46 ความรู้ความ เข้าใจท่ีลึกซ้ึง อันเป็นผลมาจากการสร้างความรู้ของผู้เรียนด้วยการทาความ เข้าใจหรือแปลความหมายในสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ท้ังหมดทุกแง่ทุกมุมตลอดแนว ด้วยวิธีการถามคาถามการ แสดงออก และการสะท้อนผลงาน ซ่ึงสามารถใช้ตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ในการตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนเกิดการเรยี นร้จู น กลายเปน็ ความรูค้ วามเข้าใจทีล่ ึกซ้ึงแล้วหรอื ไม่ ความเข้าใจ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ ผู้เรียนสามารถอธิบาย (Can explain) เร่ืองราวต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง มีหลักการ โดย แสดงให้เห็นถึงการใช้เหตุผล ข้อมูล ข้อเท็จจริง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ ประกอบในการอา้ งอิง เชือ่ มโยงกับประเดน็ ปัญหา สามารถคาดการณ์ไปสูอ่ นาคต • ผู้เรียนสามารถแปลความหมาย (Can interpret) เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมคี วามหมาย ทะลุปรุโปร่ง ตรงประเด็น กระจ่างชัด โดยอาจใช้แนวคิด ทฤษฎี เหตุการณ์ทาง ประวตั ศิ าสตร์ หรือมมุ มองของตนเองประกอบการตีความและสะท้อนความคิดเหน็ • ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ ความรู้(Can apply) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ เหมาะสมกับสถานการณ์ คลอ่ งแคลว่ ยดื หยนุ่ และสงา่ งาม • ผู้เรียนสามารถมองจากมุมมองท่ีหลากหลาย มองเห็น รับรู้ประเด็นความคิดต่าง ๆ (Have perspective) และตัดสินใจท่ีจะเช่ือหรือไม่เช่ือ โดยผ่านขั้นตอน การวิพากษ์ วิจารณ์ และมุมมองในภาพกว้างโดยมีแนวคิด ทฤษฎี ข้อมูล ข้อเท็จจริงสนับสนุนการ รบั รู้ น้นั ๆ • ผู้เรียนสามารถเข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน บอกคุณค่าในส่ิงต่าง ๆ ที่คนอื่นมองไม่เห็น (Can empathize) หรือคิดว่ายากที่จะเชื่อถือได้ ด้วยการพิสูจน์สมมติฐานเพ่ือทาให้ ข้อเท็จจริงน้ัน ๆ ปรากฏมีความละเอียดอ่อนที่จะซึมซับ รับทราบความรู้สึกนึกคิดของ ผู้เก่ยี วขอ้ ง • ผเู้ รียนรจู้ กั ตนเอง มีความตระหนกั รถู้ งึ ความสามารถทางดา้ นสติปัญญา วถิ ีชวี ติ นสิ ัย ใจคอ ความเป็นตัวตน ของตนเอง (Have self-knowledge) ซึ่งคือเบ้าหลอมความ เข้าใจ ความหยั่งรู้ในเร่ืองราวต่าง ๆ มีความตระหนักว่า มีส่ิงใดอีกที่ยังไม่เข้าใจ และ สามารถสะท้อนความหมายของสิ่งที่ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ ปรับตัวได้ รู้จัก ใคร่ครวญ และมคี วามเฉลยี วฉลาด ครผู สู้ อนสามารถใชต้ ัวชีว้ ดั ความรคู้ วามเข้าใจคงทน ทงั้ 6 ตัวช้วี ดั น้ี เป็นเครือ่ งมอื ในการกาหนด กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ละวธิ กี ารวดั ประเมินผลเรยี นร้วู า่ ผ้เู รยี นบรรลผุ ลการเรียนรตู้ รงตามทกี่ าหนดไวใ้ น มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด และเปา้ หมายหลักของการจัดการเรียนร้หู รือไม่ แนวทางการนิเทศเพ่อื พัฒนาและสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
47 การจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้ใู นหนว่ ยการเรียนรู้ แผนภาพ แสดงความสัมพนั ธ์ของหน่วยการเรียนรูส้ ูก่ ารจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ 10 ชั่วโมง 13 ช่วั โมง 15 ช่ัวโมง 8 ชั่วโมง 10 ชวั่ โมง จดั แบง่ เน้ือหาเวลา ทาแผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนท่ี 3 แผนที่ 4 แผนท่ี 5 1 ช่วั โมง 2 ชวั่ โมง 3 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง 2 ช่วั โมง แต่ละแผน 1.อะไรเป็นเป้าหมายสาหรบั ผ้เู รียนในการจดั การเรยี นร้คู ร้งั นี้ (Goal Setting) ตอ้ งตอบ 2. ทาอยา่ งไรผู้เรียนจึงบรรลุเปา้ หมาย (Instruction Plan) คาถาม… 3.ตดั สินใจอยา่ งไรว่า ผ้เู รยี นบรรลุเปา้ หมาย (Technical Evaluation) . จากแผนภาพ ภายหลังการออกแบบหน่วยการเรียนรู้เสร็จส้ิน เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรวางแผนจัดแบ่งเนื้อหาสาระ เวลา ให้ครอบคลุมหน่วยการเรียนรู้ จากน้ัน นามาจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลา และการพัฒนาผู้เรียน ในการจัดทาแผนการ จัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้องกาหนดเป้าหมายสาหรับผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ โดยสามารถกาหนดเป็น จุดประสงค์การเรียนรู้ของแผนการเรียนรู้น้ัน ๆ ซ่ึงจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ต้อง นาพาผู้เรียนไปสู่มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่กาหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ จากน้ันต้องกาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ครูควรใช้เทคนิค/วิธีการสอนท่ีหลากหลาย โดยพิจารณาเลือกนากระบวนการเรียนรู้ท่ีจะพัฒนาให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ ท่ีเน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ซงึ่ สามารถนากระบวนการเรยี นรดู้ งั ต่อไปน้ีมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับธรรมชาตวิ ิชา เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้าง ความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม ฯลฯ รวมท้งั ให้ศึกษาการนาเทคนิควิธีการสอนมาใช้ในการ แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้
48 จัดการเรียนรู้ด้วย และในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องรู้จักเลือกใช้ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน มาใช้ในการจัดกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ส่ือท่ีนามาใช้ต้องกระตุ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยไม่ยดึ สอ่ื ใดสือ่ หนงึ่ เปน็ หลักในการจัดการเรยี นรู้ ทัง้ นี้ กจิ กรรมในแตล่ ะแผนการจัดการเรยี นรู้ตอ้ งส่งเสริมและพัฒนาให้ผูเ้ รียนมีความสามารถ ที่จะทาชิ้นงาน/ภาระงาน เม่ือครบทุกแผนการจัดการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้น้ัน ๆ ผู้เรียนต้องสร้าง ช้ินงาน/ภาระงานของหน่วยการเรียนรู้ได้ นอกจากน้ีในการจัดการเรียนรู้ต้องกาหนดว่าจะใช้เคร่ืองมือใดวัด และประเมินผลผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนด ดังนั้น ในการวัดและประเมินผลครูผู้สอนต้องประเมนิ ผู้เรียนตลอดการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้เคร่ืองมือที่เหมาะสมกับลักษณะกิจกรรมและส่ิงท่ีต้องการวัด นอกเหนอื จากการประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตาม ที่โรงเรียนกาหนด โดยควรมีองค์ประกอบหลักท่ีสาคัญ คือ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การ เรียนรู้ สาระสาคัญ สาระการเรยี นรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน เจตคติ/คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ ภาระงาน/ชน้ิ งาน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล บันทึก ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ ความคดิ เห็นของผบู้ รหิ ารโรงเรียน และภาคผนวกแนบทา้ ยแผนการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการนิเทศเพือ่ พัฒนาและสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
สว่ นที่่4 การนิเทศเพื่อพฒั นาและสงเสรมิ การจดั การเรียนร้เู ชงิ รกุ ่(Active Learning) กรอบแนวคิดการนเิ ทศ่ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก่(Active Learning) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้น พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ทักษะ เชื่อมโยงและ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาหรือ ประกอบอาชพี ในอนาคต สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ หรอื สรา้ งสรรค์ส่งิ ตา่ งๆ มที ักษะการคิดเชิง ระบบและพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ โดยในหลักการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูต้องลดบทบาทในการ สอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรง แต่ไปเพ่ิมกระบวนการและกิจกรรมท่ีจะทาให้ผู้เรียน เกิดควา ม กระตือรือร้นในการจะทากิจกรรมต่างๆ มากขึ้นและอย่างหลากหลาย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน ได้มีโอกาสร่วมอภิปราย มีโอกาสฝึกทักษะการสื่อสาร มีการนาเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์ จาลอง รวมทั้ง มีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง มีการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ต่าง ๆ จนเกิดเป็นการเรียนรู้อย่าง มีความหมาย (Meaningful Learning) การนิเทศการจัดการเรยี นรู้ การนิเทศการจัดการเรียนรู้หรือการนิเทศการสอน เป็นเร่ืองย่อย (subset) ของการนิเทศ การศึกษา การนิเทศการสอนเป็นกระบวนการปรับปรุงงาน พันธกิจในช้ันเรียน และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดาเนินการในโรงเรียน โดยเป็นการทางานโดยตรงกับครูผู้สอน การนิเทศการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารงานโรงเรียน จุดมุ่งหมายจะเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นความคาดหวังของ โรงเรียน การนเิ ทศการเรียนรู้ ไม่ใชห่ น้าที่ของศึกษานเิ ทศกเ์ พยี งฝ่ายเดียว แต่เปน็ หน้าท่ขี องผู้นาในการจัดการ เรียนสอนทุกคน นับต้ังแต่ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้เช่ียวชาญด้าน การสอน ตลอดจนครูทุกคน ซึ่งต้องช่วยกันรับผิดชอบเพ่ือช่วยให้โรงเรียนบรรลุเป้าหมายตามท่ีหลักสูตร กาหนดไว้ การนิเทศการจัดการเรยี นรู้ สง่ เสริมใหเ้ กดิ การพัฒนาทางวิชาชีพ ดงั นี้ 1. ช่วยให้ครูเข้าใจวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา หน้าที่ของโรงเรียนในการพัฒนา การศึกษาไปสู่วัตถุประสงค์นั้น ภารกิจของศึกษานิเทศก์ และผู้บริหาร มิใช่คอยเน้นแต่เรื่องเทคนิคและ การสอน การคิดค้นระเบียบวิธีสอนเท่าน้ัน หากแต่ยังต้องมุ่งเสริมสร้างความเจริญเติบโตของนักเรียนโดย รอบด้าน คือ ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านสุนทรียภาพ ด้านมโนภาพ และด้าน สร้างสรรคด์ ้วยเหมือนกัน 2. ช่วยให้ครูได้เขา้ ใจในความต้องการของเยาวชนและปญั หาต่าง ๆ ของเยาวชน และชว่ ยจัด สนองความต้องการของเยาวชนอย่างดีท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ ตลอดจนช่วยแก้ไข และป้องกันภัยอันจะพึงมีแก่ เยาวชน ช่วยให้ครูตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก ความต้องการของเด็กในแต่ละวัยย่อม แตกต่างกัน แนวความคิดของเด็กและผู้ใหญ่มักจะเดินสวนทางกันเสมอ เพราะผู้ใหญ่เองก็ลืมสภาพของตน เม่ือตอนเป็นเด็ก ผู้นิเทศจะต้องพยายามช่วยกระตุ้นเตือนให้ครู รู้จักให้กาลังใจแก่เด็กนักเรียน เข้าใจปัญหา ของเด็กวัยตา่ ง ๆ และเข้าใจความตอ้ งการของเด็กดว้ ย แนวทางการนิเทศเพอื่ พฒั นาและส่งเสรมิ การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้
50 3. ช่วยสร้างครูให้มีคุณลักษณะเป็นผู้นา ลกั ษณะผนู้ าที่ดีคือชว่ ยเสริมสรา้ งความสามัคคี ร้จู ัก ทางานร่วมกัน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน มีความรับผิดชอบมีความเพียรพยายาม ทางานในหน้าท่ใี หส้ าเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี นอกจากนี้ ครตู อ้ งมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 3.1 ปรัชญาการศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั การศกึ ษา 3.2 หลักสูตรและประมวลการสอน 3.3 พฒั นาการของเดก็ และจติ วทิ ยา 3.4 วธิ สี อน 3.5 ประเมินผล 3.6 บริหารการศกึ ษาและนเิ ทศการศกึ ษา 4. ช่วยเสริมขวัญ กาลังใจของครูให้เข้มแข็ง และรวมหมู่คณะให้เป็นทีม เพื่อปฏิบัติงาน ร่วมกันด้วยกาลังสติปัญญา เพ่ือบรรลุจุดประสงค์เดียวกัน ขวัญและกาลังใจเป็นเร่ืองของจิตใจ ด้านปรับปรุง การสอนและส่งเสริมความเจริญงอกงามของครู 5. ช่วยพิจารณาความเหมาะสมของงานให้ตรงกับความสามารถของครูแต่ละคน เม่ือมอบ งานน้ัน ๆ ใหค้ รู กค็ วรชว่ ยประคบั ประคองให้ครูผ้นู ั้นใช้ความสามารถของตนปฏิบัติงานให้กา้ วหนา้ ชว่ ยคน้ หา คุณลกั ษณะท่ดี ีเด่นในตัวครแู ล้วสง่ เสริมให้ดียงิ่ ขึน้ 6. ช่วยครูให้พัฒนาการสอนของตน สนับสนุนให้ครูได้พิจารณาวิธีสอนและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีใช้ว่าตรงไหนเข้มแข็ง และตรงไหนเป็นจุดอ่อนซึ่งจะต้องแก้ไข อันอาจใช้ Check List หรือ Rating form โดยอาศยั หลักเกณฑ์วชิ าหลักการสอน ส่วนการเลือกเนื้อหา การสร้างโครงการสอน การทาและการใช้อุปกรณ์ การสอน ตลอดจนเครื่องมือโสตทัศนศึกษา และส่ือการสอน การใช้ทรัพยากรให้เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ การให้งานและการควบคมุ น้นั มขี ้อควรระวงั ดังนี้ 6.1 ไม่พยายามยัดเยียดความคิดเห็นแก่ครู ไม่พยายามฝืนให้ครูทาตามแบบท่ีตนชอบ เพราะครูแต่ละคนต่างมีความคิดเห็นเป็นของตน และมีแบบอย่างการทางานตามแบบของตนเอง ผู้นิเทศจึง ควรทางานรว่ มกับครโู ดยใหค้ รูไดร้ ูจ้ กั ใชค้ วามสามารถของตนเองเป็นสาคัญ 6.2 หลีกเล่ียงการกรอกคาแนะนาจานวนมาก ในการพัฒนาปรับปรุงการสอน จนครูรับ ไมไ่ หว คอื ท้ังมากและยาก 7. ช่วยฝึกครูใหม่ให้เข้าใจงานในโรงเรียน และงานอาชีพครู ครูใหม่แม้จะได้รับการฝึกอบรม ทางวิชาการมาเป็นอย่างดี แต่ยังขาดประสบการณ์ในงานธุรการต่าง ๆ การช่วยฝึกครูใหม่ อาจจะทาก่อน โรงเรยี นเปิด ทัง้ ดา้ นธรุ การ และการปกครองชัน้ รวมท้ังดา้ นสงั คมและการทางานรว่ มกัน 8. ชว่ ยประเมินผลงานของครู โดยอาศัยความเจรญิ งอกงามของเด็กไปตามแนวทางท่ีได้ตกลง กันไว้ การประเมินผลงานของครูมีหลักเกณฑ์ เช่น บันทึกการสังเกตหรือสังเกตในเวลาท่ีครูเข้าประชุม หลักฐานการแสดงความคิดริเร่ิม การวางตน ความขยันหมั่นเพียร ทัศนคติปริมาณ และคุณภาพของงาน เป็น ต้นแบบให้ครูวัดตนเอง หรือนักเรยี นวัดครใู นด้านการสอนความมุง่ หมายในการวดั ผลเพอื่ จะได้ทราบว่า 8.1 อะไรบ้างท่กี ้าวหนา้ และกา้ วหน้าไปในระยะใด 8.2 อะไรบา้ งทห่ี ยุดน่งิ 8.3 อะไรบ้างทถี่ อยหลัง ทั้งข้อ 8.2 และ 8.3 นามาวิเคราะห์มูลเหตุ หาทางแก้ไข แต่ละมูลเหตุเพ่ือให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้น ตามลาดับ การนเิ ทศเพือ่ พัฒนาและสง่ เสริมการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้
51 9. เพ่ือช่วยครูค้นหาปัญหาในการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคน ช่วยครูวางแผนการสอนให้ เหมาะสม ในการสอนคร้ังหนึ่ง ๆ การเรียนรู้ของเด็กในวิชาเดียวกัน ครูสอนอย่างเดียวกัน การเรียนรู้ย่อม แตกตา่ งกนั เป็นคน ๆ ไป เด็กท่ีเรยี นรไู้ ด้น้อยกว่าเด็กสว่ นมากนน้ั เป็นเพราะอะไร ครูบางคนมองหาจุดแตกต่าง นี้ไม่พบ หรือบางทีก็ปล่อยปัญหาของเด็กผ่านไปโดยไม่คิดจะหาวิธีแก้ไข สิ่งนี้ผู้นิเทศต้องช่วยครูร่วมกันวาง แผนการสอนและแก้ไขปญั หาใหเ้ หมาะสม 10. ช่วยในด้านประชาสัมพันธ์ บอกเล่าและช้ีแจงให้ชุมชนและท้องถ่ินทราบถึงความ เคล่ือนไหวของการศึกษาท่ีโรงเรียนได้ดาเนินการไปแล้ว ท้ังนี้ เพื่อให้สร้างความเข้าใจ และให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือโรงเรยี น การประชาสัมพนั ธ์อาจจะเปน็ ได้ทัง้ การติดต่อเป็นสว่ นตัว การเยีย่ มเยียน การกฬี า อาศัยวัด (พระ) การจัดตั้งสมาคมครู-ผู้ปกครอง จัดปาฐกถา ห้องสมุดประชาชนเม่ือชุมชนเข้าใจกิจกรรมต่าง ๆ ที่ โรงเรียนจัดข้ึน เพ่ือความเจริญงอกงามของบุตรหลานแล้ว ก็จะเกิดศรัทธา ให้ความร่วมมือทั้งกาลังใจ กาลัง กาย และกาลงั ทรัพย์ 11. ช่วยป้องกันครูให้พ้นจากการถูกใช้งานจนเกินขอบเขต และช่วยป้องกันครูจากการถูก ตาหนิติเตียน หรือถูกลงโทษอย่างไม่เป็นธรรม หน้าท่ีของครูนอกจากหน้าท่ีทางการสอนแล้ว ยังจะต้องให้ ความช่วยเหลืองานอ่ืน ๆ หากการทางานนั้นโดยสมัครใจก็ไม่สู้มีปัญหา ถึงกระนั้นก็อาจทาให้เสียเวลาที่จะ ปฏิบตั ิงานสอนเด็กและทรุดโทรมทงั้ กาลงั วังชา ทาใหก้ ารทางานประจาคอื งานสอนพลอยบกพรอ่ งไปดว้ ย การนเิ ทศการเรียนรู้ มีความสาคญั และสนับสนุนการพฒั นาครู โดยมีวตั ถุประสงค์สาคญั ดงั นี้ 1. การส่งเสรมิ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางอาชีพ ได้แก่ 1.1 การประชมุ ตา่ ง ๆ การจัดอบรม สมั มนา และจัด Workshop 1.2 การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ครูได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์ในด้านวิชาการและ ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การแลกเปล่ยี นความคดิ ทางการศกึ ษา 1.3 การไปเยีย่ มชมสถาบันอ่นื ๆ และศนู ย์ฝกึ ทดลองตา่ ง ๆ 1.4 ทาการทดลองหลกั สตู ร หนังสือเรียน และวธิ ีสอน 2. การสง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ ในการพัฒนาอาชพี ของครู ได้แก่ 2.1 ให้ครูไดม้ โี อกาสศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติมอย่เู สมอ 2.2 ให้ทดลองกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ผี ู้สนใจอยากจะทา 2.3 ให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมต่าง ๆ ที่เก่ียวกับอาชีพ (Professional Association) เพ่ือส่งเสริมให้ครูสนใจในกิจกรรมของสมาคมอาชีพครูเหล่านั้น ทั้งภายในประเทศและนานา ประเทศ 2.4 ส่งเสรมิ ครทู มี่ คี วามสามารถพเิ ศษในทางใดทางหน่งึ โดยเฉพาะ 3. การปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการสอนของครู ได้แก่ 3.1 พจิ ารณาคัดเลือกครูท่ีมีคณุ ภาพเขา้ ทาการสอน 3.2 มอบหมายงานที่ตรงกบั ความสามารถของครู 3.3 ทาการสาธติ การสอนทีด่ ีให้แกค่ รู 3.4 จัดให้มีโอกาสได้สังเกตการสอน ประชุม สัมมนา เพ่ือศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกย่ี วกับการสอน สง่ เสริมการแลกเปลย่ี นครแู ละสงั เกตการสอนระหว่างโรงเรียน จุดมุ่งหมายปลายทางของการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ควรเป็นการนิเทศครูในห้องเรียน โดยตรง การนเิ ทศเพ่อื พัฒนาและสง่ เสริมการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้
52 วตั ถุประสงคข์ องการนเิ ทศ่่ 1. เพอื่ พัฒนาความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) 2. เพื่อพัฒนาการออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) 3. เพอ่ื สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูผสู้ อนจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามทีอ่ อกแบบ ไว้ ไปใชใ้ นชั้นเรียนมากข้ึน ประเดน็ การนเิ ทศ่่ 1. องค์ความร้เู กยี่ วกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) 2. การออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) 3. การจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) กระบวนการนิเทศ ่่ 1.่การเตรียมการนิเทศ 1.1 สารวจข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการนิเทศ 1) ขอ้ มูล สารสนเทศ และสงิ่ อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เช่น หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั ิการ วสั ดอุ ุปกรณ์ หอ้ งสมดุ รวมถงึ แหลง่ เรยี นรู้ท้ังในและนอกสถานศกึ ษา 2) ข้อมูลและสารสนเทศท่เี กี่ยวกบั ผู้เรยี น เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT / O-NET) 3) ข้อมูลและสารสนเทศที่เก่ียวกบั ครู เชน่ จานวนครู คุณวุฒกิ ารศึกษา ตาแหน่ง หน้าท่ี รายวชิ าทส่ี อน ผลงานทางวชิ าการ การจัดแผนการเรียน/ช้นั เรียน สื่อ อปุ กรณก์ ารสอน แหล่งข้อมูลเรียนรู้ 4) ข้อมูลด้านการจัดการเรียนรู้ เช่น ลักษณะและวธิ ีการสอน ตารางสอน การมสี ่วนร่วม ของนักเรียน การใชต้ าราเรียน สือ่ การสอน การประเมินผลการเรยี นการสอน การรายงานผลการเรยี น การสอนซ่อม เสริม วธิ แี ละการใชเ้ คร่ืองมือประเมิน 1.2 องคค์ วามรู้เกีย่ วกบั การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) เพื่อนาไปใช้ในกระบวนการ นเิ ทศ ตดิ ตาม ซ่ึงมีองค์ความรู้ 4 ประเดน็ ดังนี้ ประเด็นที่่1่นโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานและ เป้าหมายของการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก ประเด็นท่ี่ 2 การบรหิ ารจดั การ การเรียนรเู้ ชิงรุก ประกอบด้วย 1) สารสนเทศ ด้านการจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 และนวตั กรรมตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2) รปู แบบ/วธิ ีการ/กระบวนการ/ขัน้ ตอน/ เทคนคิ เกี่ยวกบั การจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู ชงิ รุก และ 3) การสง่ เสริม สนับสนนุ ครูในการจดั การเรียนรูเ้ ชงิ รกุ ประเด็นท่่ี 3 แนวทางการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 1) การเลอื กกิจกรรม รูปแบบ วิธีการท่ีสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก เพอ่ื บรู ณาการในแผนการเรยี นรู้ โดยใช้ ส่อื เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรูท้ ี่หลากหลาย เพื่อกระตนุ้ ผู้เรียนอยา่ ง เหมาะสม 2) การเสริมสร้างสมรรถนะและทกั ษะทจ่ี าเปน็ สาหรับผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 เช่น ทักษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ิต และทกั ษะวิชาชพี 3) การวดั และประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) ประเด็นท่่ี 4 การสังเกตชัน้ เรียน ประเด็นการจดั การเรียนรู้เชิงรุก การนิเทศเพอ่ื พฒั นาและส่งเสริมการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
53 ่่ 2.่การวางแผนการนิเทศ การวางแผนการนเิ ทศเพ่อื พฒั นาและสง่ เสริมการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) มดี ังน้ี 2.1 ประชุมผู้เก่ียวข้อง เชน่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ผู้บริหารสถานศกึ ษา หัวหน้างานวชิ าการ ของโรงเรียน และครผู ูส้ อน 2.2 จดั ทาปฏทิ นิ การนิเทศ แผนการนเิ ทศ สื่อ เครื่องมือนิเทศ 2.3 ดาเนนิ การนเิ ทศ โดยใช้เทคนคิ การนเิ ทศหลากหลาย เช่น เทคนิคการนเิ ทศตาม สถานการณ์ เทคนคิ การนิเทศแบบชี้แนะสะท้อนคิดและเป็นพ่เี ลย้ี ง (Reflective Coaching and Mentoring) เทคนิคการนเิ ทศแบบสนทนากลมุ่ เทคนิคการสอนแนะ (Coaching Techniques) เทคนิคการ นเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร 2.4 กาหนดระยะเวลานิเทศ ภาคเรียนละ 2 ครง้ั หรอื ตามความเหมาะสม 3.่การดาเนนิ การนเิ ทศ่ เริ่มด้วยการเตรยี มความพรอ้ ม พัฒนา สร้างส่ือและเคร่ืองมือนเิ ทศ ตามหลักการสาคัญ ในการจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ โดยเน้นกระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ดังน้ี กจิ กรรมการนิเทศ วัตถปุ ระสงค์ เอกสารประกอบการนิเทศ/่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ สอื่ ่เครอื่ งมือนิเทศ 1.ประชมุ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ 1. เพ่ือสร้างทมี งานนิเทศ ศึกษานิเทศก์ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น รอง 2. เพือ่ สร้างความเขา้ ใจ และ 1. เอกสารเกี่ยวกบั องคค์ วามรูใ้ นการจัด ผูอ้ านวยการฝ่ายวชิ าการของโรงเรียน ขอ้ ตกลงรว่ มกันระหว่างผู้นเิ ทศ กับ กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ /หวั หน้างานวิชาการ หัวหนา้ กลมุ่ ผ้รู ับการนเิ ทศในการสง่ เสริมและ 2.เอกสารนโยบายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สาระการเรยี นรู้ และครูผสู้ อน พฒั นาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ 2.นิเทศเพอ่ื สร้างความเข้าใจแก่ 1. เพ่ือสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ 1. เอกสารเกี่ยวกับองคค์ วามรู้ในการจัด ครผู สู้ อน (อาจใช้กิจกรรมนเิ ทศ/ เกยี่ วกับการจดั ทาหน่วยการเรียนรู้/ กิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรุก วิธกี ารท่ีหลากหลาย เช่น ประชมุ แผนการจดั การเรียนรู้ทใ่ี ช้ 2. เอกสารหนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจดั การ ชี้แจง บรรยาย สมั ภาษณ์ ระดม กระบวนการ Active Learning เรยี นรทู้ ่ใี ช้ Active Learning และตวั อยา่ ง ความคดิ ตรวจสอบเอกสาร ) 2. เพ่ือสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจใน 3. แบบตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ โดยใชเ้ ทคนิคการนเิ ทศหลากหลาย การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กระบวนการ Active Learning 1. แบบบันทกึ การสงั เกตการจัดกจิ กรรมการ 3. สังเกตชั้นเรียน 1. เพื่อสังเกตการจัดกจิ กรรมการ เรียนรเู้ ชงิ รุก เรียนรู้ท่ีใช้ Active Learning 2. แบบประเมนิ ผลการดาเนนิ การจดั กิจกรรม `4. จดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย 2. เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหวา่ ง การเรยี นรู้เชิงรุก ใชก้ ระบวนการ PLC ผนู้ เิ ทศและผรู้ ับการนเิ ทศ 1. เอกสารหนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการ 1. เพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และ เรยี นรู้ท่ีใช้กระบวนการ Active Learning เสนอแนะแนวทางการจดั กิจกรรม 2. แบบบันทึกกจิ กรรมการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ การเรยี นรูท้ ใี่ ชก้ ระบวนการ Active 3.ตวั อย่างผลงาน ท่ปี ระสบผลสาเร็จ Learning การนิเทศเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้
54 4.่การแลกเปลยี่ นเรียนรู่้ /่นาเสนอผลงานครู จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาเสนอผลงานทสี่ ะท้อนการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) ของครูโรงเรยี นในเขตพื้นที่ ท้ังน้ี อาจจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรใู้ นภาพรวม ร่วมกับ กิจกรรมทางวิชาการอืน่ ๆ ตามบริบทและความพร้อมของแต่ละเขตพน้ื ท่ี 5.่การสรุปและรายงานผล สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สรปุ และรายงานผลการนเิ ทศ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงรกุ (Active Learning) อย่างเป็นระบบ ประเดน็ ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนนิ งาน รวมถงึ ความพงึ พอใจ ในการดาเนินงานของโรงเรยี นและการนิเทศ ตัวอย่างสว่ นประกอบของเอกสารสรุปและรายงานผลการนิเทศ ดงั นี้ สวนท่ี่ 1 สวนนา 1.1 ปกนอก 1.2 ปกใน / ใบรองปก 1.3 คานา / กิตติกรรมประกาศ 1.4 บทคัดย่อ 1.5 สารบญั / เรอื่ ง / ตาราง / แผนภาพ สวนท่่ี 2 สวนเน้อื หา 2.1 บทนา ความสาคัญ ความเป็นมา และการวิเคราะหบ์ ริบท วตั ถุประสงค์ ขอบเขตการดาเนนิ งาน นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 2.2 การศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง แนวคดิ ทฤษฎี หลักการ งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กรอบแนวคดิ การพัฒนางาน 2.3 วธิ ีดาเนินการ ประชากร / กลมุ่ เปา้ หมายและกลุ่มตัวอยา่ ง เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการดาเนินงาน / พัฒนางาน - การสรา้ งรปู แบบ เทคนิค วิธีพัฒนางาน - การสรา้ งเครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การดาเนนิ การ และการเก็บรวบรวมขอ้ มูล - การปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ ติดตาม - การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ 2.4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การนเิ ทศเพือ่ พัฒนาและสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้
55 2.5 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 2.6 การจัดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการสร้างเครือข่าย การขยายผลและต่อยอด สวนที่่3 สวนอา้ งอิง 3.1 บรรณานกุ รม 3.2 ภาคผนวก รายชอ่ื ผู้เชยี่ วชาญ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการดาเนินงาน การศกึ ษาคณุ ภาพของเครื่องมือ การเผยแพร่ แลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ขยายผล ตวั อย่างผลงาน 3.3 คณะกรรมการดาเนินงาน เครอ่ื งมือบันทึกการนิเทศ 1. แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) ่ 2. แบบบันทึกการสงั เกตการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ่ 3. แบบประเมนิ ผลการดาเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ่ 4. แบบบนั ทึกกจิ กรรมการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ่ ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ่ รอ้ ยละ 70 ของจานวนครผู สู้ อนแตล่ ะโรงเรยี น ไดร้ ับการนิเทศ ตดิ ตาม เรื่องการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ตวั อยางเคร่ืองมือนิเทศการจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รุก่(Active Learning) เพือ่ ขับเคล่ือนนโยบาย่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ ลดเวลาเรยี น่เพิ่มเวลารู้ เครอื่ งมือที่ใช้ในการนเิ ทศเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ อาจใช้เคร่ืองมือ ดงั ต่อไปน้ี 1. แบบตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรู้ (การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก : Active Learning) 2. แบบบันทกึ การสงั เกตการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) 3. แบบประเมินผลการดาเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ (Active learning) 4. แบบบันทกึ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กจิ กรรม การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) การนเิ ทศเพื่อพฒั นาและส่งเสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้
56 ตวั อยางท่ี่1่ แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้่ (การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก : Active Learning) แผนการจดั การเรยี นรู้ท่.ี ........ เรื่อง....................กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวชิ า......................ช้นั .................... ชือ่ ครูผู้สอน....................................................โรงเรียน....................................................... ่คาชแี้ จง แบบตรวจสอบแผนการจดั การเรยี นรู้ ฉบบั นี้ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือให้ศึกษานิเทศก์/ผู้นเิ ทศพจิ ารณา ความเหมาะสม และความสอดคล้องขององคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ที่เน้นการจดั การเรียนรู้ เชิงรุก แบง่ เปน็ 2 ตอน คอื ตอนท่่ี 1่แบบตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู่้ เป็นการพจิ ารณา/ตรวจสอบ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของแผนการจัดการเรยี นรู้วา่ มีความเหมาะสมเพียงใด ตอนท่ี่ 2่แบบตรวจสอบความสอดคล้องของแผนการจดั การเรยี นรู้ เปน็ การพิจารณา/ตรวจสอบ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของแผนการจดั การเรยี นรวู้ า่ มคี วามสอดคล้องกนั เพยี งใด ตอนท่ี่1่แบบตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก่(Active Learning)่่ ่่โปรดทาเคร่อื งหมาย / ในช่องระดับความเหมาะสมทตี่ รงกับความคิดเห็นของท่าน และ เขยี นข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกต่อไป ข้อที่ รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ 321 1 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคญั ครบถ้วน ตามแบบทก่ี าหนด 2 การเขียนสาระสาคัญในแผนการจดั การเรยี นรู้ 3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ระบุพฤติกรรมชดั เจน สามารถวัดได้ 4 สาระการเรียนรู้ครบถว้ น สัมพนั ธ์กบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 5 กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม ใช้กระบวนการจัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ ในทุกขั้นตอน หรือใช้เทคนิคการสอนท่ีระบุไวใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้ 6 การวัดผล ประเมนิ ผลใช้วธิ ีการวัด ประเมินท่หี ลากหลาย ชัดเจน 7 เครื่องมือที่ใช้วัดผล ประเมนิ ผลเหมาะสม มรี ะบไุ ว้อยา่ งชดั เจน 8 มีการกาหนดเกณฑก์ ารประเมินผลไว้อย่างชดั เจน 9 ระบกุ ารใช้สอื่ /แหลง่ เรยี นร้สู มั พันธ์สอดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรียนรู้ 10 มีหลกั ฐานการเรยี นรู้ ส่ือประกอบ เชน่ ใบกิจกรรม ใบความรู้ เคร่ืองมอื วัด ฯ ทีป่ รากฏในแผนการจดั การเรียนรูค้ รบถ้วน ขอ้ เสนอแนะอื่น่ๆ่ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ การนิเทศเพือ่ พฒั นาและสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้
57 เกณฑ์การประเมิน คาอธบิ ายระดบั คุณภาพของความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู่้ ขอ้ ที่ รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ 1 32 1 แผนการจดั การเรยี นรมู้ อี งคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบของ องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของ สาคญั ครบถ้วน ตามแบบท่ีกาหนด แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การ มคี รบถ้วน ตามแบบท่ี ไมค่ รบถ้วนตามแบบ เรยี นรไู้ มถ่ กู ตอ้ ง กาหนด ทกี่ าหนด ตามแบบทีก่ าหนด 2 การเขยี นสาระสาคญั ในแผนการจดั การ เขยี นสาระสาคญั เขียนสาระสาคัญ เขียนสาระสาคญั เรยี นรู้ ถกู ต้อง ชัดเจน และ ถูกต้อง แต่ ไม่ถกู ตอ้ งและ ครอบคลมุ ไม่ครอบคลมุ ไมช่ ัดเจน 3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูร้ ะบพุ ฤตกิ รรม พฤติกรรมทรี่ ะบุใน ไมม่ ีความชดั เจนของ ไม่ได้ระบุ ชัดเจน สามารถวดั ได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ พฤติกรรมทรี่ ะบใุ น พฤตกิ รรมใน มคี วามชดั เจนสามารถ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงค์การ วดั ได้ และไม่สามารถวดั ได้ เรียนรู้ 4 สาระการเรียนรคู้ รบถ้วน สมั พันธ์กับ ระบสุ าระการเรยี นรู้ ระบุสาระการเรยี นรู้ ระบสุ าระการ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ครบถ้วน และสมั พันธ์ ไมค่ รบถว้ น เรียนรไู้ มค่ รบถว้ น กับจดุ ประสงคก์ าร และไม่สมั พนั ธ์กับ เรยี นรู้ จุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ 5 การวัดผล ประเมินผลใชว้ ธิ ีการวัด วธิ กี ารวดั ผล วธิ ีการวดั ผล วิธกี ารวัดผล ประเมนิ ทห่ี ลากหลาย ชัดเจน ประเมินผลชัดเจนทกุ ประเมินผลชัดเจนแต่ ประเมินผลไม่ พฤติกรรมทีต่ ้องการวดั ไม่ครบทกุ พฤตกิ รรม ชดั เจน และไม่ครบ ท่ีตอ้ งการวัด ทกุ พฤติกรรมที่ ตอ้ งการวดั 6 เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้วดั ผล ประเมินผลเหมาะสม เครอื่ งมือสาหรบั การ ระบุเครอื่ งมอื สาหรับ ไมไ่ ดร้ ะบเุ คร่ืองมือ มรี ะบไุ ว้อย่างชัดเจน วดั ผลประเมินผลมี การวดั ผลประเมนิ ผล สาหรับการวดั ผล ความชดั เจน แต่ไม่ชัดเจน ไม่ ประเมินผล สามารถวัดได้ 7 มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมนิ ผลมี ระบุเกณฑ์การ ไม่ได้ระบเุ กณฑ์ ไวอ้ ย่างชดั เจน ความชัดเจน ประเมินผล การประเมนิ ผล แต่ไมช่ ัดเจน 8 กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีความเหมาะสม ใช้ กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ี กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ี กิจกรรมการเรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active ความเหมาะสม ความเหมาะสม แตไ่ ม่ ไม่มีความเหมาะสม Learning) ครบถ้วนทกุ ขั้นตอน หรือ ครบถ้วนทกุ ข้นั ตอน ครบทุกขน้ั ตอนตามท่ี และไมค่ รบทุก เทคนคิ การสอนทีร่ ะบไุ วใ้ นแผนการจัดการ ตามท่ีระบใุ นแผนการ ระบุในแผนการ ขั้นตอนตามที่ระบุ เรียนรู้ จดั การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ในแผนการจัดการ เรียนรู้ การนเิ ทศเพอ่ื พฒั นาและสง่ เสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
58 ข้อที่ รายการประเมิน คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ 1 32 9 ระบุการใช้สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ สมั พนั ธ์ ระบกุ ารใชส้ อ่ื /แหลง่ ระบกุ ารใช้สือ่ /แหลง่ ไมไ่ ดร้ ะบกุ ารใช้ สอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรยี นรู้ สัมพนั ธ์ เรยี นรแู้ ตไ่ มส่ มั พันธ์ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ สอดคล้องกับกิจกรรม สอดคล้องกับกิจกรรม การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ 10 มีหลกั ฐานการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบ เช่น ใบ มหี ลกั ฐาน อาทิ สือ่ มีหลักฐาน อาทิ ส่ือ ไมม่ มี หี ลกั ฐานเช่น กจิ กรรม ใบความรู้ เครอ่ื งมอื วัด ฯ ท่ี ใบกิจกรรม ใบความรู้ ใบกจิ กรรมใบความรู้ สอื่ ใบกจิ กรรม ปรากฏในแผนการจดั การเรยี นรู้ ครบถ้วน เครื่องมอื วดั ฯ ท่ี เครอ่ื งมือวัด ฯ ใบความรู้ ปรากฏในแผนการ ท่ปี รากฏในแผนการ เครือ่ งมือวดั ฯ จดั การเรยี นร้คู รบถ้วน จัดการเรียนรแู้ ต่ไม่ ที่ปรากฏใน ครบถว้ น แผนการจดั การเรยี นรู้ ตอนท่ี่2่แบบประเมินความสอดคล้ององคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ่(Active Learning)่่ โปรดทาเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งทีต่ รงกับความคิดเหน็ ของท่าน ขอ้ ที่ รายการประเมิน สอดคลอ้ ง ไมแ่ น่ใจ ไม่ (1) (0) สอดคล้อง (-1) 1 การเขียนสาระสาคญั มีความสัมพันธส์ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การ เรยี นรู้ 2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้มคี วามสอดคล้องสัมพนั ธ์กับสาระการเรยี นรู้ 3 หลกั ฐานการเรียนร้มู คี วามสมั พนั ธ์ สอดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ าร เรยี นร/ู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ 4 วธิ กี ารวดั ผล ประเมินผลมคี วามสัมพนั ธก์ ับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะทส่ี าคัญของผูเ้ รยี น 5 เครื่องมือวดั ผล ประเมนิ ผล มคี วามสมั พนั ธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และสมรรถนะทีส่ าคญั ของผูเ้ รยี น 6 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความสมั พนั ธส์ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 7 สือ่ /อปุ กรณ/์ แหล่งเรียนรู้ มีความสัมพนั ธ์สอดคล้องกบั กิจกรรมการ เรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ ความสอดคล้องของแผนการจดั การเรยี นรู้ ค่าความสอดคลอ้ งตอ้ งมีคา่ ตั้งแต่ 0.50 ขนึ้ ไป คะแนนระหวา่ ง 24 – 30 ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนนระหวา่ ง 15 – 23 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนนระหวา่ ง 1 – 14 ระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรุง การนิเทศเพื่อพฒั นาและสง่ เสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
59 ตัวอยางท่่ี 2 แบบบนั ทกึ การสังเกตการจัดกจิ กรรมการเรียนร้เู ชิงรุก่(Active Learning) โรงเรียน............................................................................................................................. .................................. ชื่อผ้สู อน............................................................................................................................. ................................. กลมุ สาระการเรียนรู้/วชิ า....................................................................................ช้นั .......................................... วนั ท.ี่ ........................................................................เวลา ............................................... . 1.่การสังเกตการสอน การดาเนินการ ประเด็นการสังเกต ดา้ นการเตรียมการสอน 1. ออกแบบการเรยี นรู้ 2. จดั ทาหนว่ ยการเรียนร/ู้ แผนการจัดการเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกับ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู/้ จดุ ประสงค์การเรยี นร/ู้ การวัด และประเมนิ ผล 3. กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล 4. จัดเตรยี มสอ่ื นวตั กรรม วัสดุ-อุปกรณ์ ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. มีกิจกรรมนาเขา้ สู่บทเรยี นท่นี า่ สนใจ/กระตนุ้ ผู้เรียน 2. พฤตกิ รรมการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ หาความร/ู้ หาคาตอบดว้ ยตนเอง คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรคง์ าน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่อื มโยง กบั ชวี ติ จริง และนาไปประยุกต์ใช้ได้ มอบหมายงานให้เหมาะสม ตามศกั ยภาพของผูเ้ รยี น 3. การมอบหมายงานให้นักเรียนสรา้ งผลงาน/ช้นิ งาน/นวัตกรรม ด้านสื่อ่นวัตกรรม่และแหลงการเรียนรู้ 1. การใช้ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ 2. นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการใชส้ ื่อ และแหล่งเรียนรู้ 3. การใชส้ ือ่ และแหล่งการเรียนรู้ การนเิ ทศเพอ่ื พัฒนาและสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้
60 ประเดน็ การสงั เกต การดาเนนิ การ่ ดา้ นการวดั และประเมินผล 1. ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวดั และประเมินผล 2. มกี ารวดั และประเมินผลอย่างหลากหลาย ครอบคลุมตวั ชว้ี ดั / ผลการเรียนร/ู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3. ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการประเมินรวมทั้ง ผู้ปกครอง หรอื ผเู้ กยี่ วขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการประเมิน 4. แจ้งผลการประเมินใหน้ ักเรียนได้ทราบเพื่อการพฒั นา การสรุปผลการสอน 1. การบันทกึ ผลการสอน หลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2. การบนั ทึกความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา 2.่ขอ้ ค้นพบ/จุดเดนในการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.่การสะท้อนผลการสอน่่ ผู้นิเทศสะท้อนผลการสงั เกตการสอนให้กบั ครูผ้สู อน/ผ้เู ก่ยี วข้อง ตามประเด็นที่สงั เกตและข้อคน้ พบ ประเดน็ การสังเกตและข้อคน้ พบ แนวทางแก้ไขปัญหา ผรู้ ับการนิเทศ ลงช่ือ......................................................ผรู้ บั การนิเทศ ลงชือ่ .......................................................ครผู รู้ ่วมนิเทศ (......................................................) (.....................................................) ครู โรงเรยี น........................................................ ครโู รงเรียน......................................................... ลงช่อื ..........................................................ผู้นเิ ทศการสอน (..........................................................) ตาแหนง่ ............................................................. การนเิ ทศเพ่ือพฒั นาและส่งเสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
61 ตวั อยางที่่ 3 แบบประเมนิ ผลการดาเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชิงรุก่(Active learning) คาชีแ้ จง 1. แบบประเมนิ น้ี ใช้สาหรบั การนเิ ทศ ติดตาม การจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active learning) เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และเตมิ คา 2. แบบประเมินนี้ เป็นส่วนหน่ึงของเครื่องมือเพ่ือการนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active learning) 3. โปรดทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทีต่ รงกบั ความจริง ตอนท่่ี ่ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบ 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญงิ 2. ตาแหน่ง [ ] ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา [ ] ครูผู้สอน [ ] อน่ื ๆ.................................. 3. ประสบการณ์การทางาน (งานบริหาร/ปฏิบตั กิ ารสอน) ........................ปี 4. กรณเี ปน็ ครูผูส้ อน [ ] สอนกลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวิชา......................................................................................... ............................................................................................................................. ................ [ ] การใช้กระบวนการ Active Learning ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ [ ] ทุกคร้ัง [ ] เปน็ บางคร้งั [ ] ไมเ่ คยใช้ Active Learning ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้/การดาเนนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน การนิเทศเพ่ือพัฒนาและส่งเสรมิ การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้
62 ตอนท่่ี 2่ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก่(Active learning) ่ความคดิ เห็น/ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สึกเก่ยี วกบั ความเหมาะสม ความชัดเจน ความ มีประโยชนข์ องการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ โปรดแสดงความคิดเห็นทตี่ รงกบั ทา่ นมากทีส่ ุด รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ท่สี ุด กลาง ท่สี ุด (5) (4) (3) (2) (1) 1.่การจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก่(Active Learning)่ชวยขับเคล่อื น่่่่่่่่่่่่่่่่่่ ่่่ให้นโยบาย่ลดเวลาเรียน่เพิ่มเวลารู้่สาเร็จได้ 2.่ทานมคี วามคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับหัวข้อตอไปนี้ 2.1 การนานโยบาย Active Learning สหู่ อ้ งเรยี น 2.2 การส่งเสริม สนับสนุนให้ครจู ดั กจิ กรรมการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ภายในสถานศึกษา 2.3 การสร้างความรู้ความเขา้ ในการจดั กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) ให้ครผู สู้ อน 2.4 การนเิ ทศ ติดตาม ช่วยเหลือครผู สู้ อนในการนาการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ไปจัดการเรยี นการสอน 2.5 การสร้างเครือข่าย /กิจกรรม PLC เก่ยี วกับการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ในสถานศึกษา 3.่ความคิดเห็นเกีย่ วกับการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ่(Active Learning)่ 3.1 หลกั การจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก ช่วยให้การสอนของครมู ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ 3.2 การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ตอบสนองตอ่ ความแตกตา่ งของผเู้ รยี นรายบคุ คล 3.3 การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุกทาใหผ้ ้เู รยี นเกิดความกระตือรือร้นในการเรยี นรู้ มากขน้ึ 3.4 การจัดการเรยี นร้เู ชงิ รุก สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมและการทางานเป็นทมี ของผเู้ รียน 3.5 การจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น ได้ใชก้ ระบวนการคดิ ขัน้ สูง 3.6 การจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ทาใหผ้ เู้ รยี นสามารถสรา้ งองคค์ วามรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง 3.7 การจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นนาความรแู้ ละทกั ษะต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3.8 การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ สร้างปฏสิ มั พันธท์ างการเรียนระหวา่ งครูและ นักเรียนได้เป็นอย่างดี 3.9 การจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก ทาให้นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ดีขนึ้ 3.10 การจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นไดป้ ระเมินตนเอง หรือสะทอ้ น สง่ิ ท่ีได้เรียนรู้ 4.่ความพึงพอใจของทานโดยรวมเกี่ยวกับการจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ (Active Learning) การนิเทศเพอ่ื พัฒนาและส่งเสรมิ การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
63 ่่่่่ตอนท่่ี 3่ปัญหาและข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก่(Active learning) ปัญหา ขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรุง่และพฒั นา การนิเทศเพื่อพฒั นาและส่งเสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้
64 ตัวอยางท่่ี 4 แบบบนั ทกึ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ กจิ กรรม การจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) โรงเรยี น..................................................................................................................... ................................. ชือ่ เจา้ ของเร่ือง............................................................................................................................................ วันท่ี ครั้งท่ี สถานท่ี ชอื่ กลุ่ม (ถ้ามี) .................................................สมาชิกที่รว่ มแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ จานวน ...............................คน ประเด็นการแลกเปลีย่ นเรียนรู้่เกย่ี วกบั การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ ่(Active Learning)่(ประเด็นปัญหา)่ 1 2 3 ฯลฯ แบบบนั ทึกการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ 4 สว่ น ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ปญั หา 2. การกาหนดแนวทางการแก้ปญั หา 3. การปฏิบตั ิ สังเกต และเก็บขอ้ มลู 4. การสะทอ้ นความคิดเห็น สวนท่ี จดุ ประสงค์ การบนั ทกึ 1.่่การวิเคราะหป์ ัญหา เพื่อวเิ คราะหป์ ัญหาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ใหบ้ ันทกึ ช่อื ปญั หา สาเหตขุ อง เชิงรกุ (Active Learning) สาเหตขุ องปัญหา และ ปญั หา ตามทไ่ี ดร้ บั มตจิ ากกลมุ่ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้นึ ในห้องเรยี น กาหนดปัญหาหรอื สงิ่ ท่ีตอ้ งการพัฒนารว่ มกันภายในกลมุ่ 2 การกาหนดแนวทาง่่่่่่่่่่่่่่เ่พ่อื่ ร่วมคิดและวางแผนร่วมกนั ในการกาหนดแนว บนั ทึกแนวทางแกป้ ญั หาของกลมุ่ / ระบกุ ิจกรรมวธิ ีการขน้ั ตอน การแกป้ ญั หา ทางการแก้ปัญหาทพี่ บจากการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก เครือ่ งมอื การแก้ปญั หา และนาไปปฏบิ ตั จิ ริงในหอ้ งเรียนของตนเอง่่ ให้ครบู นั ทกึ ผลการนาแนวทาง แกป้ ัญหาท่ไี ดจ้ ากส่วนท่ี 2 ไปใช้ ่่่่่่่่่ 3่การปฏิบตั ิ่สงั เกต่และ่่่่่่่่่่่เพื่อใหค้ รผู สู้ อนบนั ทึกผลจากการสังเกตและการ เก็บขอ้ มลู เก็บข้อมูลในระหวา่ งทจ่ี ดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชิงรุก ตามแผนท่วี างไว้ 4่การสะท้อนความคิดเห็น เพื่อใหส้ มาชิกทุกคนในกลุ่มได้รว่ มพดู คยุ ใหบ้ ันทึกสะท้อนผลการปฏบิ ัตจิ าก แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และสะทอ้ นผลการปฏบิ ัติ สว่ นที่ 2 และร่วมแลกเปลี่ยน เพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นา แก้ไข ในครั้งต่อไป เรยี นรซู้ ่งึ กนั การนิเทศเพื่อพฒั นาและส่งเสรมิ การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้
65 ่แบบบนั ทกึ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้่ครง้ั ท.่ี ............. การวเิ คราะห์ การกาหนด การปฏบิ ตั ิ่สังเกต่และ การสะทอ้ น ปัญหา แนวทางแก้ปญั หา เก็บขอ้ มูล ความคิดเห็น ..................................... ..................................... .................................... ................................... .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ..................................... ..................................... ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่ ....................................่ .....................................่ ....................................่่่่....................................่่่่.่.่................................... ่่ หมายเหตุ่่รปู แบบการบนั ทึกกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ อาจปรบั เปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม การนิเทศเพือ่ พฒั นาและส่งเสรมิ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
สว่ นท่ี 5 การเสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการนเิ ทศ ติดตาม การจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) เพอ่ื ขับเคลอ่ื นนโยบายลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ โครงการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในการนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) เพ่อื ขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ และสรา้ งความยั่งยืน ในยุคประเทศไทย 4.0 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ขับเคลื่อนกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ โดยการ นากระบวนการจดั การเรียนรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) มาเปน็ กรอบวสิ ัยทศั นด์ า้ นการศึกษาเพื่อพฒั นาผู้เรียน ให้มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ นาไปสู่การพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 รวมทงั้ สง่ เสรมิ เร่อื งการสร้างจติ สานกึ ตอ่ โลก มคี วามรู้ ความเป็นพลเมือง มีสขุ ภาพทีด่ ี สามารถเรียนรแู้ ละ รเู้ ท่าทัน ต่อการเปล่ียนแปลงได้ โครงการลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ (Moderate Class, More Knowledge) เป็นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ให้ปรับลดช่ัวโมงเรียนภาคทฤษฎีของบางวิชาให้น้อยลง เพ่ือให้ นักเรียนได้ใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้จริงมากข้ึน มีความผ่อนคลายไม่เครียดกับการเรียนในห้องเรียน มากเกนิ ไป มีเวลาวา่ งสาหรบั ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เพอ่ื การเรียนรูต้ ามวยั และศักยภาพ ไม่ใช่ท่องจาตาราอยา่ งเดยี ว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดแนวทางการดาเนินงานที่สอดคล้อง และสนับสนุนนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ โดยนาหลักการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มาใช้ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา อย่างเปน็ รูปธรรมและตอ่ เนื่อง ตงั้ แตป่ ีการศึกษา 2558 หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รว่ มกบั สานักวชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา ตระหนักถึงภารกิจสาคัญ คือ ส่งเสริม สนับสนุน การนิเทศเรื่องการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการให้ความช่วยเหลือ แนะนา ชี้แจง ช่วยวางแผน พัฒนาและปรับปรุงแก้ไขปัญหาการบรหิ ารจดั การและการเรยี นการสอนให้บรรลุตามเปา้ หมาย จึงจดั โครงการ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ Active Learning เพื่อ ขบั เคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” และสรา้ งความยั่งยืนในยคุ ประเทศไทย 4.0 ขึ้น กิจกรรมที่ดาเนินงาน 1. จัดทาแนวทางและเคร่ืองมือนเิ ทศ ตติ ตาม การจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning ) 2. สนบั สนุนการนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) ในระดับเขตพืน้ ที่ การศึกษา 3. จัดกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรผู้ ลงานดา้ นการนเิ ทศการศึกษา การจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) ของศึกษานเิ ทศก์ 4. สรุปและรายงานผลการผลการนิเทศ ตติ ตาม การจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active learning ) การนเิ ทศเพอ่ื พฒั นาและส่งเสรมิ การเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
67 การดาเนินงาน ระยะเวลา* กิจกรรม* หมายเหตุ กุมภาพันธ์ ศนฐ. 2562 จัดทาแนวทางและเครื่องมือนิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active ศนฐ./สพท. เมษายน Learning) ศนฐ./สพท. 2562 เมษายน – ขยายผลแนวทางและเครอ่ื งมือนเิ ทศ ฯ ให้ศึกษานิเทศก์ สถานศกึ ษา กนั ยายน ในเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา เพื่อนาไปปรบั ใช้ในการนิเทศ ติดตามฯ ตามบริบท สพท. 2562 ศนฐ. -นเิ ทศ ตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) ระะดับเขตพืน้ ท่ี มถิ ุนายน การศกึ ษา และระดบั สพฐ. ศนฐ. 2562 -กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ -กจิ กรรมคัดเลือกผลงานการนิเทศการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) กันยายน 2562 สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) คร้งั ที่ 1 -สถานศึกษา รายงานผลการดาเนินงานจดั การเรียนรู้เชิงรุก -เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สรุปผลการนเิ ทศ การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ -สพฐ. สรปุ ผลการดาเนนิ งานเสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการนเิ ทศ ตดิ ตามการ จดั การเรียนร้เู ชิงรุก เพ่ือขับเคล่อื นนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ และสรา้ งความ ยั่งยืนในยคุ ประเทศไทย 4.0 สรปุ รายงาน การดาเนินงานการนิเทศการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) คร้ังที่ 2 *กาหนดระยะเวลา (วนั ดาเนินการ) และรายละเอียด จะแจ้งเปน็ รายกิจกรรม/ทั้งนี้ อาจมีการปรับเปล่ียน ตามความเหมาะสม การยกยอ่ ง สร้างขวญั กาลงั ใจ ในการนิเทศการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ในปีงบประมาณ 2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดกิจกรรม ยกย่อง เสริมสร้างขวัญ และกาลังใจให้ศึกษานิเทศก์ในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขต ด้วยกิจกรรม คัดเลือกผลงานการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบาย ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยเช่ือมโยงกับกิจกรรมคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ : Active Learning ของสานัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษา และสานักตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน การรายงานผลการดาเนนิ งาน ของเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขตพ้ืนที่ จัดทารายงานผลการดาเนินงานการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ประจาปี 2562 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา จานวน 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 เดือนมิถุนายน 2562 และคร้ังท่ี 2 เดือนกันยายน 2562 ตามแบบ รายงานผลการดาเนินงานการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ของเขตพ้นื ที่การศกึ ษา เพอ่ื สรปุ ในภาพรวมของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ตอ่ ไป แนวทางการนิเทศเพอ่ื พฒั นาและสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้
68 แบบรายงานผลการนิเทศการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ประจาปี 2562 สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา............................................................................... ครง้ั ท่ี ........................ ********* 1. ข้อมูลท่ัวไป 1.1 จานวนโรงเรียนท้ังหมด ......................... โรงเรียน _(แยกตามขนาดโรงเรยี น) ขนาดใหญพ่ เิ ศษ ...... โรงเรียน ขนาดใหญ่ ...... โรงเรยี น ขนาดกลาง ...... โรงเรียน ขนาดเลก็ ...... โรงเรยี น 1.2 จานวนโรงเรยี นทีเ่ ปน็ กลุ่มตัวอย่าง..................... โรงเรยี น ขนาดใหญพ่ ิเศษ ...... โรงเรียน ขนาดใหญ่ ...... โรงเรียน ขนาดกลาง ...... โรงเรยี น ขนาดเลก็ ...... โรงเรียน 1.3 จานวนครู ท้ังหมด..................... คน 1.4 จานวนศึกษานเิ ทศก์ ทง้ั หมด..................... คน 1.5 นโยบาย วิธีการ/แนวปฏิบัติของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการนากระบวนการ จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning ) ไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ตามนโยบาย ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ ม/ี กาหนดไว้ คอื (ระบุ) ...................................................................................................... ไมม่ ี/ไมไ่ ด้กาหนดไว้ 2. ผลการนเิ ทศ ติดตามการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ของเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา 2.1 จานวนศกึ ษานิเทศก์ทนี่ เิ ทศติดตาม เรือ่ งการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) ............ คน 2.2 จานวนครูทีไ่ ด้รับการนิเทศเรอ่ื งการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ..........................คน 2.3 วิธีดาเนนิ การนิเทศ (สังเคราะหใ์ นภาพรวมของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา) 1) เครื่องมือทีใ่ ช้ในการนิเทศ ............................................................................................................................................... 2) รูปแบบการนิเทศ ........................................................................................................................... ....................... 3) ระยะเวลาในการนิเทศ ............................................................................................................................. ..................... 4) วิธกี าร ขัน้ ตอน เทคนคิ การนิเทศ ............................................................................................................................. ..................... 5) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ............................................................................................................................. .................... 6) การวเิ คราะหข์ ้อมลู สถติ ทิ ่ีใช้ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ................................................................................................................................................ แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
69 7) สรปุ ผลการนเิ ทศการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุก (ผลสาเร็จ/จดุ เด่น จุดดอ้ ย) ผลสำเรจ็ /จดุ เดน่ ............................................................................................................................. ..................... จดุ ด้อย ปญั หำ และอปุ สรรค ............................................................................................................................. ..................... 3. การจดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ผลงานและสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื 3.1 กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ท่ีดาเนินการ (เชน่ การจัดนิทรรศการ การประกวดผลงาน การนาเสนอผลงานดเี ด่น การเสวนาทางวชิ าการ เปิดบา้ นวชิ าการ... PLC ฯลฯ) ชอ่ื กจิ กรรม วิธีดาเนนิ งาน จานวนผรู้ ่วมกจิ กรรม (คน) (ระบุ ครู ศน.อ่ืน ๆ) 3.2 ผลงานดา้ นการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ทปี่ ระสบผลสาเร็จ และเป็นตัวอยา่ งการจัดการเรียนรูท้ ่ดี ี ( Best Practice ) ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 1) ผลงานของครู ชอ่ื ผลงาน /นวตั กรรม กลุ่มสาระ/วิชา/กิจกรรม ขั้นตอนการดาเนินการ ความสาเรจ็ /จุดเด่น โรงเรยี น/ชือ่ เจ้าของผลงาน 2) ผลงานของนกั เรยี น ขั้นตอนการดาเนนิ การ ความสาเร็จ/จุดเดน่ ชือ่ ผลงาน /นวัตกรรม กลมุ่ สาระ/วชิ า/กิจกรรม โรงเรยี น/ชอื่ เจา้ ของผลงาน 3) ผลงานของศึกษานเิ ทศก์ ขัน้ ตอนการดาเนินการ ความสาเรจ็ /จดุ เดน่ ช่อื ผลงาน /นวตั กรรม/ กลุ่มสาระ/วชิ า/กิจกรรม เจา้ ของผลงาน หมายเหตุ แนบเอกสารประกอบของทกุ ผลงาน แนวทางการนิเทศเพอ่ื พัฒนาและสง่ เสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้
70 3.3 เครอื ข่ายความรว่ มมือทางวชิ าการ ทรี่ ่วมดาเนินงานดา้ นการจัดการเรยี นรู้ Active Learning ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ ในระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา ชอ่ื เครอื ข่าย กจิ กรรมท่ดี าเนนิ การ ผลสาเรจ็ /จดุ เด่น จานวนผรู้ ่วมดาเนินการ 4. ปัญหา อุปสรรคในการดาเนนิ งาน ในระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... 5. ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและสง่ เสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
71 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. พิมพ์คร้งั ท่ี 2 กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องคค์ วามรเ้ พ่อื การจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่ีมีประสิทธิภาพ พิมพ์ครงั้ ที่ 7 : กรงุ เทพฯ : สานักพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . มนตรี ศริ จิ ันทรช์ ่ืน (2554) งานวิจัยเรอื่ งการสอนนกั ศึกษากลุม่ ใหญ่ รายวิชา Gsoc2101 ชุมชนกับการ พัฒนาโดยใชก้ ารสอนแบบ Active Learning และการใช้บทเรยี น e-learning. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม.่ ศนู ย์พัฒนาการนเิ ทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขัน้ พื้นฐาน. (2559). แนวทางการนเิ ทศการจดั กิจกรรม การเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นา 4H. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก. สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . ____________________________. (2553). แนวทางการบรหิ ารจดั การหลักสูตร ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พ์ครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . ____________________________. (2557). แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดผล และประเมินผลการเรียนรู้ ตาม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. พมิ พค์ ร้งั ที่ 4. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . ____________________________. (2559). ค่มู อื บริหารจัดการเวลาเรยี น ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .
ภาคผนวก - ตัวอย่างแบบฟอร์มหน่วยการเรียนรู้และแผนการจดั การเรียนรู้ - ตวั อย่างหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (ภาษาองั กฤษ) - ตวั อย่างหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ (วทิ ยาศาสตร)์
73 ตวั อยา่ ง แบบบันทึกหน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นร้เู รื่อง…………………………………………………………………………………… รหสั -ชอ่ื รายวชิ า.......................................................กลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………… ช้ัน…….............................…….....................ภาคเรยี นที่............................เวลา………………….….ชั่วโมง ผู้สอน………………....................……………...……….โรงเรยี น………..........…………………………..………........... ------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ ........................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................................................. ..................................... ตวั ชีว้ ัด 1. ………………………...……………………………………………………………………. 2……………………………………………………………………………………………….. มาตรฐานการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................................. ตัวชวี้ ดั 1. ………………………...……………………………………………………………………. 2……………………………………………………………………………………………….. สาระสาคัญ .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................... สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .....................................
74 ทกั ษะ / กระบวนการ .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................... คุณลักษณะ ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................................. การประเมนิ ผล ประเด็น ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน กจิ กรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................................... .................................................................................................................................................... .............. ............................................................................................................................. ..................................... ส่อื การเรียนรู้ .................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................... .......................................
75 ตวั อย่าง แบบประเมนิ หนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้.......................................................... กลมุ่ สาระการเรียนรู้ .............................................. ช้ัน................................เวลา..........................ชวั่ โมง ครผู สู้ อน ........................................................................................................ คาชแ้ี จง โปรดเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องท่ีตรงกบั ระดบั คุณภาพการปฏบิ ัติ ระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ิ 4 หมายถงึ คุณภาพการปฏิบัติอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ 3 หมายถึง คณุ ภาพการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั มาก 2 หมายถงึ คณุ ภาพการปฏิบตั อิ ยใู่ นระดบั ปรับปรงุ 1 หมายถงึ คณุ ภาพการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั ปรับปรงุ มากทสี่ ดุ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ 1. ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ชดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ 4 321 2. มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั มคี วามเชอื่ มโยงกนั อย่างเหมาะสม 3. สาระสาคญั กบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัดมีความสอดคลอ้ งกัน 4. สาระสาคัญกบั สาระการเรยี นรู้มีความสอดคล้องกนั 5. ระหว่างชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชวี้ ดั สาระสาคัญ และสาระการเรียนรู้มีความเชอ่ื มโยงสัมพันธก์ นั 6. เป้าหมายของหนว่ ยการเรยี นรมู้ ีความชัดเจน ครอบคลุมการเรียนรู้ของหนว่ ยการเรียนรู้ 7. กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัด 8. กจิ กรรมการเรียนรมู้ ุง่ เนน้ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) 9. กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความครอบคลุมในการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 10. กิจกรรมการเรยี นรสู้ ามารถนาผ้เู รยี นไปสกู่ ารสรา้ งช้ินงาน/ภาระงาน 11. การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด 12. เครอื่ งมอื หรือแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรไู้ ดม้ าตรฐาน สอดคลอ้ งกบั กบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั ลกั ษณะของเครอ่ื งมอื หรือแบบทดสอบสมั พนั ธ์กับ การทดสอบระดบั ชาติ 13. ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผ้เู รียนตามมาตรฐาน การเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด
76 14. การกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ทค่ี านงึ ถงึ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของผู้เรียน เป็นรายบคุ คล มกี ารจาแนกเกณฑก์ ารประเมินสาหรบั ผเู้ รียนกลมุ่ เกง่ กล่มุ ปานกลาง และกล่มุ อ่อนไวอ้ ย่างชดั เจน 15. สอ่ื การเรยี นรู้มีความเหมาะสม เพยี งพอ สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ 16. หนว่ ยการเรยี นรู้ทจ่ี ัดทาสามารถนาไปปฏบิ ัติไดจ้ รงิ รวม เฉล่ีย/สรุปผล ……………. การแปลความหมายการประเมนิ หนว่ ยการเรียนรู้ เกณฑ์ ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 : ปรับปรงุ 1.51 – 2.50 : พอใช้ 2.51 – 3.50 : ดี 3.51 – 4.00 : ดมี าก เกณฑ์การผา่ น มีผลการประเมนิ ในระดบั ดีข้ึนไป
77 ตวั อย่าง แบบบนั ทึกการออกแบบหน่วยการเรียนรสู้ ู่แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ........ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ .......................................................................... รหสั -ชือ่ รายวชิ า ....................................................................................................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้......................................................... ชนั้ ................................................................. เวลารวม.....................................ชว่ั โมง แผน ชื่อแผนการจดั มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั จุดประสงค์ สาระ เวลา การ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ จดั การ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) เรยี นรู้ ที่
78 ตวั อยา่ ง แบบบนั ทกึ แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ .ี่ ........ เรื่อง ..................................................................................................................... สอนวนั ที่ ..... เดอื น ................. พ.ศ. ......... ช่วงเวลาทสี่ อน ....................................... จานวน ……...... ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ ที่ ..... เรอื่ ง ................................................................................................................................ ช้นั .............................................................. โรงเรียน ........................................................................................... ชอื่ ครผู ูส้ อน............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. มาตรฐานการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ตวั ช้ีวดั ...................................................................................................................................................................... .............. ..................................................................................................................... ............................................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ตัวช้วี ัด .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... สาระสาคญั ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................
79 เจตคติ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ................................................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ...................................................... ชิน้ งานและหรอื ภาระงาน ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................................. กิจกรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................ ........................ ........................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................ .................................................... .................................................................................................................................................................................... สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................... ............................. การวัดและประเมนิ ผล ส่งิ ทจี่ ะประเมนิ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... วิธกี ารวดั และประเมินผลตามสภาพทีแ่ ทจ้ รงิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมนิ K: วธิ ีการ/เครือ่ งมอื ผลงาน/ช้นิ งาน เกณฑก์ ารผา่ น P: A:
80 เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ประเด็น การประเมนิ เกณฑ์การตดั สนิ /ระดบั คุณภาพ .................................................................................................................................................................... เกณฑก์ ารผา่ น ..................................................................................................................................................................... บันทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................... ......... ปญั หาท่พี บ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาแผนการจัดการเรยี นรู้ในครัง้ ตอ่ ไป ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ความคดิ เห็นของผบู้ ริหาร ........................................................................................................................................................................ ............ .................................................................................................................................................................................... (......................................................) ผู้บรหิ ารโรงเรียน ............................................................. วันที่ ....... เดอื น............................พ.ศ. .........
81 ตัวอย่างหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่เี น้นการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (วทิ ยาศาสตร์) หน่วยการเรยี นรู้ เร่ือง เรารกั ตวั เรา รหสั -ชือ่ รายวิชา ว11101 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 10 ช่วั โมง ผสู้ อน ............................................................... โรงเรยี น...................................................................... ---------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั ว 1.1 เขา้ ใจหน่วยพ้ืนฐานของส่งิ มีชีวติ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของ สิง่ มีชีวติ ทส่ี มั พันธก์ นั มีกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ ละนาความรูไ้ ปใช้ในการดารงชวี ิตของตนเองและดูแล ส่งิ มชี ีวติ ว 1.1 ป.1/3 สังเกตและอธบิ ายลักษณะ หน้าที่และความสาคญั ของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจน การดแู ลรกั ษาสุขภาพ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั ง 1.1 เข้าใจการทางาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการจดั การ ทักษะ กระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ัย ในการทางาน มจี ิตสานกึ ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อมเพ่ือการดารงชีวติ และครอบครวั ง 1.1 ป.1/ 2 ใช้วสั ดุ อุปกรณ์และเครอื่ งมอื งา่ ย ๆ ในการทางานอยา่ งปลอดภยั มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสือ่ สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ ท 2.1 ป.1/2 เขียนสอื่ สารดว้ ยคาและประโยคง่าย ๆ สาระสาคัญ อวัยวะภายนอกของมนุษย์มีลกั ษณะและหนา้ ที่แตกต่างกนั อวยั วะเหลา่ นมี้ ีความสาคญั ต่อการดารงชีวติ จึงตอ้ งดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเองเพ่ือปอ้ งกันไม่ให้อวยั วะเหลา่ นนั้ ได้รบั อนั ตราย สาระการเรยี นรู้ ความรู้ 1. ลกั ษณะ หนา้ ท่ีและความสาคญั ของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ 2. การปฏิบตั ิตนในการดูแล รกั ษาความสะอาดของสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย 3. การใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครือ่ งมอื งา่ ย ๆ ในการทางานอยา่ งปลอดภยั 4. การเขียนสอื่ สารดว้ ยคาและประโยคงา่ ย ๆ
82 ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคญั 1. การใชเ้ ครือ่ งมอื ง่าย ๆ การทางาน 2. กระบวนการทางาน 3. ความสามารถในการเขียนสือ่ สาร คณุ ลกั ษณะ ความร่วมมอื ในการทางาน การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน การจดั ทาและใช้คมู่ อื การปฏิบตั ิตนในการดูแลรกั ษาสขุ ภาพ การทดสอบกอ่ นและหลงั การเรยี นรู้ ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง เรารกั ตัวเรา การประเมินผล 1. ประเมนิ จากช้ินงาน 2. ประเมนิ การทางาน เกณฑ์การประเมินผล ประเดน็ การ ข้ันหนเู ก่งแลว้ (4) ระดบั คณุ ภาพ ขั้นช่วยหนูดว้ ย (1) คา่ ประเมิน ข้นั หนูทาได้ (3) ข้ันหนเู ร่ิมเรยี น (2) นา้ หนัก การประเมิน การบอกอวยั วะ บอกอวยั วะภายนอก บอกอวยั วะ บอกอวัยวะภายนอกท่ี บอกอวัยวะภายนอกที่ 2 ภายนอกท่สี าคญั ท่ีสาคญั พรอ้ มทั้ง ภายนอกทีส่ าคญั สาคญั พรอ้ มท้ังหน้าท่ี สาคญั พร้อมท้งั หนา้ ท่ีการ พร้อมทง้ั หนา้ ที่ หน้าท่กี ารทางานได้ พร้อมท้ังหนา้ ทีก่ าร การทางานไดถ้ กู ต้อง ทางานไดถ้ ูกตอ้ ง 1-2 การทางาน ถูกต้องตง้ั แต่ 6 ทางานไดถ้ กู ต้อง4- 3 รายการ รายการ หรอื ไม่สามารถ รายการขน้ึ ไป 5 รายการ บอกได้ ตารางการดูแล บอกการปฏิบตั ิตนใน บอกการปฏิบตั ติ น บอกการปฏิบัตติ นใน บอกการปฏิบตั ติ นในการ 2 รกั ษาความ การดูแลรักษาความ ในการดูแลรักษา การดูแลรกั ษาความ ดูแลรักษาความสะอาด สะอาดของ สะอาดสว่ นต่าง ๆ ความสะอาดส่วน สะอาดสว่ นตา่ ง ๆ สว่ นตา่ ง ๆ ได้ถูกตอ้ ง อวัยวะต่าง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ งต้ังแต่ ตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง ได้ถูกตอ้ ง 3 รายการ 1-2 รายการหรือไม่ 6 รายการข้ึนไป 4-5 รายการ สามารถบอกได้ การใช้เครื่องมอื ใชเ้ ครอ่ื งมอื ง่าย ๆ ใน ใชเ้ คร่อื งมอื ง่าย ๆ ใช้เครอ่ื งมืองา่ ย ๆ ใน ใชเ้ ครื่องมืองา่ ย ๆ 1 ง่าย ๆ ในการ การทางานได้ถูกตอ้ ง ในการทางานได้ การทางานได้ถูกตอ้ ง ในการทางานไดถ้ ูกตอ้ ง ทางาน และปลอดภยั ตัง้ แต่ ถูกตอ้ งและ และปลอดภัย 2 และปลอดภยั 1 รายการ 4 รายการขน้ึ ไป ปลอดภยั 3 รายการ หรอื ไม่สามารถทาได้ รายการ ถูกต้องและปลอดภยั ทุกรายการ
83 ประเด็นการ ระดับคณุ ภาพ ค่า ประเมนิ น้าหนกั ขั้นหนูเก่งแลว้ ขัน้ หนทู าได้ ข้นั หนเู รม่ิ เรยี น ข้ันช่วยหนูด้วย การประเมิน กระบวน (4) (1) การทางาน (3) (2) 2 มกี ารวางแผนการ ไมม่ ีการวางแผนงาน ไม่ ความ ทางานอยา่ งเปน็ ระบบ มีการวางแผนการ การวางแผนยังมคี วาม สามารถทางานได้สาเรจ็ 2 สามารถในเขียน มีขน้ั ตอนชดั เจน และ ตามเวลา ส่ือสาร ปฏบิ ตั ิ ทางานอย่างเป็นระบบ สับสน ขาดความ งานได้ตามแผนและ ไม่สามารถเขียนคา เวลาทก่ี าหนด พอสมควร แตย่ ังขาด ชัดเจนในการนาไปสู่ สือ่ สารดว้ ยคาและ ประโยคงา่ ย ๆ ได้ เขยี นคาส่ือสารด้วยคา ความชัดเจนบาง การปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิงาน และประโยคง่าย ๆ ได้ ถกู ต้อง ข้นั ตอน สามารถ ไม่สาเร็จตามเวลา ปฏิบัตงิ านได้สาเร็จ ตามเวลาเปน็ สว่ นใหญ่ เขยี นคาส่ือสารด้วยคา เขียนคาสื่อสารดว้ ยคา และประโยคงา่ ย ๆ ได้ และประโยคง่าย ๆ ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ ูกต้องเป็นบางสว่ น ความร่วมมอื เอาใจใส่ กระตอื รอื รน้ เอาใจใส่ กระตือรอื ร้น เอาใจใส่ กระตือรือร้น ขาดความเอาใจใส่ และ 1 ในการทางาน และ ความกระตือรอื ร้นใน ร่วมมือกนั ปฏิบัติงาน ในการทางาน ในการทางานน้อย การทางาน ไม่ให้ความ เป็นประจาสมา่ เสมอ รว่ มมือในการ ทุกครั้ง พอสมควร และร่วมมือ ไม่ใหค้ วามร่วมมอื ใน ปฏบิ ตั ิงาน กนั ปฏบิ ัติงานเป็นสว่ น การปฏบิ ัตงิ านเป็น ใหญ่ ส่วนใหญ่ กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมช่ัวโมงที่ 1 กจิ กรรมนาเขา้ สบู่ ทเรียน นกั เรียนและครรู ่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั อวยั วะภายนอกทสี่ าคัญ วา่ มชี อ่ื ลกั ษณะ หน้าทีแ่ ละมคี วามสาคัญ ต่อการดารงชวี ติ อยา่ งไร กจิ กรรมที่ชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี น 1. ภายหลงั การสนทนานาเข้าสบู่ ทเรียน ครูมุ่งเน้นการใชค้ าถามเพอ่ื กระตนุ้ ให้นกั เรียนคดิ และรว่ มกันหา คาตอบเกย่ี วกบั ลักษณะ หน้าท่ีและความสาคญั ของอวยั วะภายนอกของมนุษย์โดยใชแ้ ผนภาพและหุ่นจาลอง ครเู พิ่มเตมิ ความรู้ ความเขา้ ใจให้กบั นกั เรียน 2. นักเรียนซกั ถาม เพอ่ื สร้างความเข้าใจใหก้ ับนักเรยี นยิ่งขน้ึ 3. นักเรยี นทากจิ กรรมเลอื กวาดรปู อวยั วะภายนอกทสี่ าคัญ บอกชื่อ ลักษณะ หนา้ ที่ ความสาคัญ คนละ 1 รปู 4. ตรวจผลงานของนกั เรียนทุกคน นกั เรยี นนาผลงานของนกั เรียนทุกคนนามาตดิ ทบี่ อร์ดแสดงผลงาน ของนักเรียน 5. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปลักษณะ หนา้ ที่และความสาคญั ของอวัยวะภายนอกของมนุษย์
84 กจิ กรรมชั่วโมงท่ี 2 1. แบ่งกลมุ่ นกั เรียน กลมุ่ ละ 4 คน ใหศ้ ึกษา CAI เกยี่ วกบั อวัยวะภายนอก พรอ้ มทั้งหน้าท่ี ความสาคัญ และการดแู ล รักษาอวัยวะภายนอกเหลา่ น้ัน 2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ อภิปรายแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ่วมกนั และร่วมกนั สรปุ ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จัดทาเป็น แผนที่ความคดิ นาเสนอหน้าชน้ั เรียน 3. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ที่ได้รบั จากการศกึ ษาของแต่ละกล่มุ กจิ กรรมชั่วโมงท่ี 3-4 1.ใหค้ วามรกู้ บั นกั เรียนเกย่ี วกับวธิ กี ารทางาน การวางแผนในการทางานจัดทาค่มู อื การปฏิบัติตน ในการดแู ลรักษาสุขภาพ 2. แนะนานกั เรยี นใหร้ ู้จกั กับเครอ่ื งมือ อปุ กรณใ์ นการทางานการจดั ทาค่มู อื การปฏบิ ัติตน ในการดูแลรักษาสขุ ภาพ 3. ใหน้ ักเรยี นทดลองใช้เครือ่ งมือ อปุ กรณใ์ นการทางานการจดั ทาค่มู อื การปฏิบตั ติ น ในการดแู ลรกั ษาสุขภาพ เช่น ไมบ้ รรทดั ดนิ สอสี กรรไกร กระดาษ กาว ฯลฯ 4. นักเรยี นร่วมกับครสู รุปวิธีการทางาน การวางแผนการทางาน และการใชเ้ ครอ่ื งมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการทางาน จดั ทาคมู่ ือการปฏิบัติตนในการดแู ลรักษาสุขภาพ กิจกรรมชวั่ โมงที่ 5 1. แบง่ กลมุ่ นักเรียน กลมุ่ ละ 4 คน ศกึ ษาลักษณะของคู่มือการปฏบิ ัตติ นในการดูแลรกั ษาสุขภาพจาก ตวั อยา่ งทคี่ รูให้ 2. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเกย่ี วกับคมู่ ือการปฏิบัติตนในการดแู ลรกั ษา สุขภาพจากตวั อย่างทค่ี รูให้ในประเด็น ลกั ษณะคู่มอื การจัดทาให้สวยงาม นา่ สนใจ และความถกู ตอ้ งของคู่มอื 3. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ นาเสนอสง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกันในกลมุ่ 4. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ ผลการเรียนรู้ กิจกรรมชวั่ โมงที่ 6-7 1. นักเรียนกลมุ่ เดมิ วางแผนรว่ มกนั ในการจัดทาคมู่ ือการปฏบิ ตั ิตนในการดแู ลรกั ษาสุขภาพ 2. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ คน้ ควา้ รวบรวมข้อมูลเก่ยี วกับอวัยวะ การทางานของอวัยวะและการดแู ลอวยั วะ เพอ่ื เตรียมการออกแบบคมู่ ือการปฏิบตั ิตนในการดแู ลรักษาสุขภาพ กจิ กรรมรวบยอด กจิ กรรมชั่วโมงท่ี 8-10 1. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มจัดทาคูม่ อื การปฏบิ ตั ิตนในการดูแลรักษาสุขภาพ ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี น แต่ละคนบนั ทกึ การปฏบิ ัติตนตามคมู่ ือในการดูแลรกั ษาสุขภาพของตนเอง
85 2. นักเรียนแต่ละกลมุ่ แลกเปลีย่ นเรียนรรู้ ว่ มกนั ในกลมุ่ ทงั้ การจัดทาคู่มอื และการใชค้ มู่ อื การปฏบิ ัติตน ในการดูแลรักษาสขุ ภาพของตนเอง จดั นทิ รรศการและนาเสนอผลงานและเปลีย่ นเรยี นร้รู ว่ มกนั กับตา่ งกลมุ่ 3. ครูและนักเรียนประเมินผลงานร่วมกนั 4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลการเรียนรูร้ ว่ มกัน ส่ือการเรียนรู้ 1. แผนภาพและหุ่นจาลองเกย่ี วกับลักษณะ หนา้ ท่แี ละความสาคัญของอวยั วะภายนอกของมนุษย์ 2. ส่ือ CAI เกี่ยวกับอวยั วะภายนอก พรอ้ มทง้ั หนา้ ที่ ความสาคญั และการดูแล รักษาอวยั วะภายนอก 3. เคร่อื งมอื อปุ กรณใ์ นการทางานการจดั ทาคู่มอื การปฏบิ ตั ติ นในการดูแลรักษาสุขภาพ เชน่ ไมบ้ รรทัด ดนิ สอสี กรรไกร กระดาษ กาว ฯลฯ 4. ตัวอย่างคูม่ ือการปฏบิ ัตติ นในการดแู ลรักษาสุขภาพ บนั ทึกผลการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ท่ีเกดิ กบั นกั เรียน ............................................................................................................................... ..................................................... ปัญหา/อปุ สรรคที่พบ .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาหน่วยการเรียนร้ใู นโอกาสตอ่ ไป .................................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )............................................................... (.............................................................) (ครผู ู้สอน) ความคิดเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... (ลงช่ือ)............................................................... (.............................................................) (ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา) ภาคผนวก 1. แบบประเมินชิ้นงาน การจดั ทาคมู่ อื การปฏบิ ตั ิตนในการดูแลรกั ษาสุขภาพ 2. แบบประเมินการทางานการจัดทาคมู่ อื การปฏบิ ัติตนในการดูแลรกั ษาสุขภาพ 3. แบบทดสอบประจาหน่วยการเรยี นรู้ เรอื่ ง เรารักตัวเรา 4. แบบสรปุ ผลการประเมนิ หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เรารักตัวเรา
86 ตัวอย่าง แบบประเมินช้ินงาน การจัดทาคู่มือการปฏบิ ตั ิตนในการดูแลรกั ษาสขุ ภาพ ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียน................................................. กลุ่มที่/ การบอกอวัยวะ ตารางการ ความ รวมคะแนน สรุปผล ชอ่ื กลุ่ม ภายนอกท่ี ดูแลรักษา สามารถ (24 คะแนน) การประเมนิ ความสะอาด ในเขียน (ผา่ น/ไม่ สาคัญพร้อมทง้ั ของอวยั วะ สื่อสาร หนา้ ทก่ี าร ตา่ ง ๆ (8 คะแนน) ผ่าน) ทางาน (8 คะแนน) (8 คะแนน) เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนที่ได้ 22-24 คะแนน อยใู่ นระดบั ดมี าก คะแนนทไี่ ด้ 19-21 คะแนน อยใู่ นระดับ ดี คะแนนทไี่ ด้ 12-18 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ คะแนนที่ได้ 0-11 คะแนน อยู่ในระดับ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผา่ น อยู่ในระดับพอใช้ ข้นึ ไป
87 ตวั อยา่ ง แบบประเมนิ การทางาน การจดั ทาคมู่ ือการปฏิบตั ิตนในการดแู ลรักษาสขุ ภาพ ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียน................................................. กลุ่มที่/ การใช้เครอ่ื งมือ กระบวนการ ความร่วมมือ รวมคะแนน สรุปผล ช่ือกลมุ่ งา่ ย ๆ ในการ ทางาน (4 คะแนน) (16 คะแนน) การประเมนิ (ผา่ น/ไม่ ทางาน (8 คะแนน) (4 คะแนน) ผา่ น) เกณฑก์ ารประเมิน คะแนนทไ่ี ด้ 15-16 คะแนน อย่ใู นระดับ ดมี าก คะแนนทีไ่ ด้ 13-14 คะแนน อยู่ในระดบั ดี คะแนนท่ไี ด้ 8-12 คะแนน อยใู่ นระดับ พอใช้ คะแนนทไี่ ด้ 0-7 คะแนน อยใู่ นระดบั ปรับปรงุ เกณฑ์การผา่ น อยใู่ นระดับพอใช้ ข้นึ ไป
88 ตวั อยา่ ง แบบสรปุ ผลการประเมนิ หน่วยการเรยี นรู้ เร่ือง เรารักตัวเรา ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียน................................................. ชื่อ-สกลุ / ประเมนิ ชน้ิ งาน ประเมิน รวมคะแนน สรปุ ผล สมาชิกกล่มุ ท่ี (24 คะแนน) การทางาน (40 คะแนน) การประเมิน (16 คะแนน) (ผา่ น/ไมผ่ า่ น) รวมเฉล่ยี เกณฑ์การประเมิน คะแนนทไี่ ด้ 36-40 คะแนน อย่ใู นระดบั ดีมาก คะแนนทีไ่ ด้ 32-35 คะแนน อยูใ่ นระดับ ดี คะแนนทไ่ี ด้ 20-31 คะแนน อย่ใู นระดบั พอใช้ คะแนนที่ได้ 0-19 คะแนน อยูใ่ นระดบั ปรับปรงุ เกณฑก์ ารผา่ น ยดึ ข้อมูลจากการวเิ คราะห์ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล โดยกลมุ่ เกง่ มีผลการประเมนิ ระดับดมี าก กลมุ่ ปานกลาง มผี ลการประเมินระดบั ดขี ึ้นไป และกลุม่ เดก็ ออ่ น มผี ลการประเมินระดบั พอใชข้ ้ึนไป
89 ตวั อยา่ ง การบนั ทึกการออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ส่แู ผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ เรารกั ตวั เรา รหสั -ชอื่ รายวิชา ว11101 วชิ าวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลารวม 10 ชั่วโมง แผน ชื่อแผนการจดั มาตรฐาน ตัวช้ีวดั จดุ ประสงค์ สาระ เวลา การ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ (ช่วั โมง) จัดการ เรยี นรู้ ที่ 1 อวัยวะภายนอก ว 1.1 เข้าใจ ว 1.1 ป.1/3 อธิบาย ลกั ษณะ 1 ของมนุษย์ หนว่ ยพนื้ ฐาน สังเกตและ ลักษณะ หนา้ ทีแ่ ละ ของสงิ่ มีชีวติ อธบิ าย หนา้ ทแี่ ละ ความสาคญั ความสัมพนั ธ์ ลกั ษณะ ความสาคัญ ของอวยั วะ ของโครงสรา้ ง หน้าที่และ ของอวัยวะ ภายนอกของ และหน้าที่ ความสาคัญ ภายนอกของ มนุษย์ ของระบบ ของอวัยวะ มนุษย์ได้ ต่างๆ ของ ภายนอก สงิ่ มีชีวิตท่ี ของมนุษย์ สัมพันธก์ นั มี ตลอดจน กระบวนการ การดูแล สบื เสาะหา รกั ษา ความรู้และนา สขุ ภาพ ความรู้ไปใช้ ในการ ดารงชวี ติ ของ ตนเองและ ดูแลสิง่ มีชวี ิต 2 .....
90 ตัวอยา่ ง การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง อวยั วะภายนอกของมนุษย์ สอนวันที่ 18 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ชว่ งเวลาทส่ี อน 09.00 – 10.00 น จานวน 1 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เร่ือง เรารักตวั เรา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 โรงเรยี นบา้ นไรป่ ลายนา ชอ่ื ครูผ้สู อน นางสอน ต้ังใจเรยี น ................................................... มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 1.1 เข้าใจหนว่ ยพ้นื ฐานของสิง่ มชี ีวติ ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสง่ิ มีชีวิตที่สัมพันธก์ ัน มกี ระบวนการสืบเสาะหาความร้แู ละนาความรู้ไปใช้ในการดารงชวี ิตของตนเองและดแู ล สงิ่ มชี ีวิต ว 1.1 ป.1/3 สังเกตและอธิบายลักษณะ หน้าทีแ่ ละความสาคญั ของอวัยวะภายนอกของมนษุ ย์ ตลอดจน การดแู ลรักษาสขุ ภาพ สาระสาคัญ อวยั วะภายนอกของมนุษยม์ ีลกั ษณะและหนา้ ทีแ่ ตกต่างกัน อวัยวะเหล่านม้ี ีความสาคัญต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ อธิบายลกั ษณะ หน้าทแี่ ละความสาคญั ของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ได้ ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะสาคัญ กระบวนการปฏบิ ัติงานกลุม่ และรายบคุ คล การสอื่ สารอธบิ ายผลงานหน้าชน้ั เรยี น เจตคติ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ (ตวั ชวี้ ดั 4.1 ต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้) ชิน้ งาน/ภาระงาน ผลงานรายบุคคล ภาพวาดอวัยวะภายนอกทส่ี าคญั บอกช่อื ลักษณะ หน้าทแ่ี ละความสาคัญ คนละ 1 ภาพ และการนาเสนออธิบายผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ 1. กจิ กรรมนาเข้าสบู่ ทเรยี น 1.1 นักเรยี นทาสมาธิก่อนเรียน 5 นาที ครูสอดแทรกคตขิ อ้ คดิ ในดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เรื่อง การใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน
91 1.2 นักเรียนและครรู ่วมกันสนทนาเกี่ยวกบั อวยั วะภายนอกที่สาคญั ว่ามีช่ือ ลักษณะ หนา้ ท่แี ละ มคี วามสาคญั ต่อการดารงชีวิตอยา่ งไร 2. กจิ กรรมท่ีชว่ ยพฒั นาผ้เู รยี น 2.1 ครูใชค้ าถามกระตุ้นใหน้ ักเรียนได้คดิ เพื่อหาคาตอบในการเรียนรูเ้ กี่ยวกบั ลกั ษณะ หนา้ ท่แี ละ ความสาคญั ของอวยั วะภายนอกของมนษุ ย์โดยใชแ้ ผนภาพและห่นุ จาลอง 2.2 แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 4-5 คน ช่วยกันคน้ คว้าความรู้เพ่มิ เตมิ ในหอ้ งสมุด เกีย่ วกับ ลักษณะ หนา้ ท่แี ละความสาคัญของอวัยวะภายนอกของมนษุ ย์ นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรเู้ พมิ่ เติมที่ได้ จากการคน้ ควา้ 2.3 นาขอ้ ความทเี่ ป็นชอื่ อวยั วะภายนอก ลกั ษณะหนา้ ท่แี ละความสาคัญของอวยั วะภายนอกท่ีครู จดั เตรยี ม แจกใหแ้ ตล่ ะกลุ่ม ให้กลุ่มจัดทาแผนภาพแสดงลกั ษณะ หนา้ ที่และความสาคญั ของมนษุ ย์ ลงใน กระดาษปรู๊ฟท่ีครูแจกให้ พร้อมทง้ั ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น 2.4 ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนซกั ถาม เพื่อสรา้ งความเข้าใจให้กบั นกั เรยี นยงิ่ ขนึ้ 3. กจิ กรรมรวบยอด/และสรุปการเรยี นรู้ 3.1 นกั เรียนทากจิ กรรมเลอื กวาดรปู อวยั วะภายนอกทสี่ าคญั บอกชอื่ ลักษณะ หน้าที่และความสาคญั คนละ 1 รูป 3.2 ตรวจผลงานของนกั เรยี นทกุ คน นักเรยี นนาผลงานของนักเรียนทุกคนนามาตดิ ทบ่ี อรด์ แสดงผลงาน ของนักเรียน 3.3 นกั เรยี นและครูร่วมกันสรปุ ลกั ษณะ หนา้ ที่และความสาคัญของอวัยวะภายนอกของมนษุ ย์ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1. แผนภาพลกั ษณะ หนา้ ทแ่ี ละความสาคญั ของอวยั วะภายนอกของมนุษย์ 2. หุ่นจาลองแสดงลกั ษณะอวยั วะภายนอกของมนุษย์ 3. ห้องสมุด 4. เอกสารประกอบการค้นควา้ เรือ่ ง ลกั ษณะ หน้าท่แี ละความสาคญั ของอวยั วะภายนอกของมนุษย์ 5. กระดาษปรฟู๊ และชุดข้อความของช่ือ ลกั ษณะ หนา้ ทแ่ี ละความสาคญั ของอวยั วะภายนอก 6. ปากกาเคมี 7. กระดาษวาดรปู 8. สไี ม้หรอื สเี ทยี น
92 การวัดและประเมนิ ผล ส่ิงท่ีจะประเมนิ 1. ความรู้ เรอื่ ง ลกั ษณะ หนา้ ทแี่ ละความสาคญั ของอวยั วะภายนอกของมนุษย์ 2. ประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรยี นร(ู้ ตัวช้ีวัด 4.1 ตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วม กจิ กรรมการเรียนร)ู้ 3. กระบวนการทางานและผลงานรายบุคคล ภาพวาดอวัยวะภายนอกทสี่ าคัญ บอกช่อื ลักษณะ หน้าที่ และความสาคัญ 4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นในดา้ นการสื่อสารนาเสนอผลงานเป็นรายบคุ คลหนา้ ช้ันเรยี น วิธกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพทแ่ี ท้จริง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน วิธกี าร/เครื่องมือ ผลงาน/ชน้ิ งาน เกณฑก์ ารผ่าน K-ความรู้ อธิบายลักษณะ หนา้ ท่ี แบบทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑร์ ะดบั และความสาคัญของ คุณภาพ 1 อวัยวะภายนอก A-คณุ ลักษณะ ข้อ 4 ใฝ่เรียนรู้ การสงั เกตพฤติกรรม คุณลักษณะอันพงึ ผ่านเกณฑร์ ะดบั ประสงค์ คุณภาพ 1 P-กระบวนการทางาน ตรวจผลงาน/สังเกต รปู ภาพอวยั วะภายนอก ผา่ นเกณฑร์ ะดบั รายบุคคล พฤติกรรมการทางาน ท่ีสาคัญ บอกชื่อ คณุ ภาพ 1 ลักษณะ หน้าทแี่ ละ ความสาคญั P-สมรรถนะสาคัญของ การสงั เกตพฤตกิ รรม สมรรถนะสาคัญในด้าน ผ่านเกณฑร์ ะดบั ผเู้ รียนในด้านการ ส่อื สารนาเสนอผลงาน การสอ่ื สาร คณุ ภาพ 1 รายบุคคลหน้าช้นั เรยี น
93 เกณฑ์การประเมนิ ประเดน็ การประเมิน ระดับคุณภาพ นา้ หนกั 0(ปรบั ปรงุ ) 1(ผา่ น) 2(ด)ี 3(ดเี ยีย่ ม) ความสาคญั K-ความรู้ จากขอ้ สอบวดั องค์ ไดค้ ะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน 3 ความรู้เกี่ยวกบั ลักษณะ 0-4 5-6 7-8 9-10 หนา้ ทแ่ี ละความสาคญั ของ อวัยวะภายนอก A-ตัวชว้ี ดั คณุ ลกั ษณะ ขอ้ ท่ี ไม่ตง้ั ใจเรยี น ตั้งใจเรยี น ตั้งใจเรยี น ตั้งใจเรยี น เอา 1 4.1 ตั้งใจเพยี รพยายามใน เอาใจใส่ เอาใจใสแ่ ละ ใจใสแ่ ละมี การเรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรม และมีความ มคี วามเพยี ร ความเพยี ร เพยี ร พยายามใน พยายามใน พยายามใน การเรียนรู้ การเรียนรู้ การเรียนรู้ และเขา้ ร่วม และเข้ารว่ ม และเขา้ ร่วม กิจกรรมการ กิจกรรมการ กจิ กรรมการ เรยี นรู้ เรียนร้เู ปน็ เรยี นรู้เปน็ บอ่ ยครง้ั ประจา บางครง้ั P-กระบวนการทางาน 1.ไมม่ ีการ 1. มีการวาง 1. มกี ารวาง 1. มกี ารวาง 1 รายบุคคล วางแผนในการ แผนการ แผนการ แผนการ -การสอื่ สารนาเสนอผลงาน ทางาน ทางาน แต่ ทางาน ท่ี ทางาน ทีเ่ ป็น -ผลงาน การวางแผน เป็นลาดบั ลาดับขัน้ ตอน ไมเ่ ปน็ ลาดบั ขั้นตอนการ การทางานท่ี ขัน้ ตอนการ ทางานเกอื บ สมบูรณ์ ทางาน สมบรู ณ์ 2. ไม่มีการ 2. มีการ 2. มกี าร 2. มกี ารปฏบิ ตั ิ 1 ปฏิบตั ติ ามแผน ปฏิบตั ิตาม ปฏบิ ตั ิตาม ตามแผนทีว่ าง ทีว่ างไว้ แผนที่วางไว้ แผนที่วางไว้ ไวอ้ ยา่ ง เปน็ บางสว่ น เปน็ สว่ น ครบถ้วน ใหญ่ ครบถว้ น สมบรู ณ์
94 ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ นา้ หนัก 0(ปรบั ปรงุ ) 1(ผ่าน) 2(ด)ี 3(ดีเยย่ี ม) ความสาคญั 3. ไม่มีการ 3. มีการ 3. มกี าร 3. มีการ 1 ประเมนิ ผลงาน ประเมนิ ผล ประเมินผล ประเมนิ ผล หรือมกี าร งานและนา งานและนา งานและนาผล ประเมินผลงาน ผลการ ผลการ การประเมนิ ไป แตไ่ ม่นาผลไป ประเมนิ ไป ประเมนิ ไป ปรับปรุง ใช้ในการ ปรับปรุง ปรับปรุงเปน็ ครบถว้ น ปรบั ปรงุ งาน เปน็ บางสว่ น สว่ นใหญ่ สมบูรณ์ 4. ไมม่ ีการ 4. มีการ 4. มกี าร 4. มีการ 1 อธบิ ายผลงาน อธบิ าย อธบิ าย อธิบายผลงาน ภาพวาด ผลงาน ผลงาน ภาพวาดให้ ภาพวาดให้ ภาพวาดให้ ผู้อ่ืนไดเ้ ข้าใจ ผู้อน่ื ได้ ผูอ้ น่ื ได้ อยา่ งชัดเจน เขา้ ใจ เขา้ ใจชัดเจน ไมค่ ลุมเครอื ชัดเจนเปน็ เป็นสว่ น บางส่วน ใหญ่ 5. ผลงาน 5. ผลงาน 5. ผลงาน 5. ผลงาน 2 ภาพวาดตอ้ ง ภาพวาด ภาพวาด ภาพวาด ปรบั ปรุง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถว้ น สวยงาม สวยงามดี สวยงามดเี ยย่ี ม พอใช้ เกณฑก์ ารตัดสิน/ระดบั คุณภาพ คะแนน 27 – 30 หมายถึง ดมี าก คะแนน 21 – 26 หมายถึง ดี คะแนน 16 – 20 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 0 – 15 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผา่ น นักเรยี นกลมุ่ เกง่ ผา่ นระดับดมี าก นกั เรียนกลมุ่ ปานกลาง ผา่ นระดับดีขึ้นไป และนกั เรียนกลมุ่ อ่อน ผ่านระดบั พอใชข้ ึน้ ไป
95 บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................ ............................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... . ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรใู้ นคร้ังตอ่ ไป .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ความคดิ เห็นของผู้บรหิ าร .............................................................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................................................. (......................................................) ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ............................................................. วันท่ี ....... เดือน............................พ.ศ. ............
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114