Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม

นวัตกรรม

Published by Ak YEen, 2021-02-09 09:42:50

Description: นวัตกรรม

Search

Read the Text Version

ความรูห้ ลกั การนวัตกรรมและ เทคโนโลยกี ารศึกษา ในศตวรรษท่ี21

1 ความรเู้ บื้องต้น เกี่ยวกบั เทคโนโลยกี ารศกึ ษา

เทคโนโลยกี ารศึกษา คอื อะไร? ✗ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา (Educational Technology) หรอื เทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา เป็นศาสตร์ท่ีประยุกต์ วชิ าการตา่ งๆ มาจัดการเรยี นการสอนให้ผู้เรียนสามารถเรยี นร้ตู าม วตั ถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยการนาคา “เทคโนโลยี” ซ่งึ มี ความหมายว่าเปน็ ศาสตร์แหง่ วิธกี าร ซงึ่ ไมไ่ ดม้ คี วามหมายวา่ เป็นศาสตร์แห่งเคร่อื งมอื เพยี ง อยา่ งเดยี ว แตร่ วมถึงวัสดแุ ละวิธีการ เมอ่ื นามาใช้ กบั “การศกึ ษา” จึงเปน็ คาใหม่ท่ีมี ความหมายว่า การประยุกตเ์ ครือ่ งมือ วัสดุและวิธีการไปสง่ เสรมิ ประสิทธิภาพการเรยี นรู้ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอ้ มใหมเ่ พ่ือการเรียนรู้ “สือ่ สาร” เป็น กระบวนการถ่ายทอดขอ้ มลู ขา่ วสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยอาศัยส่อื หรอื ชอ่ งทางตา่ งๆ ใหเ้ กิดความ เขา้ ใจและ เปน็ แบบปฏสิ มั พันธ์ 3

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 4

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม นวัตกรรม เปน็ คาทีใ่ ชค้ วบคกู่ ับ เทคโนโลยี เสมอๆ ในภาษาอังกฤษใชค้ าวา่ Innotech ความจรงิ แล้วนวัตกรรมและเทคโนโลยีนนั้ มคี วามสมั พันธ์กันอยา่ งใกล้ชิดเน่ืองจากนวตั กรรมเปน็ เรือ่ งของการคดิ คน้ หรอื การกระทาใหม่ ๆเพ่ือใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในทางทดี่ ีขึ้นซง่ึ อาจจะอยู่ ในข้นั ของการเสนอความคิดหรือในขนั้ ของการทดลองอยกู่ ็ได้ ยงั ไม่เปน็ ทค่ี นุ้ เคยของสังคม ส่วนเทคโนโลยนี นั้ ม่งุ ไปทกี่ ารนาส่งิ ต่าง ๆรวมทั้งวธิ กี ารเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การทางาน หรอื แก้ปญั หาให้มีประสิทธิภาพมากทส่ี ุด ถ้าหากพจิ ารณาวา่ นวัตกรรมหรอื ส่งิ ทเี่ กดิ ขึน้ ใหมน่ นี้ า่ จะ นามาใช้ การนาเอานวัตกรรมเขา้ มาใช้นี้ ก็จดั ได้วา่ เป็นเทคโนโลยดี ว้ ย และในการใช้ เทคโนโลยนี ถี้ า้ เราทาให้เกิดวิธกี ารหรอื สง่ิ ใหม่ ๆ ขึ้น สงิ่ นั้นกเ็ รยี กวา่ เป็นนวตั กรรม เราจงึ มกั เหน็ คา นวตั กรรมและเทคโนโลยี อยคู่ วบคูก่ ันเสมอ 5

ขอบข่ายของ เทคโนโลยีการศกึ ษา 6

ขอบขา่ ยของเทคโนโลยีการศกึ ษา ✗ เทคโนโลยกี ารศกึ ษามี 5 ขอบข่าย ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1. การออกแบบ (Design) 2. การพัฒนา (Development) 3. การใช้ (Utilization) 4. การจดั การ (Management) 5. การประเมนิ (Evaluation) 7

การออกแบบ (Design) คือ กระบวนการในการกาหนดสภาพของการเรยี นรู้ - การออกแบบระบบการสอน(instructional systems design) ✗ - ออกแบบสาร(message design) ✗ - กลยทุ ธก์ ารสอน(instructional strategies) ✗ - ลกั ษณะผู้เรียน(learner characteristics) 8

การพฒั นา (Development) คอื กระบวนการเปลี่ยนการออกแบบ ✗ - เทคโนโลยีสิ่งพมิ พ์(print technologies) ✗ - เทคโนโลยโี สตทัศนูปกรณ์(audiovisual technologies) ✗ - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(computer – based technologies) ✗ - เทคโนโลยบี ูรณการ (integrated technologies) 9

การใช้ (Utilization) คือ ใชก้ ระบวนการ และแหล่งทรพั ยากรเพื่อการ เรยี นการสอน ✗ - การใช้สอื่ (media utilization) ✗ - การแพรก่ ระจายนวัตกรรม(diffusion of innovation) ✗ - วิธีการนาไปใช้ และการจัดการ (implementation and institutionalization) ✗ - นโยบาย หลกั การและกฎระเบียบข้อบังคับ (policies ✗ and regulations) 10

✗ การจดั การ (Management) คอื ควบคมุ กระบวนการทางเทคโนโลยี การศกึ ษา ตลอดจนการวางแผน จัดการ การประสานงาน และให้ คาแนะนา - การจดั การโครงการ (project management) - การจัดการแหล่งทรัพยากร (resource management) - การจัดการระบบสง่ ถา่ ย (delivery system management) - การจัดการสารสนเทศ (information management) 11

✗ การประเมนิ (Evaluation) คือ การหาขอ้ มลู เพอ่ื กาหนดความเหมาะสม ของการเรยี นการสอน ✗ - การวเิ คราะหป์ ญั หา (problem analysis) ✗ - เกณฑ์การประเมนิ (criterion – reference measurement) ✗ - การประเมนิ ความกา้ วหน้า (formative evaluation) ✗ - การประเมินผลสรปุ (summative evaluation) 12

ประเภทของเทคโนโลยี ทางการศึกษา 13

ประเภทของเทคโนโลยที างการศกึ ษา 1. วัสดอุ ปุ กรณ์ (Hardware) เชน่ ชอลค์ ดนิ สอ กระดาษ ฟิล์ม ภาพยนตร์ วดิ ิทัศน์ สไลด์ เครื่องฉายขา้ มศรษี ะ คอมพวิ เตอร์ เคร่ืองบันทกึ เสยี ง 2. นวัตกรรมท่เี ป็นเครอ่ื งมอื เชน่ ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง 3. นวัตกรรมและเทคโนโลยที ีเ่ ปน็ วธิ ีการ เช่น การสอนแบบตา่ ง แบบเรียน สาเรจ็ รูป RIT 14

ประโยชนข์ องเทคโนโลยกี ารศกึ ษา สาหรบั ผู้เรยี น 1. ทาใหผ้ ูเ้ รียนมโี อกาสใช้ความสามารถของตนเองในการเรยี นรอู้ ยา่ งเตม็ ท่ี 2. ผู้เรยี นมโี อกาสตัดสนิ ใจในการเลือกเรียนตามช่องทางทเ่ี หมาะกบั ความสามารถของตนเอง 3. ทาใหก้ ระบวนการเรียนรู้งา่ ยขน้ึ 4. ผู้เรยี นมีอสิ ระในการเลอื ก 5. ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ในทุกเวลา ทกุ สถานที่ 6. ทาให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขน้ึ 7. ลดเวลาในการเรยี นรแู้ ละผู้เรียนสามารถเรยี นรูไ้ ดม้ ากกว่าเดิมในเวลาเทา่ กัน 8. ทาให้ผู้เรียนสามารถเรยี นรไู้ ด้ทงั้ ในแนวกวา้ งและแนวลกึ 9. ชว่ ยใหผ้ ้เู รียนรู้จักเสาะหาแหลง่ การเรยี นรู้ 10.ฝึกให้ผเู้ รยี น คดิ เป็นและสามารถแก้ปญั หาดว้ ยตนเองได้ 15

ประโยชนข์ องเทคโนโลยีการศกึ ษา สาหรบั ผู้สอน 1. ทาให้ประสทิ ธภิ าพของการสอนสงู ขน้ึ 2. ผสู้ อนสามารถจัดกจิ กรรมได้หลากหลาย 3. ทาให้ผสู้ อนมีเวลามากขนึ้ จึงใช้เวลาที่เหลอื ในการเตรียมการสอนไดเ้ ต็มท่ี 4. ทาใหก้ ระบวนการสอนง่ายขน้ึ 5. ลดเวลาในการสอนน้อยลง 6. สามารถเพมิ่ เนอ้ื หาและจดุ มุ่งหมายในการสอนมากขนึ้ 7. ผ้สู อนลดเวลาสอนในชน้ั เรียนเพราะบทบาทสว่ นหนงึ่ ผ้เู รยี นทาเอง 8. ผ้สู อนสามารถแกป้ ัญหาความไม่ถนดั ของตนเองได้ 9. ผ้สู อนสามารถสอนผูเ้ รียนได้เนื้อหาทกี่ ว้างและลกึ ซึ้งกวา่ เดมิ 10. งา่ ยในการประเมิน เพราะการใช้เทคโนโลยี ม่งุ ใหผ้ ้เู รียนประเมนิ ตนเองดว้ ย 16

นวตั กรรมการศกึ ษา 17

นวัตกรรมการศึกษา นวตั กรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถงึ การนาเอา สง่ิ ใหมซ่ ึง่ อาจจะอยูใ่ นรูปของความคดิ หรอื การกระทา รวมท้งั สง่ิ ประดิษฐ์ก็ตามเขา้ มาใช้ ในระบบการศกึ ษา เพ่อื มงุ่ หวงั ทจี่ ะเปลย่ี นแปลงสง่ิ ทมี่ ีอยู่เดิมให้ระบบการจดั การศกึ ษามี ประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน ทาให้ผเู้ รียนสามารถเกดิ การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างรวดเรว็ เกดิ แรงจูงใจใน การเรยี น และชว่ ยให้ประหยดั เวลาในการเรยี น เช่น การสอนโดยใช้คอมพวิ เตอรช์ ว่ ย สอน การใช้วดี ิทศั น์เชิงโตต้ อบ(Interactive Video) ส่อื หลายมิติ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เนต็ เหลา่ น้ีเป็นต้น 18

ประเภทของนวตั กรรมการศกึ ษา 1. นวตั กรรมทางด้านหลักสตู ร 2. นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ 3. นวัตกรรมส่ือการสอน 4. นวตั กรรมการประเมนิ ผล 5. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ 19

การพิจารณานวตั กรรม 20

การพจิ ารณานวตั กรรม 1. นวัตกรรมจะตอ้ งเปน็ สงิ่ ใหมท่ งั้ หมด หรอื บางส่วนอาจเป็นของเกา่ ใช้ไม่ได้ผลในอดตี แต่ นามาปรบั ปรงุ ใหม่ หรือเป็นของปจั จบุ ันทีเ่ รานามาปรบั ปรงุ ให้ดีขน้ึ 2. มกี ารนาวธิ กี ารจดั ระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบทงั้ ส่วนขอ้ มลู ทีน่ าเข้าไปใน กระบวนการและผลลพั ธ์ โดยกาหนดขน้ั ตอนการดาเนินการให้เหมาะสมก่อนท่ีจะทาการ เปล่ียนแปลง 3. มกี ารพิสจู นด์ ว้ ยการวจิ ยั หรอื อยรู่ ะหวา่ งการวจิ ยั ว่า\"สงิ่ ใหม\"่ นัน้ จะชว่ ยแกป้ ญั หาและการ ดาเนนิ งานบางอยา่ งได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพสงู ขนึ้ กวา่ เดิม 4. ยงั ไมเ่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบงานในปจั จบุ ันหาก \"สิง่ ใหม่\" นน้ั ไดร้ บั การเผยแพร่และ ยอมรับจนกลายเป็นสว่ นหนึ่งของระบบงานทีด่ าเนนิ อยใู่ นขณะนัน้ ไม่ถอื วา่ สิ่งใหมน่ ้ันเปน็ นวัตกรรมแต่จะเปลยี่ นสภาพเป็นเทคโนโลยอี ย่างเต็มที่ 21

ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศกึ ษา เป็นการนาแนวคิดวธิ กี ารมาใช้ในการจดั การศกึ ษาเพ่ือส่งเสริมกจิ กรรมการเรียนการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ขึ้น มีลกั ษณะสาคญั ดงั นี้ 22

ลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา (1) เป็นแนวความคิดทไี่ มย่ งั ไม่มกี ารนามาปฏบิ ตั ิในวงการศึกษาและอาจเปน็ สิง่ ใหมบ่ างสว่ นหรอื เปน็ สง่ิ ใหม่ ทั้งหมดซง่ึ ใชไ้ ดไ้ มไ่ ดผ้ ลในอดีตซึง่ ได้รับการปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหด้ ขี น้ึ เช่น การนาคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการจดั การ เรยี นรู้ (2) เปน็ แนวความคิดหรือแนวทางปฏิบตั ใิ นลักษณะใหมซ่ ึง่ ดัดแปลงจากแนวความคดิ หรือแนวทางปฏบิ ตั ิเดมิ ท่ี ปฏบิ ัติไม่ประสบความสาเรจ็ ให้มคี วามสอดคล้องกับสภาพแวดลอ้ มในปจั จบุ นั และกอ่ ใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ได้ และมี การจัดระบบข้ันตอนการดาเนนิ งาน (System Approach) โดยการพจิ ารณาข้อมูล กระบวนการ และผลลพั ธ์ ใหเ้ หมาะสมก่อนทาการเปลย่ี นแปลงนน้ั ๆ (3) เป็นแนวความคิดหรือแนวทางปฏบิ ตั ซิ ึง่ มีมาแตเ่ ดมิ และได้รับการปรบั ปรุงให้มีลักษณะทนั สมัยและได้รับการ พสิ จู นป์ ระสทิ ธิภาพด้วยวธิ ที างวิทยาศาสตรห์ รืออยรู่ ะหว่างการวิจัย (4) เปน็ แนวความคดิ หรือแนวทางปฏบิ ตั ิทสี่ อดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม ซงึ่ เอ้อื อานวยใหเ้ กดิ ความสาเร็จย่งิ ข้นึ เช่น การศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (5) เป็นแนวความคดิ หรือแนวทางปฏบิ ัตทิ คี่ น้ พบใหมอ่ ย่างแทจ้ ริงซงึ่ ยงั ไมไ่ ด้ทาการเผยแพรห่ รือไดร้ บั การยอมรบั เปน็ ส่วนหนึง่ ของระบบงานในปจั จุบัน 23

นวัตกรรมการเรยี นการสอนยุค ปฏริ ปู การศกึ ษากับพัฒนา ทักษะในศตวรรษที่ 21 24

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 25

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 26

ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 27

แนวโนม้ ของสือ่ และเทคโนโลยี การศึกษาในอนาคต 28

แนวโนม้ ของสอ่ื และเทคโนโลยีการศกึ ษาในอนาคต * พฒั นาการของเทคโนโลยแี ละการเรยี นการสอน * บทสรปุ : วงการศกึ ษาและความเปลย่ี นแปลงใน * การบรรจบกนั ของเทคโนโลยแี ละสอื่ การสอน อนาคต * ศักยภาพของการสอ่ื สารในสถาบันการศกึ ษา * คอมพวิ เตอร์ : อุปกรณห์ ลกั ในการเรยี นการสอน * พฒั นาการของอเี ลริ น์ นงิ่ : Learning Object * ไอซที แี ละการบรู ณาการการเรยี นการสอน * Grid Computing * การเรยี นในสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรเู้ ชงิ เสมอื น * ความเปน็ จรงิ เสมอื นและสภาพแวดลอ้ มเชงิ เสมอื น การเปลยี่ นบทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี น * การรจู้ าคาพูดและการสอ่ื สาร สถานศกึ ษาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 29

Thanks! 30

แหล่งอา้ งอิง https://www.gotoknow.org/posts/441188 http://kob1991041.blogspot.com/2012/02/blog-post_3262.html https://sites.google.com/site/sghurhoaiykghphgp/extra-credit https://innovationforkm.weebly.com/36263636365635913651360436483611365536 0936093623363336053585361936193617.html 31

วิชา การสรา้ งสอื่ และนวตั กรรมทางการศกึ ษา เสนอ อ.สจุ ติ ตรา จันทรล์ อย นางสาวรัตนาวดี ประกอบการป3ี หมู่2 61412044 สาขาภาษาองั กฤษ 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook