Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันพระนั่งเกล้าฯ

วันพระนั่งเกล้าฯ

Description: วันพระนั่งเกล้าฯ

Search

Read the Text Version

วนั ราลกึ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหาเจษฎาราชเจา้ รัชกาลท่ี 3 คณะรัฐมนตรีมีมตใิ ห้วนั ท่ี 31 มนี าคมของทกุ ปเี ปน็ วนั ระลึกพระบาทสมเด็จพระ นง่ั เกล้าเจ้าอย่หู วั พระมหาเจษฎาราชเจ้า หรอื วันเจษฎาบดินทร์ เป็นวันสาคัญของชาติ แต่ไมถ่ ือเป็นวนั หยุดราชการ และเหน็ ชอบให้ให้ถวายพระราชสมัญญาว่า “พระมหาเจษฎา ราชเจ้า” แปลวา่ “พระเจา้ แผน่ ดินผ้เู ปน็ ใหญ่” ตราพระราชลัญจกรประจารชั กาลที่ 3 รปู ปราสาท สอดคลอ้ งกับพระนามเดิม \"ทับ\" ผูกตรานข้ี นึ้ ในวโรกาสกรุงรัตนโกสนิ ทร์ครบ 100 ปี

พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระมหาเจษฎาราชเจา้ พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยประสตู ิแต่ สมเดจ็ พระศรีสุลาลยั เสด็จพระราชสมภพเมื่อวนั จันทร์ที่ 31 มนี าคม พ.ศ. 2330 ณ พระราชวังเดิม ตรงกับรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในขณะทพ่ี ระองค์ประสูตนิ ้นั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้า นภาลยั ดารงพระอิสรยิ ยศท่ีสมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสนุ ทร พระองค์จงึ มสี กลุ ยศชั้นหม่อมเจ้า พระนามว่า หมอ่ มเจา้ ชายทับ จนกระทงั่ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถไดร้ ับอุปราชาภเิ ษกข้นึ เปน็ กรมพระราชวงั บวร สถานมงคล ในปี พ.ศ. 2349 พระองคจ์ งึ มีพระอิสรยิ ยศเปน็ พระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจ้าชายทบั เมอ่ื สมเดจ็ พระราชชนกได้เสด็จขนึ้ ครองราชย์เป็นรชั กาลท่ี 2 ใน พ.ศ. 2352 พระองค์จงึ ไดเ้ ล่อื นฐานันดรศกั ด์ิ ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าชั้นเอก ออกพระนามวา่ พระเจา้ ลกู ยาเธอ พระองคเ์ จ้าชายทับ จนปี พ.ศ. 2356 ได้รับพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ให้ทรงกรม เปน็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทร์ เมอื่ กรมหมนื่ เจษฎาบดินทร์เสดจ็ เถลิงถวลั ยค์ รองราชสมบัติแลว้ ทรงออกพระนามเตม็ ตามพระสุพรรณบัฏ วา่ \"พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธริ าชรามาธบิ ดี ศรสี นิ ทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธบิ ดินทร์ ธรณินทราธิราช รตั นากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศร์ ตรภี ูวเนตรวรนายก ดลิ กรตั นราชชาติอาชาวไสย สมทุ ัยดโรมน สากลจกั รวา ลาธเิ บนทร์ สุรเิ ยนทราธบิ ดินทร์ หริหรนิ ทราธาธบิ ดี ศรีสุวิบลู ย คุณอถพษิ ฐ ฤทธิราเมศวร ธรรมกิ ราชาธริ าช เดโช ชยั พรหมเทพาดเิ ทพนฤบดนิ ทร์ ภูมินทรปรมาธเิ บศร โลกเชษฐวิสุทธิ มงกฏุ ประเทศคตา มหาพทุ ธางกรู บรมบพติ ร พระพทุ ธเจ้าอยู่หัว\" นับเป็น \"สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 6\" ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ไดเ้ ฉลิมพระปรมาภไิ ธยใหม่ เปน็ \"พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวร เสรฐ มหาเจษฎาบดนิ ทร สยามนิ ทรวโิ รดม บรมธรรมิกมหาราชาธริ าช บรมนารถบพิตร พระนง่ั เกล้าเจ้าอยู่หวั \" ออกพระนามโดยย่อวา่ \"พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว\" ในวันที่ 11 พฤศจกิ ายน 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการใหเ้ ฉลิมพระ ปรมาภิไธยอยา่ งสงั เขปวา่ \"พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดศี รีสินทรมหาเจษฎาธิบดนิ ทร์ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หวั \" หรอื \"พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 3\"[2] เม่อื คร้งั ทท่ี รงกากบั ราชการกรมท่า (ในสมัยรชั กาลท่ี 2) ไดท้ รงแตง่ สาเภาบรรทกุ สินค้าออกไปค้าขายใน ตา่ งประเทศมีรายไดเ้ พมิ่ ข้นึ ในทอ้ งพระคลังเปน็ อันมาก พระราชบดิ าทรงเรยี กพระองค์ว่า \"เจ้าสัว\" เม่ือรัชกาลที่ 2 เสดจ็ สวรรคต มไิ ดต้ รสั มอบราชสมบัตแิ กผ่ ใู้ ด ขนุ นางและพระราชวงศ์ต่างมคี วามเหน็ วา่ พระองค์ (ขณะทรงดารง พระราชอสิ รยิ ยศเป็นกรมหมน่ื เจษฏาบดนิ ทร์) ขณะนน้ั มีพระชนมายุ 37 พรรษา ทรงรอบรกู้ จิ การบา้ นเมอื งดี ทรงปราดเปรอื่ งในทางกฎหมาย การค้าและการปกครอง จงึ พรอ้ มใจกนั อญั เชิญครองราชย์เป็นรัชกาลท่ี 3

พระราชกรณยี กจิ พระองค์ทรงปกครองประเทศด้วยพระปรีชาสามารถ ทรงเสริมสร้างกาลงั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร โปรดใหส้ รา้ ง ป้อมปราการตามปากแม่น้าสาคัญ และหัวเมอื งชายทะเล ด้านความม่นั คง พระองคไ์ ด้ทรงป้องกนั ราชอาณาจักรด้วยการสง่ กองทัพไปสกัดทัพของเจ้าอนวุ งศ์แห่งเวียงจันทน์ ไมใ่ ห้ยกทพั เข้ามาถงึ ชานพระนครและขัดขวางไม่ให้เวยี งจันทน์เขา้ ครอบครองหัวเมืองอีสานของสยาม นอกจากนี้ พระองค์ทรง ประสบความสาเร็จในการทาใหส้ ยามกับญวนยตุ กิ ารสูร้ บระหวา่ งกนั เกย่ี วกับเรื่องเขมรโดยที่สยามไมไ่ ดเ้ สียเปรียบ ญวนแต่อย่างใด ดา้ นการคมนาคม ในรชั สมยั ของพระองค์ใช้ทางนา้ เป็นสาคัญ ทงั้ ในการสงครามและการคา้ ขาย คลองจงึ มีความสาคญั มากใน การย่นระยะทางจากเมืองหน่ึงไปอีกเมืองหนึ่ง จึงโปรดฯใหม้ กี ารขดุ คลองขึน้ เชน่ คลองบางขุนเทียน คลองบาง ขนาก และ คลองหมาหอน ด้านการทานุบารงุ พระพุทธศาสนา พระองคท์ รงเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนามาก และได้ทรงสร้างพระพทุ ธรูปมากมายเช่น พระประธานในอโุ บสถ วดั สทุ ัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร วัดเฉลมิ พระเกียรติ วดั ปรนิ ายก และวดั นางนอง ทรงสรา้ งวัดใหมข่ นึ้ 3 วดั คือ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร วดั เทพธิดารามวรวิหารและวัดราชนัดดารามวรวิหาร ทรงบรู ณปฏิสงั ขรณ์ วดั เก่าอีก 35 วัด เช่น วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ซึง่ สรา้ งมาแต่รชั กาลที่ 1 วดั อรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดราชโอรสา รามราชวรวิหาร เป็นตน้ ด้านการศึกษา ทรงทานุบารงุ และสนับสนนุ การศกึ ษา โปรดเกลา้ ฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท แต่งตารา เรียนภาษาไทยข้ึนเล่มหน่ึงคือ หนังสือจินดามณี โปรดเกลา้ ฯ ให้ผู้รู้นาตาราต่าง ๆ มาจารกึ ลงในศลิ าตามศาลารอบ พทุ ธาวาสวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร ปนั้ ต้งั ไว้ตามเขามอและเขยี นไวต้ ามฝาผนังต่าง ๆ มที ้งั อักษรศาสตร์ แพทยศาสตร์ พุทธศาสนศึกษา โบราณคดี ฯลฯ เพือ่ เป็นการเผยแพร่วิชาการสาขาต่าง ๆ จงึ อาจกลา่ ว ไดว้ ่า วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลารามเปน็ มหาวิทยาลยั แหง่ แรกของกรงุ สยาม

พระราชกรณยี กจิ (ต่อ) ดา้ นสงั คมสงเคราะห์ พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ดแู ลทกุ ข์สุขของราษฎร ด้วยมพี ระบรมราชวินจิ ฉัยว่า ไม่ทรงสามารถจะบาบดั ทุกข์ ให้ราษฎรได้ หากไมเ่ สด็จออกนอกพระราชวงั เพราะราษฎรจะรอ้ งถวายฏกี าได้ตอ่ เมอ่ื พระคลังเวลาเสดจ็ ออกนอก พระราชวังเท่าน้ัน จึงโปรดให้นากลองวนิ ิจฉัยเภรีออกตง้ั ณ ทมิ ดาบกรมวงั ในพระบรมมหาราชวัง เพอื่ ราษฎรผู้มี ทกุ ข์จะไดต้ ีกลองร้องถวายฎกี าไปทลู เกล้าทลู กระหม่อมถวาย เพ่อื ให้มกี ารชาระความกันตอ่ ไป โดยพระองคจ์ ะคอย ซักถามอยเู่ นื่อง ๆ ทาใหต้ ุลาการ ผทู้ าการพิพากษาไม่อาจพลิกแพลงคดีเป็นอน่ื ได้ ในรชั สมยั ของพระองค์ได้มีมิชชันนารีชาวอเมรกิ นั และชาวอังกฤษเดินทางเขา้ มาเผยแพร่ศาสนาครสิ ต์เพ่มิ มาก ขึ้น หน่งึ ในจานวนน้ีคอื ศาสนาจารย์ นายแพทย์แดน บชี บรดั เลย์ หรือที่คนไทยรจู้ กั กนั ดใี นนาม \"หมอบรัดเลย\"์ ได้ เป็นผ้รู ิเรม่ิ ใหม้ กี ารปลูกฝปี ้องกันไขท้ รพิษ และการฉีดวคั ซีนป้องกันอหิวาตกโรคและการทาผ่าตัดขึ้นเปน็ ครัง้ แรกใน กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ นอกจากนห้ี มอบรัดเลย์ยงั ไดค้ ิดตวั พมิ พ์อักษรไทยข้ึน (ปี พ.ศ. 2379) ทาให้มกี ารพมิ พ์หนงั สือ ภาษาไทยเป็นคร้งั แรกโดยพมิ พค์ าสอนศาสนาคริสตเ์ ป็นภาษาไทย เมอ่ื วนั ท่ี 26 ตุลาคม พ.ศ. 2379 ตอ่ มาปี พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลยพ์ มิ พป์ ฏิทนิ ภาษาไทยขึน้ เปน็ ครงั้ แรก ในดา้ นการหนงั สอื พมิ พ์ฉบับแรกในสมยั รชั กาลที่ 3 หมอบรัดเลยไ์ ด้ออกหนังสือพมิ พ์แถลงข่าวรายปกั ษเ์ ป็น ภาษาไทย ชือ่ บางกอกรคี อร์เดอร์ (Bangkok Recorder) มีเรอ่ื งสารคดี ขา่ วราชการ ขา่ วการคา้ ข่าวเบ็ดเตล็ด ฉบับแรกออกเมือ่ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2387 หนังสอื บทกลอนเลม่ แรกทีพ่ ิมพ์ขายและผ้เู ขยี นได้รับค่าลขิ สิทธิ์คอื นิราศลอนดอน ของหม่อมราโชทัย (หมอ่ ม ราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) โดย หมอบรดั เลย์ ซ้อื กรรมสทิ ธิ์ไปพมิ พใ์ นราคา 400 บาท เม่อื วนั ท่ี 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2404 และตีพมิ พ์จาหน่ายครัง้ แรกเมอื่ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404

พระราชกรณยี กิจ (ตอ่ ) ดา้ นการคา้ กับต่างประเทศ พระองค์ทรงสนบั สนนุ สง่ เสริมการคา้ ขายกับตา่ งประเทศ ทั้งกบั ชาวเอเชยี และชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างย่งิ การค้ากบั จนี มาตัง้ แต่เม่ือครงั้ พระองคท์ รงดารงพระอสิ รยิ ศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดนิ ทร์ สง่ ผลให้พระคลังสินค้ามี รายได้เพ่มิ มากขนึ้ นอกจากน้ี มีการแตง่ สาเภาท้งั ของราชการ เจ้านาย ขุนนางชัน้ ผู้ใหญ่ และพอ่ คา้ ชาวจนี ไปคา้ ขาย ยังเมอื งจนี และประเทศใกลเ้ คยี ง รวมถงึ การเปดิ ค้าขายกบั มหาอานาจตะวันตกจนมกี ารลงนามในสนธสิ ญั ญาระหว่าง กนั คอื สนธิสญั ญาเบอรน์ ี พ.ศ. 2369 และ 6 ปตี ่อมาก็ไดเ้ ปดิ สมั พนั ธไมตรกี บั สหรัฐอเมริกาและมกี ารทาสนธสิ ญั ญา ต่อกันใน พ.ศ. 2375 นับเปน็ สนธิสญั ญาฉบบั แรกท่ีสหรัฐอเมรกิ าทากับประเทศทางตะวนั ออกสง่ ผลใหไ้ ทยได้ผล ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ อยา่ งมาก ด้านศลิ ปกรรม เรอื สาเภาจีนทีว่ ดั ยานนาวา พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจา้ อยหู่ ัวโปรดเกลา้ ฯ ให้บูรณะปฏสิ งขรณพ์ ระปรางคว์ ดั อรุณราชวรารามจนแล้ว เสร็จ และทรงมีรับสง่ั ใหส้ รา้ งเรือสาเภากอ่ ดว้ ยอิฐในวดั ยานนาวา เพ่ือให้ประชาชนได้รวู้ า่ เรือสาเภานั้นมรี ปู รา่ ง ลักษณะอยา่ งไร เพราะทรงเลง็ เหน็ วา่ ภายหน้าจะไม่มกี ารสรา้ งเรือสาเภาอกี แลว้ สาหรับวรรณกรรม พระองค์โปรดเกลา้ ฯ ให้นกั ปราชญร์ าชบณั ฑิตจารึกวรรณคดีท่สี าคญั ๆ และวิชาแพทย์ แผนโบราณลงบนแผน่ ศลิ า แล้วติดไวต้ ามศาลารายรอบพระอโุ บสถ รอบพระมหาเจดียบ์ รเิ วณวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม เพื่อให้ประชาชนไดศ้ กึ ษาหาความรู้



เงนิ ถงุ แดง ทุนสารองของแผ่นดิน สายพระเนตรกว้างไกลของรชั กาลที่ 3 ในปี พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ. ๑๑๒) กรงุ เทพมหานครถูกยดึ ครองเปน็ เวลาถงึ ๑๒ วัน ด้วยกองเรือรบตดิ อาวธุ ของฝรง่ั เศส อยา่ งหมดหนทางต้านทานจากฝา่ ยไทย ชาวบา้ นร้านตลาดพากนั อพยพหนภี ัยกันดว้ ยความแตกตื่น ตกใจ แม้แตพ่ ระปยิ มหาราชยังทรงเสยี พระราชหฤทยั จนประชวรหนกั และหยดุ เสวยพระโอสถ ทรงส้นิ หวงั รันทดท้อ จากปากคาของเจา้ พระยาสุรศกั ด์ิมนตรี (เจิม แสงชูโต) วีรบุรุษนักรบผู้ถือดาบอาญาสิทธิข์ องพระปิยมหาราช เลา่ ถึงบรรยากาศอนั น่าสะพรึงกลัวระหว่างการระดมพลเพื่อปกปอ้ งพระนครไวเ้ ป็นครง้ั สุดทา้ ยก่อนถงึ กาหนดเส้นตาย เสน้ ตายน้ันคอื การตอบรับอย่างไม่มเี งอื่ นไขใน ๔๘ ชัว่ โมงตามข้อเรยี กร้องหนิ ของฝรงั่ เศส ในคาขาดน้ีมีคาข่มขอู่ ัน แขง็ กรา้ วปราศจากขอ้ ต่อรองใด ๆ ทัง้ สิ้น ใหท้ รงตดั สนิ พระทยั ชนดิ ท่ีไมม่ ีทางออก โดยใหม้ อบผืนแผ่นดนิ ในพระราช อาณาเขตบนฝ่งั ซ้ายของแมน่ า้ โขง พร้อมด้วยเงินคา่ ไถ่เปน็ คา่ ปฏิกรณ์สงครามทีฝ่ า่ ยไทยถกู กลา่ วหาว่ากอ่ ข้ึนก่อนโดย การเปิดฉากยิงเรอื ฝรงั่ เศส คดิ เปน็ เงินสดจานวนท้ังส้ินรวม ๕,๐๐๐,๐๐๐ ฟรงั ก์ พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชทรพั ย์สว่ นพระองคเ์ ป็นจานวนมากกอ่ นเสดจ็ ขึน้ ครองราชย์ เพราะนอกจากจะทรงจดั การค้าสาเภาหลวงแล้วยังทรงค้าสาเภาเป็นการส่วนพระองคด์ ้วย พระราชทรัพย์ เหลา่ นนั้ บรรจุไวใ้ นถงุ สีแดง เก็บไว้ในพระคลังขา้ งที่ และเงินถุงแดงนีแ้ หละท่ตี ่อมาได้ใชจ้ ่ายเปน็ ค่าไถ่จากความ เสียหายใหแ้ ก่ฝรั่งเศส หลักฐานเรือ่ งเงินถุงแดงไถเ่ มือง ตามที่หมอ่ มเจ้าหญงิ พูนพิสมยั ดศิ กุล นิพนธไ์ ว้ เงินเหรยี ญนกเม็กซิกนั “เงนิ ถุงแดง” ซ่งึ รัชกาลท่ี ๓ ตรัสว่า “ใหเ้ กบ็ ไวไ้ ถบ่ า้ นไถ่เมือง”

จดั ทาโดย: หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั นครสวรรค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook