001 DIFU 100.00 Q 100.00 0002 LD 00003 OR 100.00 00004 AND NOT 00005 OUT 00006 END 5.5 กลุมคาํ สง่ั Timer/Counter สาํ หรบั PLC บางรนุ Timer และ Counter จะใชพ น้ื ท่ีเดยี วกันซงึ่ เรยี กใชไดท ง้ั หมด 256 ตวั ตงั้ แตตวั ที่ 000 ถงึ 255 ภายใน 256 ตัวนส้ี ามารถกําหนดใหเปน Timer หรือ Counter ก็ไดโ ดยท่ีหาก ตวั ใดถกู กําหนดใหเ ปน Timer แลวจะนาํ ไปใชเ ปน Counter อีกไมไ ด ดงั นัน้ ตองดู Manual ของ PLC รุน นัน้ ประกอบดว ย ถา Timer/Counter อยใู นพืน้ ทเี่ ดยี วกัน จะไมส ามารถใชเ บอรเดียวกันได แต PLC บางรุน Timer/Counter จะอยูค นละพน้ื ที่ ดังนน้ั จงึ สามารถใช Timer และ Counter เบอรเ ดียวกันได เชน T000 และ C000 สําหรับคําส่ังในกลุม Timer/Counter มหี ลายคําส่ัง ในท่ีนจี้ ะยกตวั อยา งการใชง านคําสั่ง Timer/Counter แบบพน้ื ฐานคอื คําส่ัง TIM และ CNT ดงั นี้ 5.5.1 การใชค าํ สง่ั TIMER: TIM ใชใ นการจับเวลา, ตัง้ เวลา โดยพ้นื ฐานแลวตอ งเขาไปกําหนดคา 2 คา คือ N และ SV ตามตวั อยา งขางลาง TIM N: Timer Number (หมายเลขของ Timer) N T000-T4095 (CP1L) SV SV: Set Value (คา ตง้ั เวลา) คา คงท่ี (#) หรอื การอา งถึง CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR - 76 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคาํ สง่ั พื้นฐาน N= Timer Number (เบอร 0000 - 4095) เลอื กวา จะใช Timer ตัวที่เทา ใด SV = Set Value คา ตงั้ เวลา ใชกาํ หนดวาจะให Timer ตั้งเวลานานเทา ใด ซึ่ง SV ที่ตง้ั น้ัน จะถูกคณู ดวย 0.1 เพอ่ื แปลงเปนระยะเวลาจริง ซง่ึ สามารถ หมายเหตุ 1. กําหนด SV เปน คาคงท่ี #0000-9999 (000.0-999.9 วนิ าที คูณดว ย 0.1 วินาท)ี 2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,Wโดยใสค า ตง้ั เวลาทีเ่ ปนคา คงที่ 0000-9999 ไวใ น แอดเดรส ที่อา งถงึ อีกทีหน่งึ (คา ทีก่ ําหนดจะคณู ดว ย 0.1 วนิ าทีเชน เดยี วกบั การกาํ หนดแบบ คาคงท่ี) *ในทนี่ ย้ี กตวั อยางหมายเลข Timer ของ PLC รนุ CP1L เทา นน้ั สาํ หรบั PLC รุนอน่ื ๆ สามารถใช Timer ไดม ากกวา หรอื นอ ยกวา ที่ กาํ หนด เม่อื มสี ัญญาณส่ังให Timer ทํางาน (Contact B มีสถานะ “ON”) คาํ สั่ง Timer จะเรมิ่ นับ เวลาตามคาท่ตี ั้งไวใ น Timer เมอ่ื นบั ครบเวลา หนา Contact ของ Timer ตวั นนั้ ๆ กจ็ ะ “ON” แตถา สญั ญาณท่สี ง่ั ให Timer ทาํ งานหายไป (Contact B มีสถานะ OFF) Timer จะถกู Reset ตัวอยา งที่ 5.13 การใชง านของคําสั่ง Timer เมือ่ อินพุต 0.00 ทาํ งาน (ON) คางเปน เวลา 5 วนิ าที เอาตพ ุต 100.00 จะ ON และ เอาตพ ตุ 100.01 จะ OFF Ladder Diagram ชดุ คําสัง่ I 0.00 I 0.01 TIM Address Instruction Operands 0 T0000 #50 5 วินาที 00000 LD 0.00 T0000 Q 100.00 00001 AND NOT 0.01 Q 100.01 00002 TIM 000 #050 END(01) 00003 LD TIM0000 00004 OUT 100.00 00005 LD NOT TIM0000 00006 OUT 100.01 00007 END (01) - 77 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขยี นแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําสั่งพ้ืนฐาน 5.5.2 การใชคาํ สง่ั COUNTER - CNT เปนคาํ สง่ั ที่ใชน ับจํานวนครงั้ ของสัญญาณ อินพุต ที่ ON แตละคร้ัง ซึ่งเปน คําสง่ั ท่ี นับลงจากคา ทต่ี ง้ั ไว (Set Value) CP CNT N: Counter Number (หมายเลขของ Counter) N C000-C4095 (CP1L) R SV SV: Set Value (คา ตง้ั จาํ นวนนบั ) คาคงท่(ี #)หรอื การอางถงึ CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR N= Counter Number (เบอร 000- 4095) เลือกวา จะใช Counter ตัวท่เี ทาใด SV = Set Value คา ตัง้ จํานวนนับ ใชก าํ หนดวา จะให Counter นับสญั ญาณ อินพุตเปนจํานวนก่คี รงั้ หนา Contact เอาตพ ตุ ของ Counter จึงจะเร่มิ CP = ทาํ งานซ่ึงสามารถ R= 1. กาํ หนด SV เปนคาคงท่ี #0000-9999 หมายเหตุ 2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR โดยใสคา ต้ังจาํ นวนนบั ทเ่ี ปน คาคงท่ี 0000-9999 ไวในแอดเดรส ท่อี า งถึงอกี ทหี นึง่ ขานับ เมื่อมีสัญญาณอินพุตในชว งทเี่ ปลยี่ นสถานะจาก OFF เปน ON เขามาที่ขานี้ Counter จะนับถอยหลงั ลง 1 ขา Reset เมื่อมีสญั ญาณอินพุตเขา มาที่ขาน้ี เอาตพ ุตของ Counter จะหยดุ ทํางานและคานบั ของ Counter จะถูก Reset กลับไปเทา กบั คาตั้งจํานวน นบั (SV) *ในทน่ี ย้ี กตวั อยางหมายเลข Counter ของ PLC รุน CP1L เทา นั้นสําหรบั PLC รุนอืน่ ๆ สามารถใช Counter ไดมากกวา หรือนอ ยกวา ทีก่ ําหนด *Memory Area ของ Timer และ Counter จะใชพ ืน้ ที่แยกกนั แตใ น PLC รุนเกา เชน CPM2A จะใช Timer และ Counter กบั เบอรเดียวกนั ไมได - 78 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สัง่ พ้ืนฐาน ตวั อยา งท่ี 5.14 แสดงการใชค าํ ส่งั Counter สญั ญาณท่สี งเขา ท่ีขาสญั ญาณนบั จะทําให Counter นับถอยหลงั เม่อื เทยี บกบั SV ตวั Counter จะเร่ิมนับที่ขอบขาขึน้ ของสัญญาณอนิ พตุ และจะ นบั ใหมเม่ือสญั ญาณเปลี่ยนเปน OFF หรอื ‘0’ แลวกลับมา ON อีกครั้ง และจะทํางานเชนนไี้ ปจน ครบคา ทต่ี ัง้ ไว (SV) เอาตพตุ จงึ ON CP CNT CP CNT N N R SV R SV จังหวะการนับ จงั หวะการรีเซต ตวั อยางที่ 5.15 การใชง านของคาํ สั่ง Counter เมอ่ื อนิ พตุ 0.00 ทํางาน (ON) 1 ครัง้ Counter จะนบั 1 ครัง้ ถา อนิ พตุ 0.00 ทํางาน (ON) ครบ 10 คร้ัง จะทาํ ใหค าํ ส่ัง Counter ทาํ งาน พรอ มกบั Contact ของ Counter (CNT0000) จะทํางานดว ย และจะถกู Reset ดว ยอนิ พตุ 0.02 Ladder Diagram ชดุ คาํ สั่ง I 0.00 Address Instruction Operands CNT 00000 LD 0.00 I 0.02 0000 00001 LD 0.02 00002 CNT 001 #0010 C0000 #0010 00003 LD CNT0000 Q 100.02 00004 OUT 100.02 00005 END (01) END (01) - 79 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสัง่ พื้นฐาน • การประยุกตใ ชงานของ TIMER และ COUNTER ตวั อยางที่ 5.16 ตองการนับจาํ นวนคนดคู อนเสิรต สถานที่จัดงานสามารถจุคนดูได 20,000 คน ใช Photo Switch นับจํานวนคน หลงั จาก 20,000 คนแลวให OUTPUT LAMP 100.00 ทํางาน เพ่ือแสดงวาคน เตม็ แลว I/O ที่กําหนด PHOTO SWITCH 0.00 PB RESET 0.01 OUTPUT LAMP 100.00 Ladder Diagram ชุดคาํ สั่ง I 0.00 Count CNT Address Instruction Data C0001 Input C0001 I 0.01 Reset 0001 00000 LD 0.00 C0002 #0100 100 00001 LD CNT 0001 counts 0001 Count 00002 CNT Input CNT #0100 Reset 0002 200 00003 LD CNT 0001 #0200 counts 00004 LD 0.01 Q 100.00 00005 CNT 0002 END(01) 00006 LD #0200 CNT 0002 00007 OUT 100.00 00010 END (01) - 80 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําส่ังพ้ืนฐาน ตวั อยางที่ 5.17 เครอื่ งจกั รเครื่องหนึง่ ตองการอดั จารบหี ลังจากใชง านไปแลวครบ 1,000 ช่ัวโมง I/O ทกี่ าํ หนด PB START 0.00 PB RESET 0.01 VALUE LUBRICATE 100.00 Ladder Diagram ชดุ คาํ สงั่ I 0.00 TIM 0001 TIM Address Instruction Data T0001 0001 00000 LD 0.00 C0001 #6000 00001 AND-NOT TIM 0001 I 0.01 600 sec 00002 TIM 0001 C0002 Count # 6000 Input CNT TIM 0001 0.01 Reset 0002 00003 LD 0002 #6000 # 6000 600 00004 LD CNT 0002 counts 100.00 Q 100.00 00005 CNT END(01) 00006 LD 00007 OUT 00008 END (01) - 81 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ตัวอยา งที่ 5.18 มอเตอรป มนา้ํ ถา กดปุม PB-START หลอดไฟสีแดงจะตดิ เพื่อแสดงวาปม ทาํ งาน และปม นาํ้ จะหยดุ การทาํ งานพรอ มกบั หลอดไฟสีแดงดับ กต็ อเมอ่ื กด PB-STOP หลอดไฟสีเขียวจะติดแทน (ปมจะทํางานไดตอ งมนี าํ้ ในแทงคเ ทาน้นั ) Pump Tank PB-START PB-STOP หลอดไฟสแี ดง หลอดไฟสเี ขยี ว SENSOR DETECT LIQUID I/O ทก่ี ําหนด 0.00 PB-START INPUT 0.01 PB-STOP 0.02 SENSOR DETECT LIQUID OUTPUT 100.00 MOTOR PUMP 100.01 หลอดไฟสแี ดง 100.02 หลอดไฟสเี ขยี ว Ladder Diagram ชดุ คาํ ส่งั I 0.00 I 0.01 I 0.02 Q 100.00 Address Instruction Operand 00000 LD 0.00 Q100.00 Q 100.01 00001 OR 100.00 00002 AND NOT 0.01 Q100.00 Q 100.02 00003 AND 0.02 00004 OUT 100.00 END(01) 00005 OUT 100.01 00006 LD NOT 100.00 00007 OUT 100.02 00008 END (01) - 82 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําส่ังพื้นฐาน แบบฝกหัด จงเขยี นโปรแกรมต้ังเวลา 24 ช่วั โมง โดยเมื่อครบตามเวลาท่ีกาํ หนดตอ งการใหม อเตอรท าํ งาน Ladder Diagram Mnemonic Code Data Address Instruction 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 00009 00010 - 83 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สั่งพื้นฐาน 5.5.3 การใชค าํ สงั่ Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรือ UP/DOWN Counter คาํ สัง่ CNTR ใชอ นิ พตุ 3 อินพตุ ควบคุมการทํางานคือ II (Increment Input), DI (Decrement Input) และ Reset Input (R) การใชงานตองระบเุ บอรของตัวเคาทเ ตอรแ ละกาํ หนดคา การนับ (Set Value) เปน จํานวนเทาใดดว ย II CNTR(12) N: Counter Number DI N (หมายเลขของ Counter) R SV C000-C4095 II- คือขานบั สัญญาณแบบนบั ข้นึ DI- คือขานับสัญญาณแบบนบั ลง SV: Set Value (word, BCD) R- คือขา Reset CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E_, #, DR, ,IR พนื้ ที่หนว ยความจาํ ทีใ่ ชกบั คาํ สัง่ ได การกาํ หนดคา SV (คาท่จี ะตัง้ ใหน ับ) สามารถกําหนดเปน คา คงที่ หรือกาํ หนดผา น หนว ยความจาํ ตางๆ ทีก่ ําหนดไวใ หเ ชน DM ตอ งต้งั อยใู นยา น 1-9,999 ลักษณะการทํางานของ CNTR แสดงไดด ังนี้ Execution condition ON On increment (II) OFF Execution condition On decrement (DI) ON OFF Completion Flag ON SV PV OFF 00000 00001 SV-1 SV 00000 SV-2 SV-1 SV-2 - 84 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสง่ั พ้ืนฐาน ตวั อยา งที่ 5.19 การใชงาน Counter ชนิด UP/DOWN counter หรอื Reversible Counter Ladder Diagram ชุดคําสัง่ I 0.01 Address Operand Data CNTR(12) I 0.02 00000 LD 0.01 000 00001 LD 0.02 I 0.03 #10 00002 LD 0.03 00003 CNTR(12) 0000 C0000 00004 # 10 00005 LD CNT 0010 00006 OUT 100.00 Reversible Counter หรือเรียกอีกชื่อวา UP-DOWN Counter ทัง้ นเี้ พราะสามารถทําการนบั ขึน้ ในกรณที ่ีมสี ญั ญาณเขาที่ II และมกี ารนบั ลงเมื่อมีสัญญาณเขาที่ DI แตถา มสี ญั ญาณ UP และ DOWN ทอ่ี ินพุตพรอมกนั จะไมท ําใหเกดิ การนับในทศิ ทางใดๆ การนับจะนบั เปน ลักษณะวนหรือ ตอเนื่องกันไปเร่อื ยๆ กลา วคอื เม่อื นบั ครบตามจาํ นวนทก่ี ําหนดไวแ ลว จะวนกลบั มาเปน “0”หรือ “10” ใหม เปนเชนน้ไี ปเร่อื ย และการแสดงคาเอาตพุตของคาํ สั่ง CNTR จะมีสภาวะ “ON” เพยี ง 1 คร้ังเทา นนั้ ในจงั หวะทเ่ี ปน การวนคา เชน จาก “10” เปน “0” ในกรณที ี่มีการเพิ่มหรอื ลดถงึ คาท่ี กาํ หนดเอาไว สว นสญั ญาณ Reset ถอื วา เปน อกี อนิ พตุ หน่ึงของ CNTR ถา มสี ภาวะ “ON” เมอื่ ใดจะ ทาํ ใหคา ท่ีนับไดม คี าเร่ิมตน ท่ี “0000” ทนั ที - 85 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไ ดอะแกรมและคําส่งั พื้นฐาน 5.6 กลุมคําสงั่ Data Movement 5.6.1 การใชคําสง่ั MOVE – MOV(21) (@)MOV(21) S: Source word S D CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR พืน้ ทห่ี นว ยความจําทใี่ ชก ับคาํ ส่งั ได D: Destination word CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR พน้ื ท่หี นว ยความจาํ ทใี่ ชก ับคาํ สงั่ ได S = เวริ ดตน ฉบบั ทต่ี องการ Copy (Source word) D = เวริ ด ปลายทางที่ Copy (Destination word) เมื่อคําสง่ั น้ที าํ งาน มันจะทําการสําเนา (Copy) ขอ มลู จาก S ไปยัง D โดยท่ี S ยงั มีขอ มลู เดมิ อยู ถาใสส ัญลักษณ @ ขา งหนา คาํ สง่ั นีจ้ ะทาํ งานเพยี งแค 1 Scan time เทา นน้ั จะไมม กี ารสําเนา ขอ มลู จาก S ไปยัง D อกี แมว าจะยงั มสี ญั ญาณอนิ พตุ ON ทคี่ าํ สัง่ MOV - 86 -

PNSPO!! ! ! ! !บทท่ี 5 หลักการเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคําสงั่ พื้นฐาน Source Input . Destination Output CH 000 . CH 010 . 00000 1 01000 1 00001 1 01001 1 00002 0 01002 0 00003 1 01003 1 00004 1 01004 1 00005 0 01005 0 00006 0 01006 0 00007 1 01007 1 00008 1 01008 1 00009 1 01009 1 00010 1 01010 1 00011 0 01011 0 00012 0 01012 0 00013 0 01013 0 00014 0 01014 0 00015 1 01015 1 ตัวอยา งท่ี 5.20 คาของ S = H 0001 (มีคา ขอ มลู คอื 1500) และ D = D 0005 (มีคาขอ มลู คงคือ 0050) เมอ่ื คาํ ส่งั MOV(21) ทาํ งาน คาที่ D จะมขี อมูลใหมค อื 1500 Ladder Diagram I 0.00 MOV(21) H0001 D0005 H 0001 S I0.00 = OFF 1500 0050 D 0005 D H0001 D0005 END(01) I0.00 = ON 1500 1500 - 87 -

PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลกั การเขยี นแลดเดอรไดอะแกรมและคาํ สง่ั พ้ืนฐาน 5.7 กลุมคาํ ส่ัง Data Shifting 5.7.1 การใชคาํ ส่งั SHIFT REGISTER – SFT(10) Operand Ladder Symbol St : Starting word I SFT(10) CIO, W, H, A P St E : End word CIO, W, H, A RE I คือ ขา Data Input กําหนดคาท่ใี ชในการเลือ่ นขอมูลเปน “0” หรอื “1” P คือ ขา Pulse Input ใชปอ นสัญญาณพลั สเพอ่ื เลื่อนขอ มูลจาก I เขา ไป R คอื ขา Reset ใชกําหนดคา ขอมูลใน Starting Word ถงึ End Word ใหม คี า เปน 0 การทาํ งานจะเล่ือนขอ มูลทีละบิต จากบิต 0 ของ Starting word ไปจนถงึ บติ 15 ของ End word ถา มีการ ON ที่ขา P (Pulse) แตล ะคร้ัง ถาขา P ON หนึ่งครงั้ ขอ มลู กจ็ ะเล่อื นหน่ึงบิต ตัวอยางท่ี 5.21 15 . . . 03 02 01 00 Start Word Data Input 15 . . . 03 02 01 00 END Word 15 . . . 03 02 01 00 ทดลองเขียนคาํ ส่ัง SFT(10) โดยมี 1 Second clock puls (P_1s) ท่ีขา P และ Turn On สวิตช I0.00 ซึง่ เปนคา ขอมลู ทจ่ี ะเลือ่ นเขาไป โดยเาอตพ ตุ เวริ ด W0 จะ ON ต้ังแตบิตท่ี W0.00 แลวเลอ่ื น ไป ON ท่ี W0.01 Address Instruction Operands I 0.00 00000 LD 0.00 P_1s SFT(10) 00001 LD P_1s I 0.01 W0 00002 LD 0.01 00003 SFT(10) W0 W 0 W0 END(01) 00004 END(01) - 88 -

บทท่ี 6 การใชซอฟตแวรปอ นโปรแกรม ในบททผี่ า นมาเราไดกลา วถงึ หลกั การเขยี นแลดเดอรโปรแกรมและคาํ สั่งพืน้ ฐานตางๆ เพื่อนาํ ไปประยกุ ตก บั การใชง านจริงไดอ ยา งเหมาะสม ตอ จากนีไ้ ปเราจะเรม่ิ ตน การเขยี นโปรแกรมโดยจะใช ซอฟตแวร CX-programmer ในการสรางแลดเดอรไดอะแกรม 6.1 การติดตั้งซอฟตแ วร CX-Programmer 6.1.1 PLC ทสี่ ามารถใชงานกับซอฟตแ วร CX-Programmer CX-Programmer เปนซอฟตแ วรท ี่พฒั นาข้นึ มาแทนซอฟตแ วร Syswin สามารถใชง าน ไดกับ PLC ของ OMRON รนุ ตางๆ ไดดงั ตารางตอไปนี้ PLC Series รนุ CP-Series CP1L, CP1H CJ-Series CJ1G, CJ1G-H, CJ1H-H, CJ1M CS-Series CS1G, CS1G-H, CS1H, CS1H-H, CS1D-H, CS1D-S CV-Series CV1000, CV2000, CV500, CVM1, CVM1-V2 C-Series C1000H, C2000H, C200H, C200HE, C200HE-Z, C200HG, C200HGZ, C200HS, C200HX, C200HX- Z, CPM1A, CPM1, CPM2*, CPM2*-S*, CQM1, CQM1H SRM1 SRM1,SRM1-V2 หมายเหตุ สําหรับรุน ของ PLC ตามตารางนน้ั จะเปลีย่ นไปตามการพฒั นาซอฟตแวร ถา ซอฟตแวรส ูงขน้ึ รุน ของ PLC จะมใี หเลอื กเพ่ิมขนึ้ -89-

PNSPO บทที่ 6 การใชซ อฟตแ วรป อ นโปรแกรม 6.1.2 ขอแนะนําสาํ หรบั เครือ่ งคอมพิวเตอรท ่ใี ชง าน (System Requirements) CX-Programmer (และ CX-Server) สามารถทํางานไดก บั เครือ่ งคอมพวิ เตอร PC (IBM-AT หรอื NEC PC-98) ตง้ั แต Pentium II ขนึ้ ไป โดยทํางานภายใตระบบปฏบิ ตั ิการMS-Windows 95, 98, ME, XP หรอื Windows NT Service pack 5, 2000 (หรือ Version ทใ่ี หมกวา ) หมายเหต:ุ CX-Programmer (และ CX-Server) ไมร บั ประกนั การทํางานบนเคร่อื งคอม พิวเตอรทเ่ี ปนระบบปฏบิ ัติการอยางอื่นนอกเหนือจากของ MS-Windows ปกติ (เชน พวก Windows Emulation อยา ง Apple Macintosh, หรือเครอื่ ง PC ทใ่ี ชร ะบบปฏบิ ัตกิ าร Linux) อยา งไรก็ตามขอ แนะนาํ สําหรับของระบบคอมพวิ เตอรข ้นั ตํา่ ท่ี CX-Programmer (และ CX-Server) จะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธผิ ล มีดงั น้ี Minimum system Requirements Minimum Specification Recommended Minimum Specification Operating CPU Memory HDD Display CPU Memory HDD Display system Type (RAM) Space Type (RAM) Space Windows 95 Windows 98 Pentium 32Mb 100Mb 800x600 Pentium 64Mb 150Mb 1024x768 Windows NT (with SP5) Class SVGA Class II SVGA Windows 133MHz 200MHz 2000 Pentium 64Mb 100Mb 800x600 Pentium 64Mb 150Mb 1024x768 Windows ME Class 128Mb SVGA Class II SVGA 200MHz Windows XP 150MHz 100Mb 800x600 64Mb 150Mb 1024x768 Home SVGA Pentium SVGA Pentium Class II Windows XP Class II 200MHz Professional 300MHz หมายเหตุ แมวา จะสามารถทํางานโดยใช Keyboard ไดทัง้ หมด อยา งไรกต็ ามเพื่อความสะดวก ในการทํางานควรใช Mouse - 90 -

PNSPO บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม 6.1.3 การติดต้ังซอฟตแวร CX-Programmer ซอฟตแ วรตวั น้ีจะทํางานบนระบบปฏบิ ัติการ MS Windows95, 98, ME, NT หรอื 2000 ขึ้นไป 1.คลกิ ท่ี RUN บน Task bar จะปรากฏหนา จอดังน้ี 2. เลือก Browse เลอื ก Setup จะ ปรากฏหนาจอดงั นี้ 3. หลังจากเลอื ก Setup ของ CX-Programmer จะปรากฏหนา จอน้ี 4.คลิก OK เพอ่ื เลือก Setup จะขน้ึ หนา จอ เพ่ือใหเลอื กภาษา 5.เลอื กภาษาองั กฤษ เลอื กตกลง จะปรากฏ หนา จอดังน้ี - 91 -

PNSPO บทท่ี 6 การใชซอฟตแ วรปอ นโปรแกรม 6.เลือก NEXT 7.เลอื ก YES - 92 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook