Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยฯ

รายงานการวิจัยฯ

Published by Rawat Yukerd, 2021-07-04 03:59:47

Description: วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เรื่อง ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา

Search

Read the Text Version

1

ก ช่ือเรือ่ ง ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวน ผูว้ จิ ัย ชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา นายเรวัตร อย่เู กดิ ครู กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา อำเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 บทคัดยอ่ การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน รายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ในนักเรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการใช้ชุดสื่อการสอน เรื่อง การนับ จำนวนชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ และไมโอซสิ ซึง่ กลุ่มตวั อยา่ งของการวจิ ยั ในครง้ั นี้ คอื นกั เรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา ภาคการศึกษาต้น ปีการศกึ ษา 2563 ท่มี ผี ลสัมฤทธ์ิในการเรียน ตำ่ ในเรือ่ ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส เครื่องมือท่ใี ช้ในการศึกษาแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน สว่ นแรกเป็นเครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัย คอื แบบทดสอบยอ่ ยเกบ็ คะแนน เรอื่ ง การนบั จำนวน ชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส และสว่ นทส่ี องเปน็ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการดำเนินการ คือ ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอ ซิส ซึ่งประกอบไปด้วยชุดสีไม้สำหรับจัดการเรียนการสอนเรื่องการนบั จำนวนชุดโครโมโซม และดินนำ้ มนั ป้นั จำลองการเกิดการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ และไมโอซสิ ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2563 ที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรยี นต่ำ หลังจากได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอน เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า ก่อนได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอน โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับดี คือ สูงกว่าร้อยละ 70 ของ คะแนนเตม็ อกี ทง้ั เม่ือเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนพบว่าหลังใช้ชุดการสอนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูง กว่าก่อนใชช้ ุดการสอนอยา่ งมีนัยสำคญั ทร่ี ะดบั .01

ข สารบญั หน้า บทคดั ย่อ........................................................................................................................................................... ก สารบัญ.............................................................................................................................................................. ข สารบัญตาราง.....................................................................................................................................................ง บทท่ี 1 บทนำ ................................................................................................................................................... 1 1. ท่ีมาและความสำคัญ ................................................................................................................................ 1 2. คำถามการวจิ ยั ......................................................................................................................................... 2 3. วตั ถุประสงค์การวจิ ัย................................................................................................................................ 2 4. สมมติฐานการวิจัย.................................................................................................................................... 2 5. ขอบเขตการวิจยั ....................................................................................................................................... 3 6. คำจำกัดความทใ่ี ช้ในการวิจยั ................................................................................................................... 3 7. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั ....................................................................................................................... 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง............................................................................................................ 4 1. ชุดการสอน............................................................................................................................................... 4 1.1 ความหมายของชุดการสอน................................................................................................................ 4 1.2 ข้นั ตอนในการผลิตชุดการสอน .......................................................................................................... 5 1.3 ประเภทของชดุ การสอน .................................................................................................................... 7 1.4 ข้อดขี องชดุ การสอน........................................................................................................................... 8 2. แบบจำลองวทิ ยาศาสตร์........................................................................................................................... 9 2.1 ความหมายของแบบจำลองวิทยาศาสตร์.......................................................................................... 9 2.2 ประเภทของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ ................................................................................................ 9 2.3 การสร้างแบบจำลอง........................................................................................................................ 10 2.4 การใชห้ นุ่ จำลอง(Model) ในการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์................................................................... 11 2.5 ความสำคัญของแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์......................................................................................... 11 3. งานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง................................................................................................................................. 12

ค สารบญั หน้า บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย ............................................................................................................................... 14 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง..................................................................................................................... 14 2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ......................................................................................................................... 14 3. เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการศกึ ษา ...................................................................................................................... 14 4. ข้นั ตอนในการสร้างเครอ่ื งมือ.................................................................................................................. 14 4.1 เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั .................................................................................................................. 14 4.2 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการดำเนินการ........................................................................................................ 15 5. วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ........................................................................................................................ 15 6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล................................................................................................................................. 15 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ........................................................................................................................ 17 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ยั .................................................................................................................................. 20 สรปุ ผลการวิจยั ........................................................................................................................................... 21 อภปิ รายผลการวิจัย .................................................................................................................................... 21 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................... 22 บรรณานุกรม................................................................................................................................................... 23 ภาคผนวก........................................................................................................................................................ 25

ง สารบัญตาราง ตารางท่ี 1 แสดงกลุ่มจำนวนของนักเรยี นตามช่วงคะแนน.............................................................................. 17 ตารางที่ 2 แสดงคะแนนของนักเรยี นกลุ่มควรปรบั ปรุงแจกแจงเปน็ รายบุคคล .............................................. 17 ตารางท่ี 3 แสดงผลคะแนนทดสอบยอ่ ยเปรยี บเทยี บระหวา่ งก่อนการใชช้ ุดการสอนและหลงั การใช้ชุดการสอน.......18 ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าสถิตทิ ดสอบที (T-test) และค่า Sig.............................. 18 ตารางที่ 5 แสดงการวิเคราะห์ผลดว้ ยโปรแกรม SPSS.................................................................................... 19

5

1 บทที่ 1 บทนำ 1. ทีม่ าและความสำคัญ ชีววิทยา เป็นวิชาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับ การศึกษาธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์อีกทัง้ ยังเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งเป็นประโยชน์ ในการปรับปรุงผลผลิตทางการเกษตร อตุ สาหกรรม การสาธารณสุข และสงิ่ แวดล้อม ซง่ึ จะทำให้คุณภาพชีวิต ของมนษุ ย์ดีข้ึนกว่าทเี่ ป็นอยู่ (สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2554: 1) การจัดการเรียนการสอนชีววิทยา มีเป้าหมายสำคัญนอกจากจะต้องทำให้นักเรียนเข้าใจทฤษฎีที่เป็น พื้นฐานทางชีววิทยา ตระหนักถึงความสำคัญของชีววิทยาที่มีต่อสังคมมนุษย์และการดำรงชีวิตแล้ว (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2554: 1) ยังมุ่งเน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซ่ึง ประกอบดว้ ย การสังเกต การรวบรวมข้อมูล การทดลอง และการสรปุ ผลเปน็ สำคัญ การจัดการเรยี นรูจ้ ึงเป็น แบบที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาการทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ความรู้ ความคดิ เจตคติอารมณ์ และด้านจิตทกั ษะ (สกลุ มลู แสดง, 2554: 77) วิธกี ารจัดการเรียนการสอนชีววทิ ยาท่ีดที ่สี ุดนนั้ ไม่ได้ถกู กำหนดไว้อย่างตายตวั ครผู ู้สอนจะตอ้ งใช้ ดุลยพนิ ิจ ในการพิจารณาเลอื กวิธีการจัดการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกบั เนื้อหาไม่จำเป็นวา่ จะใชเ้ พียงวธิ เี ดยี ว โดยตลอด แต่ โดยส่วนใหญ่แล้วครผู ู้สอนมักจะบรรยายมโนทัศน์และมผี ูเ้ รียนเป็นผู้รับฟังและคัดลอกข้อมลู ลงในสมุดบันทึก (พัดตาวัน นาใจแก้ว, 2557: 4) ซึ่งในความเป็นจริงนั้นวิชาชีววิทยาเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตัวค่อนข้างมาก ครชู วี วทิ ยาจงึ ต้องมีความรู้เก่ียวกบั สื่อการสอนเฉพาะทาง โดยจะต้องสามารถ เลือกและใชส้ ่ือสำหรับเนอ้ื หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปัจจพุ บวา่ บนั นักเรียนบางส่วนยังคงมีปัญหาในการทำความเข้าใจกับเน้ือหาในรายวิชาชีววิทยาซึ่งปัญหาน้ี อาจเกิดมาจากทัศนคติที่คิดว่าวิชาชีววิทยาเป็นวิชาที่มีเนื้อหาเยอะ ยากต่อการทำความเข้าใจการเรียนการ สอนมีเฉพาะการบรรยาย มกี ิจกรรมหรอื สื่อท่ใี ช้ประกอบในการเรยี นการสอนนอ้ ย โดยหลังจากผ้วู ิจยั ได้จดั การ เรียนการสอนรายวิชา ชีววิทยา1 ว30251 เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ด้วยวิธีการสอนแบบบรรยายแล้วทำการทดสอบย่อยเพื่อเก็บคะแนนในนักเรียน ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 พบวา่ มีนกั เรียนจำนวน 7 คน ทส่ี อบไม่ผ่านในการทดสอบยอ่ ยครง้ั นี้ ซึ่งคิดเปน็ ร้อย ละ 8.75 จากนกั เรยี นทงั้ หมด โดยคะแนนของนกั เรียนกลุ่มดังกลา่ วอย่รู ะหว่าง 2 - 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน เมอื่ คิดเปน็ ร้อยละแล้วพบวา่ เปน็ คะแนนทีไ่ มถ่ ึงร้อยละ 50 จากคะแนนเตม็ ถือวา่ เปน็ คะแนนท่อี ยู่ ในระดับต่ำมาก โดยเมื่อครูผู้วิจัยเข้าไปทำการสัมภาษณ์นักเรียนกลุ่มดังกล่าว พบว่านักเรียน 5 ใน 7 คน มี ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั วิชาชีววิทยาวา่ เปน็ วิชาทม่ี ีเน้ือหาและศัพทเ์ ฉพาะที่เยอะและยาก ต้องใชเ้ วลาในการอ่าน มากกว่าปกติ อีกท้ังยังมีความเห็นว่าอยากให้มีสื่อการสอนที่สามารถจับต้องได้และเป็นรูปธรรมมากกว่า วีดิทัศน์

2 การนำแบบจำลองมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาไดเ้ สนอแนะว่าสามารถช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรู้วิทยาศาสตรไ์ ด้ แบบจำลองเป็นตัวแทนของ วัตถุปรากฎการณ์หรือแนวคิด (Gillbert, 2000 อ้างถึงใน พัดตาวัน นาใจแก้ว, 2557: 4) มีรายงานการวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์ศกึ ษาพบวา่ การใชแ้ บบจำลองทางวิทยาศาสตร์ช่วยทำให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรูด้ ้วยตนเอง จ า ก ก า ร เ ร ีย น ร ู ้ จา ก แบ บ จ ำ ล อง ( Treagust, Chittleborough แ ล ะ Mamiala, 2002 อ ้ า ง ถึง ใน พัดตาวัน นาใจแก้ว, 2557: 4) และแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ทำให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจในเนื้อหาได้ ลึกซึ้งขึ้น (Krell, Belzen and Kruger, 2012; Shwartz et al., 2007. 2009 อ้างถึงใน พัดตาวัน นาใจแก้ว, 2557: 4) จากความสำคัญข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะคิดค้นหาวธิ ีการหรือสือ่ การเรียนรู้ที่จะนำมาใช้พัฒนา ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนกล่มุ ดังกลา่ ว จงึ ทำให้ผูว้ จิ ัยจัดทำชุดส่อื การสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโอซิสและไมโทซิสขึ้น โดยผู้วิจัยทำการศึกษาผลของ การใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาวิธีการจัดการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางในการการผลิตสื่อที่จะช่วยพัฒนา ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสใหด้ ยี ิ่งขน้ึ 2. คำถามการวิจัย 1) ชดุ การสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ ไมโอซิส จะสามารถช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในนักเรียนในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นสรรพยาวิทยา ท่ีมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตำ่ ได้หรือไม่ 3. วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาชีววิทยา1 เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การ แบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิส ในนักเรยี นทม่ี ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่ำ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ก่อน และหลังการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซสิ 4. สมมติฐานการวจิ ัย 1) นกั เรยี นทท่ี ำแบบทดสอบย่อยเกบ็ คะแนน เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส และไมโอซิส ได้คะแนนไมผ่ ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 50 เมอื่ ได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิสแลว้ จะมีผลคะแนน สูงกว่ากอ่ นไดร้ ับ การสอนด้วยชุดการสอน และคะแนนที่ได้อยู่ในระดับดี คือได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ของ คะแนนเต็ม

3 2) นักเรียนทที่ ำแบบทดสอบยอ่ ยเกบ็ คะแนน เรือ่ ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส และไมโอซิส ได้คะแนนไม่ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 50 เมอ่ื ไดร้ บั การสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสแล้วจะมผี ลคะแนน สูงกว่ากอ่ นได้รบั การสอนด้วยชุดการสอน อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .01 5. ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2563 จำนวน 54 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา ภาคการศึกษาตน้ ปีการศึกษา 2563 ที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำในเรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิส และไมโอซิส จำนวน 7 คน 6. คำจำกดั ความทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย 1) ชุดการสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ เร่ือง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและ ไมโอซิส หมายถึง สื่อการสอนที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้นประกอบการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การนับจำนวน ชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลมุ่ ที่มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นต่ำ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนสอบย่อย เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซสิ และไมโอซิส 7. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั 1) ทำให้นักเรียนเกดิ ความรูค้ วามเข้าใจใน เรอ่ื ง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส และไมโอซสิ มากยง่ิ ขน้ึ 2) ทำให้ทราบแนวทางการผลติ สื่อการเรยี นรทู้ ่จี ะชว่ ยพฒั นาการจัดการเรียนการสอน เรื่องการนบั จำนวน ชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซสิ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

4 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง การวิจัยเรื่อง “ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวน ชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน สรรพยาวิทยา” ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยต่าง ๆ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการศึกษา โดย ผูว้ ิจัยได้กำหนดขอบเขตเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดงั ต่อไปน้ี 1. ชุดการสอน 1.1 ความหมายของชุดการสอน 1.2 ขน้ั ตอนในการผลติ ชดุ การสอน 1.3 ประเภทของชดุ การสอน 1.4 ข้อดีของชดุ การสอน 2. แบบจำลองวิทยาศาสตร์ 2.1 ความหมายของแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ 2.2 ประเภทของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ 2.3 การสรา้ งแบบจำลอง 2.4 การใชห้ ุ่นจำลอง(Model) ในการสอนวิทยาศาสตร์ 2.5 ความสำคัญของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ 3. งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 1. ชุดการสอน 1.1 ความหมายของชุดการสอน ชุดการสอน คือ การนำระบบสื่อประสม ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและประสบการณ์ของแต่ละหน่วย มาช่วยให้การเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (ชัยยงค์ พรหมวงศ์และคณะ, 2521: 91 อ้างถงึ ใน บงกช บญุ เจรญิ , 2553: 15) ชุดการสอน เป็นสื่อการสอนชนิดหนึ่งซึ่งเป็นชุดของสื่อประสม ชุดการสอน หมายถึง การใช้สื่อการ สอนตง้ั แตส่ องชนิดขนึ้ ไปร่วมกนั เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับความรู้ตามต้องการ สอ่ื ทจ่ี ะนำมาใชร้ ่วมกันนี้จะช่วยเสริม ประสบการณ์ซึ่งกนั และกันตามลำดบั ข้นั ที่จดั เอาไว้ (บญุ เกือ้ ควรหาเวช, 2545: 91 อา้ งถึงใน ปัญญา ไผ่ทอง, 2549: 16) ซงึ่ สอดคล้องกับ บญุ ชม ศรสี ะอาด ทไ่ี ด้ให้ความหมายของชดุ การสอนไวว้ า่ เปน็ สื่อการเรียนหลาย อย่างประกอบกัน เรียกว่า สื่อประสม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ (บุญชม ศรีสะอาด, 2537: 95 อ้างถึงใน จริยา ทศพร, 2553: 29)

5 ชุดการสอน หมายถึง ระบบการผลิต และการใช้สื่อประสมอย่างเป็นระบบโดยให้สอดคล้องกับ วิชา หน่วย และหัวข้อเรือ่ งนัน้ ๆ วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรยี นการสอนประกอบด้วย คู่มือครู เนื้อหาข้อมูลท่ี เชื่อถือได้ แบบฝึกหัด และมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนเอาไว้อย่างครบครัน เพื่อช่วยให้เกิดการ เรียนรู้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (ชลยิ า ลิมปยิ ากร, 2540: 293 อ้างถึงใน ปญั ญา ไผท่ อง, 2549: 17) ชุดการสอน หมายถึง ระบบการผลิตและการนำสื่อประสมที่สอดคล้องกับวิชา หน่วยการสอน และ หัวเรื่อง มาช่วยในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย อย่างมปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ขนึ้ (เพญ็ ศรี สร้อยเพ็ชร, 2542: 3 อา้ งถงึ ใน จริยา ทศพร, 2553: 30) จากความหมายของชุดการสอนข้างต้น สรุปได้ว่า ชุดการสอน หมายถึง สื่อประสมที่ครูผู้สอนเลือก นำมาใช้ให้สอดคล้องกับวิชา หน่วย และหัวข้อเรื่องต่าง ๆ เพื่อให้การตัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ข้นึ 1.2 ขนั้ ตอนในการผลิตชุดการสอน ฉลองชัย สุขวัฒนบูรณ์ (2528, หน้า 190-200) ได้เสนอขั้นตอนในการสร้างชุดการสอนหรือสื่อการ สอนประกอบดว้ ยขนั้ ตอนสำคญั 3 ขน้ั ตอนดงั น้ี 1) ขั้นการวางแผนดำเนินการ โดยศึกษาสาระของวิชาว่าต้องการหลักการเรียนรู้ อะไรจะทำชุดแบบใด โดยคำนึงถึงผู้เรียนเพ่ือกำหนดหน่วยการเรยี น มโนมติ จุดประสงค์ จัดลำดับ กิจกรรม การเรยี น จัดทำสอ่ื การสอน ประเมินผลและทดลองสื่อการสอน 2) ขั้นตอนการผลิต โดยผลิตตามขั้นตอน ที่ 1 โดยผู้ผลิตควรตรวจสอบความ สอดคล้องของทุก ขนั้ ตอนกำหนดเป้าหมายเพือ่ แก้ปญั หา โดนสามารถปฏิบตั หิ รือเหน็ การกระทำได้ 3) ข้นั ทดสอบประเมินผล หรือพัฒนาเมื่อทำการผลิตชุดการสอนแล้ว โดยนำไปหาประสิทธภิ าพ เม่ือ เป็นหลกั ประกนั ว่าชดุ การสอนนน้ั มคี ณุ ค่าทจ่ี ะนำไปสอน ชัยยงค์ พรมวงศ์ (2545) ไดอ้ ธบิ ายขัน้ ตอนการผลติ ชุดการสอนอย่างมีระบบ ในการผลติ ชดุ การสอน แผนจฬุ าหรือเรยี กย่อ ๆ วา่ CHULA PLAN โดยมรี ายละเอยี ดข้ันตอน 10 ขน้ั ตอนดังน้ี 1) การกำหนดหมวดหมู่เนื้อหาและประสบการณ์ เป็นการกำหนดหมวดวิชา กลุ่มประสบการณ์หรอื อาจจะเป็นการบูรณาการกบั เนื้อหาวชิ าอนื่ 2) กำหนดหน่วยการสอน ในขั้นนี้ก็เป็นการแบ่งเนือ้ หาวิชาออกเป็นหน่วย สำหรับการสอนในแต่ละ คร้ังซ่งึ อาจเป็นหนว่ ยการสอนละ 60 นาที 120 นาที หรอื 180 นาที โดยจะขนึ้ อยูก่ ับเน้ือหาวิชาหรอื ระดับช้ัน 3) กำหนดหัวเรื่อง เมื่อกำหนดหน่วยการสอนแต่ละครั้งได้แล้ว ก็เป็นการแบ่งเนื้อหาของหน่วยการ สอนนั้นให้ย่อยลงมาอย่างที่เรียกได้ว่า หัวเรื่อง โดยพิจารณาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนในเนื้อหานั้น ๆ ประกอบกัน

6 4) กำหนดมโนทัศนแ์ ละหลักการ เปน็ การกำหนดสาระสำคัญจากหวั เรอื่ งในหน่วยนน้ั ๆ โดยพิจารณา ว่าในหัวเรื่องนัน้ มีสาระสำคัญหรอื หลักเกณฑอ์ ะไรท่ีผู้เรียนจะต้องเรียนรู้หรือให้เกิดขึ้นหลังจากเรียนจากชดุ การสอน 5) กำหนดวัตถปุ ระสงค์ เป็นการเขยี นจุดประสงค์ของการสอนในหน่วยนั้น เพื่อจะทราบได้ว่าผู้เรยี น ควรจะตอ้ งมีพฤติกรรมอย่างไร หลังจากทเ่ี รยี นในเรอ่ื งนนั้ แลว้ 6) กำหนดกิจกรรมการเรียนกำหนดกิจกรรมการเรียนในชุดการสอนในแต่ละหน่วย จะต้องให้ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมท่ีกำหนดไว้ ซึ่งจะเป็นแนวทางในการผลิตส่อื การสอนต่อไป 7) กำหนดการประเมินผล เป็นการกำหนดวิธีการที่จะวัดดูว่าผู้เรียนเรียนแล้วสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ของหนว่ ยเนื้อหานั้น ๆ หรือไม่ โดยพจิ ารณาวัตถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรมที่เตรียมไว้ 8) การเลือกและผลิตส่อื การสอนในการน้จี ะตอ้ งพิจารณาว่า ลกั ษณะเนือ้ หาและลกั ษณะผู้เรียนตามที่ กำหนดไว้ สื่อชนิดใดหรือกิจกรรมการเรียนแบบใดจึงจะเหมาะสมสอดคล้อง และทำให้ผู้เรียนบรรลุ วัตถุประสงคข์ องการเรยี นไดม้ ากทสี่ ดุ 9) การหาประสิทธิภาพชดุ การสอน เม่อื สรา้ งชุดการสอนเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว จำเปน็ ที่จะตอ้ งนำชดุ การ สอนไปทดลองใช้ เพื่อตรวจดูว่าชุดการสอนนั้นสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์เพียงใด และหากพบว่ายังมีข้อบกพร่องก็จะนำไปปรับปรุงแก้ไขจนทำให้การเรียนรู้จากชุดการสอนนั้น บรรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีวางไว้ 10) การใช้ชุดการสอน ชุดการสอนที่ผ่านการทดลองหาประสิทธิภาพและปรับปรุงแล้วจึง จะสามารถนำไปใช้ในห้องเรียนปกตไิ ด้ โดยจะมีข้นั ตอนต่าง ๆ ในการใชด้ ังนี้ คือ 10.1) ผ้เู รียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่อื พิจารณาความรู้พ้นื ฐานของผ้เู รียนก่อนเรียนเน้ือหา นนั้ ๆ 10.2) ข้ันนำเข้าส่บู ทเรยี น 10.3) ขน้ั ประกอบกิจกรรมการเรยี นการสอน 10.4) ขั้นสรุปบทเรยี น 10.5) ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อพิจารณาว่าผู้เรียนบรรลุวตั ถุประสงค์ของการเรียน การสอนมากนอ้ ยเพียงใด จากขั้นตอนในการผลิตชุดการสอน ดังกล่าว สรุปได้ว่าการผลิตชุดการสอนประกอบดว้ ย 3 ขั้นตอน ใหญ่ ได้แก่ 1). การวางแผน เปน็ การวางแผนกอ่ นการจัดทำชุดการสอน โดยจะประกอบด้วย 7 ขั้นตอนย่อย ได้แก่ การกำหนดเนื้อหา การกำหนดหน่วยการสอน การกำหนดหัวเรื่อง การกำหนดสาระ การกำหนด วตั ถปุ ระสงค์ การกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการกำหนดการประเมินผล 2). การผลิตส่อื เป็นการ ผลติ สื่อให้สอดคลอ้ งกับแผนทกี่ ำหนดเอาไว้ 3). การนำชุดการสอนไปใช้พร้อมทง้ั ทดสอบหาประสิทธิภาพของ ชดุ การสอนดงั กลา่ ว

7 1.3 ประเภทของชุดการสอน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523, หน้า 118-119) ได้จำแนกประเภทของชุดการเรียนการสอนออก เปน็ ประเภทใหญๆ่ 4 ประเภท คอื 1) ชุดการเรียนการสอนประกอบคำบรรยาย เป็นชุดการเรียนการสอนที่มุ่งขยายเนื้อหาสาระ แบบบรรยายให้ชัดเจนขึ้น โดยกำหนดกิจกรรม และสื่อการสอนให้ครูใช้ประกกอบการบรรยายบางครั้งจึง เรียกวา่ “ชุดการเรียนการสอนสำหรบั ครู” ชุดการเรยี นการสอนนี้จะมีเนื้อหาวิชาเพียงหน่วยเดยี ว และใช้กบั ผู้เรยี นทงั้ ช้ัน โดยแบ่งหวั ขอ้ ท่ีจะบรรยายและกิจกรรมไว้ตามลำดับขนั้ ทัง้ นี้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ครูผู้สอน และเพื่อเปลี่ยนบทบาทการพูดของครูให้น้อยลงเป็นการเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ มีส่วนในการจัดกิจกรรมการ เรียนมากยิ่งขึ้น ชุดการเรียนการสอนประกอบคำบรรยายนี้นิยมใช้กับการฝึกอบรมและการสอนใน ระดับอดุ มศึกษา สื่อการสอนท่ใี ชอ้ าจเป็นแผน่ คำสอน แผนภมู ิ รูปภาพ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ หรือกจิ กรรมกลุ่ม เป็นต้น ชุดการเรียนมกั จะบรรจุในกล่องที่มีขนาดเหมาะสม แต่ถ้าเป็นวัสดุราคาแพง ทีมีขนาดเล็กหรอื ขนาด ใหญ่เกินไป ตลอดจนเสียหายง่ายหรือเป็นสิ่งมีชีวิต ก็จะไม่บรรจุในกล่อง แต่จะกำหนดไว้ใน คู่มือครู เพ่ือ จดั เตรียมกอ่ นสอน 2) ชุดการเรียนการสอนสำหรับกิจกรรมแบบกลุ่ม เป็นชุดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นที่ตัวผู้เรียนได้ ประกอบกิจกรรมร่วมกัน ครูจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้บรรยายเป็นผู้แนะนำช่วยเหลือผู้เรียน ชุดการเรียน การสอนแบบกิจกรรมกลุ่มอาจจัดการเรียนในห้องเรียนแบบศูนย์การเรียน ชุดการเรียนการสอนแต่ละชุด จะประกอบด้วย ชุดการสอนย่อยที่มีจำนวนเท่ากับจำนวนที่แบ่งไว้ในแต่ละหน่วย ในแต่ละศูนย์มีชื่อหรือ บทเรียนครบชุดตามจำนวนผูเ้ รียนในศูนย์กิจกรรมนั้น ๆ จัดไว้ในรปู สื่อประสม อาจใช้เป็นสือ่ รายบุคคล หรือ ทั้งกลุ่มใชร้ ่วมกนั ก็ได้ ในขณะทำกจิ กรรมการเรยี น หากมปี ัญหาผู้เรียนสามารถซักถามครไู ด้เสมอ เมื่อจบการ เรียนแต่ละศูนย์แล้ว ผู้เรียนสนใจที่จะเรียนเสริมก็สามารถศึกษาได้จากศูนย์สำรองที่จัดเตรียมไว้ โดยไม่ต้อง เสยี เวลารอคอยคนอืน่ 3) ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล เป็นชุดการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเอง ตามคำแนะนำที่ระบุไว้ แต่อาจมีการปรึกษากันระหว่างเรียนได้และเมื่อสงสัยไม่เข้าใจบทเรียนตอนไหน สามารถไต่ถามครูได้ การเรียนจากชุดการเรียนการสอนรายบุคคลนี้ นิยมใช้ห้องเรียนที่มีลักษณะพิเศษ แบ่งเป็นสัดส่วนสำหรับผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งเรียกว่า “ห้องเรียนรายบุคคล” ชุดการเรียนการสอนรายบุคคลน้ี นกั เรยี นอาจนำไปใช้เรียนที่บ้านได้ด้วย โดยมีผู้ปกครองหรอื บุคคลอ่นื คอยให้ความชว่ ยเหลือ ชุดการเรียนการ สอนรายบคุ คลนี้เนน้ หนว่ ยการสอนย่อย จงึ นยิ มเรยี กว่า บทเรียนโมดลู (Instruction Module)

8 4) ชุดการเรียนการสอนทางไกล เป็นชุดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนต่างถ่ิน ต่างเวลา มุ่งสอนให้ ผเู้ รยี นศกึ ษาด้วยตนเอง โดยไมต่ ้องมาเข้าชั้นเรียน ประกอบด้วย สือ่ ประเภทสงิ่ พิมพ์ รายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และการสอนเสรมิ ตามศูนยบ์ ริการการศกึ ษา เช่น ชุดการเรียนการสอนทางไกลของ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช เปน็ ต้น สอดคล้องกับชม ภูมิภาค (2524, หน้า101-102) ที่ได้แบ่งประเภทของชุดการสอนออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1). ชุดการเรียนการสอนแบบบรรยาย 2). ชุดการเรียนการสอนสำหรับกิจกรรมแบบกลุ่ม 3). ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล ดังนนั้ จึงสรปุ ไดว้ ่าชุดการสอนที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในห้องเรียนแบบปกติสามารถ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลัก ๆ คือ 1). ชุดการสอนแบบบรรยาย 2). ชุดการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม และ 3). ชุดการสอนรายบคุ คล แต่สำหรับในกรณีท่ีมีการจัดชุดการสอนที่เอ้ือประโยชนใ์ ห้แก่นักเรยี นท่ีอยู่ในพ้นื ที่ หา่ งไกล ไม่สามารถมาเข้าเรยี นในเวลาปกติได้ จงึ อาจจะมีชดุ การสอนเพ่ิมข้นึ อกี ประเภทหนง่ึ คือ ชุดการสอน ทางไกล 1.4 ข้อดขี องชดุ การสอน 1) ช่วยให้ครูผู้สอนถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ที่สลับซับซ้อน โดยมีลักษณะเนื้อหาที่เป็น รปู ธรรมสูง เช่น การทำงานของเครอื่ งกล อวยั วะในรา่ งกาย หรอื การเจริญเตบิ โตของสตั วช์ ้นั ตำ่ ลกั ษณะเช่นนี้ ผู้สอนจะไม่สามารถถ่ายทอดหรือบรรยายได้ดี (ชัยยงค์และคณะ, 2540: 121 อ้างถึงใน บงกช บุญเจริญ, 2553: 19) 2) ทำให้ครูมเี วลาเพียงพอในการเตรยี มการสอน และค้นคว้าเพ่ิมเติมให้เปน็ ไปตามท่ีชุดการสอนระบุ ไว้เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพของการเรียนการสอน รวมทงั้ มีเวลาในการตรวจแบบฝกึ หดั หรอื แบบทดสอบ แทนที่ ทุ่มเวลาในการทำสื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูที่ไม่มีความสามารถในด้านนี้จะเป็นปัญหามาก และใน ทส่ี ุดจะไม่ยอมใชส้ ื่อการเรียนการสอน (วาสนา, 2525: 139 อา้ งถึงใน บงกช บุญเจริญ, 2553: 19) 3) ทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ในแนวเดียวกัน ผู้สอนแต่ละคนย่อมมีความรู้และความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ในเร่อื งเดียวกันแตกต่างกนั ผู้เรยี นอาจจะไดร้ ับความรู้และรายละเอยี ดต่าง ๆ คนละแนวทาง กนั ชุดการสอนมจี ุดม่งุ หมายทีช่ ัดเจนที่เปน็ พฤติกรรมมขี ้อเสนอแนะกจิ กรรมการใช้สื่อและขอ้ สอบเพ่ือประเมิน พฤติกรรมไว้อยา่ งพร้อมมูล (นพิ นธ์, 2520: 63 อา้ งถึงใน บงกช บุญเจริญ, 2553: 19)

9 4) ช่วยเร้าและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน สนับสนุนและสนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ประสบการณ์แก่ผู้เรียนในแนวทางเดียวกัน ช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์และ บคุ ลิกภาพของผ้สู อน ช่วยลดภาระและสรา้ งความม่นั ใจให้แก่ครูผูส้ อน ชว่ ยลดปญั หาการขาดแคลนครูหรือผู้มี ประสบการณ์เฉพาะทางได้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนตนเองในด้านความกล้าแสดงออก (พรรณภิ า องศลุ าภะ, 2551: 53 อา้ งถึงใน ณัฐสร สาทศลิ ป์, 2557: 16) 2. แบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ 2.1 ความหมายของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ แบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ตวั แทนทางความคิดท่นี กั วิทยาศาสตร์ใช้ในการอธิบายและทำนาย ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ ทำให้มองเห็นความสัมพันธ์ของมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และเป็นที่ยอมรับ ของชมุ ชนวทิ ยาศาสตร์ (Cartier, 2000: 13 อ้างถงึ ใน จงกล บุญรอด, 2557: 45) แบบจำลองวิทยาศาสตร์ เป็นตัวแทนในการนำเสนอโครงสร้างทฤษฎี มโททัศน์ ที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นหรือสังเกตได้โดยตรง (Windschitk, Thompson and Braaten, 2007: 4 อ้างถึงใน จงกล บุญรอด, 2557: 45) แบบจำลองวิทยาศาสตร์ หมายถึง แนวคิด หรือการสร้างแนวคิดที่อธิบายสาเหตุของปรากฎการณ์ ธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง (National Center for Mathematics and Science, 2002: online อ้างถึงใน ปิยะณฐั นนั ทการณ์, 2551: 43) จากความหมายของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ข้างต้นอาจสรุปได้ว่า แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ตัวแทนทางความคิดที่สร้างขึ้นเพื่อนำเสนอหรืออธิบาย ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ทฤษฎี หรือ มโนทัศนท์ ่เี กี่ยวข้องกบั วิทยาศาสตร์ซงึ่ ไมอ่ าจมองเหน็ หรือสงั เกตได้โดยตรง 2.2 ประเภทของแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ Gilbert, Boulter and Elmer ได้จำแนกแบบจำลองตามลักษณะที่ใช้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ออกเป็น 8 ประเภท ดังนี้ (Gilbert, Boulter and Elmer, 2000: 12 และ Gilbert, 2004: 117-118 อ้างถึง ใน โกเมศ นาแจ้ง, 2554: 30-31) 1) แบบจำลองทางความคดิ (Mental Model) คือ การเปน็ ตวั แทนทางสติปญั ญาเฉพาะบุคคลท่ีสร้าง ข้นึ โดยบคุ คลน้ันและอยู่ในความคิดของบุคคลน้ัน 2) แบบจำลองที่แสดงออก (Expressed model) คือ การเป็นตัวแทนแบบจำลองทางความคิดท่ี บุคคลได้ส่อื สารใหผ้ อู้ ่นื รับรู้ 3) แบบจำลองที่เป็นมติ (Consensus Model) คือ แบบจำลองที่แสดงออกซึ่งได้รับการยอมรับจาก กลุ่มบุคคลหรือชั้นเรียนที่ศกึ ษาเร่อื งนน้ั ๆ จากการไดอ้ ภิปรายหรือทำการทดลองจนมีความเห็นรว่ มกัน

10 4) แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ (Science Model) คือ แบบจำลองที่แสดงออกที่ได้รับการยอมรับ จากประชาคมวิทยาศาสตร์ จากการไดท้ ดสอบดว้ ยการทดลองและเผยแพรผ่ า่ นวารสารดชิงวิชาการต่อไป หรือ เปน็ แบบจำลองท่นี ักวิทยาศาสตร์ไดส้ ำรวจตรวจสอบและสรา้ งข้ึนเพอื่ ใชอ้ ธิบายปรากฎการณ์ เช่น แบบจำลอง อะตอมของชโรดิงเจอร์ แบบจำลองรอยต่อp-n ในสารกง่ึ ตัวนำ และแบบจำลองเชอ้ื ไวรัส เป็นต้น 5) แบบจำลองทางประวัติศาสตร์ (Historical Model) คือ แบบจำลองที่เคยได้รับการยอมรับจาก ประชาคมวทิ ยาศาสตร์ เช่น แบบจำลองอะตอมของบอร์ แบบจำลองการนำไฟฟา้ ตามกฎของโอหม์ เปน็ ตน้ 6) แบบจำลองที่ใช้ในหลักสูตร (Curricular Model) คือ แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์หรือ แบบจำลองทางประวัตศิ าสตร์ท่ีอยูใ่ นรูปแบบของการทำความเข้าใจได้งา่ ยข้ึน 7) แบบจำลองที่ใช้ในการสอน (Teaching Model) คือ แบบจำลองที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยส่งเสริมการ เรยี นรู้ แบบจำลองท่ีใช้ในหลักสูตร เชน่ การใช้แนวเทียบของอะตอมกับระบบสรุ ยิ ะ เป็นต้น ซึ่งแบบจำลองนี้ สามารถพฒั นาได้โดยครูผูส้ อนหรอื นักเรียน 8) แบบจำลองผสม (Hybrid Model) คือ แบบจำลองที่ครูผู้สอนได้รวบรวมลักษณะของแบบจำลอง วิทยาศาสตร์ แบบจำลองประวัติศาสตร์ หรือแบบจำลองที่ใช้ในหลักสูตรในบริบทของการสืบสอบ ซ่ึง แบบจำลองทสี่ ร้างขึ้นนใี้ ชส้ ำหรับการเรยี นการสอนหรือระบเุ พ่มิ เตมิ ไวใ้ นหลกั สตู ร 2.3 การสรา้ งแบบจำลอง การสรา้ งแบบจำลองหรือหนุ่ จำลอง สามารถทำได้หลายวิธีตามวตั ถุประสงค์ที่กำหนด และตามความ เหมาะสม ซ่งึ หลักการในการสร้างห่นุ จำลองทกุ แบบ ดังนี้ 1) รวบรวมวัสดุทจ่ี ะเป็นสงิ่ อา้ งอิง เชน่ รูปภาพจากนิตยสาร แผนภมู ิ และตำราหนงั สือ ค่มู อื ตา่ ง ๆ 2) ตดั สินใจใชม้ าตราสว่ นทถี่ กู ต้องทสี่ ุด ทกุ สัดสว่ นของหุ่นจำลองต้องเป็นสัดส่วนที่สมั พนั ธก์ ับของจริง เช่น ถ้าหากขยายเปน็ 4 เทา่ ของของจรงิ ก็ตอ้ งขยายสว่ นต่าง ๆ เปน็ 4 เท่าหมดทุกส่วน 3) ต้องยึดหลกั ตามความถกู ต้องบางประการเหลา่ น้ี 3.1) ถ้าสัดส่วนของของจริงสองอย่างไม่เหมือนกันทุกอย่าง ในการทำเราพยายามทำให้ถูกต้อง พอทเ่ี ด็กดูไดแ้ ล้วจะเข้าใจทนั ทีว่ามันคอื อะไร 3.2) ถา้ ใช้ภาพถา่ ยเปน็ แบบ เราตอ้ งระลึกถงึ ว่ารูปภาพนน้ั จะมดี ้านหนง่ึ ท่ีอยลู่ ับสายตา ผิดไปจาก ของจรงิ เราตอ้ งแกไ้ ข 3.3) ถ้าของจริงนั้นเล็กหรือใหญ่เกินไป เราไม่สามารถจะวัดสัดส่วนของสว่ นตา่ ง ๆ ให้ละเอียดได้ เราอาจใช้ภาพถ่ายแทนได้ เช่น แมลง หรือภเู ขาไฟ เป็นตน้ 3.4) เขียนภาพให้ได้จริง ๆ ในการเขียนรูปเราต้องมองดูวัตถุนั้นในรูปเรขาคณิตรายละเอียดที่ไม่ จำเป็นก็ต้องตดั ท้งิ เสยี 3.5) เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม (นิภา สุโขธนัง, 2516: 90-94 อ้างถึงใน ปิยะณัฐ นันทการณ์, 2551: 62-63)

11 2.4 การใช้หนุ่ จำลอง(Model) ในการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ แบบจำลองได้ถูกนำมาใช้เป็นสื่อในการสอนของครู ซึ่งหุ่นจำลองที่นำมาใช้ในการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์มีหลากหลายชนิด เชน่ 1) หนุ่ จำลองแบบทรงภายนอก ใชแ้ สดงแมลงตา่ ง ๆ สตั ว์เลก็ แสดงสมอง ลูกตา หู หวั ใจ 2) หนุ่ จำลองเทา่ ของจริง ใชแ้ สดงทางกายวภิ าค เช่น แสดงลกู ตา หัวใจ เป็นตน้ 3) หนุ่ จำลองแบบย่อหรอื ขยาย ใชส้ อนเรือ่ งสตั วเ์ ล็ก ๆ เช่น พารามเี ซยี ม ไฮดรา ใช้สอนการแบ่งเซลล์ แบง่ ปรมาณู การจดั รูปปรมาณู เปน็ ตน้ 4) ห่นุ จำลองแบบผ่าซกี ทางกายวิภาควทิ ยา ใชแ้ สดงกระดูก ตา ฟัน ผวิ หนงั กล้ามเนอ้ื ทางชีววิทยา แสดงลำตน้ รากไม้ ใบไม้ เมลด็ พชื ดอกไม้ ทางอื่น ๆ เช่น ไฟฟ้า แสดงเซลล์แห้ง แสดงเครอื่ งยนต์ 5) หนุ่ จำลองแบบถอดแยกสว่ นได้ ใช้แสดงสว่ นต่าง ๆ ของดอกไม้ ตา หวั ใจ 6) หุ่นจำลองแบบเคลื่อนไหวทำงานได้ ใช้แสดงเครื่องมือต่าง ๆ ทางความร้อน แสง เสียง ฟิสิกส์ โทรศัพท์ เครือ่ งยนต์ หขู องมนุษย์ 7) หุ่นจำลองแบบเลียนของจริง ใช้แสดงได้หลายอย่าง เช่น ระบบย่อยอาหาร เครื่องกังหันไอพ่น การแตกตัวของอะตอม ส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่อื งยนต์ เปน็ ตน้ (ปิยะณัฐ นนั ทการณ์, 2551: 62) 2.5 ความสำคญั ของแบบจำลองวิทยาศาสตร์ Justi and Gilbert ได้สรุปบทบาทที่สำคัญของแบบจำลองและการสร้างแบบจำลองในการศึกษา วทิ ยาศาสตรไ์ ว้ ดังต่อไปน้ี (Justi and Gillbert, 2002: 369-387 อา้ งถงึ ใน โกเมศ นาแจง้ , 2554: 42) 1) เปน็ ตวั แทนของเอกลกั ษณ์ในการบรรยายปรากฎการณท์ ี่ซับซ้อนใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยมากย่ิงขน้ึ 2) ทำใหเ้ อกลักษณ์ท่มี คี วามเปน็ นามธรรมมคี วามชดั เจนมากขน้ึ 3) เปน็ พืน้ ฐานสำหรบั การตีความหมายจากผลการทดลอง 4) ทำให้คำอธิบายไดร้ บั การพัฒนา 5) เป็นพื้นฐานที่ใช้สำหรับการทำนาย ดงั ตวั อย่างผลงานทางวิทยาศาสตร์ทีอ่ ธิบายดว้ ยแบบจำลอง ได้แก่ แบบจำลองโครงสร้างดีเอ็นเอของ Watson และ Crick แบบจำลองอะตอมของ Rutherford การเขียนแผนภาพทิศทางการไหลของของเหลว แทนการไหลของกระแสไฟฟ้าของ Volta และ Amphere และแบบจำลองของคลื่นและอนุภาคที่ใช้อธิบาย ธรรมชาติการแผ่รังสีคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า เปน็ ตน้ นอกจากน้นั นักการศกึ ษาวิทยาศาสตรย์ ังใหค้ วามสนใจเก่ียวกับแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ เน่ืองจากบาง ปรากฎการณ์ทางวิทยาศาสตร์ไม่สามารถแสดงหรอื สาธติ ได้ในหอ้ งเรียนอาจเน่อื งมาจากข้อจำกัดด้านเวลาและ ความปลอดภัย จึงใช้แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์เป็นตัวแทนของการนำเสนอปรากฎการณ์ เพื่อใช้ในการ อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ ลดความซับซ้อนของปรากฎการณ์และเป็นที่น่าสนใจสำหรับนักเรียน (Gilbert, 2004: 117 อ้างถึงใน จงกล บุญรอด, 2557: 47)

12 3. งานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง วัชรี หงส์อนุรักษ์ (2556) ได้ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดการสอนภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดย ทำการศึกษาในนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นบ้านศรไี พศาล จำนวน 35 คน โดยทำการทดสอบก่อน เรยี นเพื่อวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จากนั้นดำเนินการโดยใช้ชดุ การสอนจำนวน 16 ช่วั โมง และทดสอบหลัง เรียนอีกครั้ง เพื่อนำคะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี นมาวิเคราะห์ดว้ ยวธิ ีการทางสถติ ิเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีได้รับการสอนโดยใช้ชุด การสอนหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน อย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ปรียา สงค์ประเสริฐ (2557) ได้ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดการ สอนด้วยคอมพิวเตอรผ์ ่านเครือข่าย เรื่อง การสร้างงานแอนิเมชั่น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ทำการศึกษาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดพระมหาธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2557 จำนวน 30 คน โดยใช้ชุดสื่อการสอนทงั้ ส้นิ 12 ชว่ั โมง 3 เรอื่ ง ตามแผนการ จัดการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ แต่นักเรียนสามารถกลับมาเรียนซ้ำกี่ครั้งก็ได้ตาความต้องการของนักเรียน เม่ือ นักเรียนเรียนครบตามกำหนดแล้วจึงให้ทำการทดสอบหลังเรียน แล้วนำคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยใชค้ า่ สถติ ทิ ดสอบท(ี T-test) พบวา่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทเ่ี รียนโดยใช้ ชดุ การสอนดว้ ยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรอื่ ง การสร้างงานแอนเิ มชั่น สำหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทีร่ ะดับ .05 พัชรี ป้นั มูล (2554) ได้ทำการศึกษาวิจยั เร่ือง การพฒั นาชุดการสอน วิชาฟิสกิ ส์ เร่ืองเสยี ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 5 โดยทำการศึกษาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จำนวน 32 คน โดยใช้ เครื่องมือ คือ ชุดการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียง จำนวน 10 ชุด และใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ฟิสิกส์ เรื่อง เสียง และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอน จากนั้นนำคะแนนท่ีได้มา วิเคราะห์ผลโดยใช้ค่าสถิติทดสอบที(T-test) พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนรู้โดยการใช้ชุดการ สอนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง เสยี ง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สงู กวา่ กอ่ นการเรียนรู้อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 จงกล บุญรอด (2557) ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง ผลของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ แบบจำลองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ทำการศึกษาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 และ 1/6 โรงเรียนทุ่งใหญ่ วทิ ยาคม เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการทำการวิจัยคร้งั น้ี คอื แบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และแบบวัด ความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตรซ์ ึง่ จะถกู นำมาใช้หลงั จากดำเนินการสอนตามแผนการจัด กิจกรรมการเรียนสอนเรียบร้อยแล้ว โดยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้จะ แตกตา่ งกนั แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของกลุ่มควบคุมจะเป็นแผนทั่วไปแบบ 3 ขนั้ ซึ่งประกอบไป ด้วย ขั้นนำ ขั้นสอน และขั้นสรุป แต่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของกลุ่มทดลองจะเป็นแปนการ จดั การเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์โดยใชแ้ บบจำลองซึง่ จะประกอบไปด้วย 4 ขั้น คือ ขั้นการสร้างแบบจำลองเบ้ืองต้น

13 (Model) ขั้นการสังเกต ขั้นสะท้อนความคิด และขั้นการสร้างคำอธิบาย จากนั้นนำแบบสอบและแบบวัดที่ สรา้ งไวข้ ้างต้นมาใช้เก็บข้อมูลทง้ั กลุ่มควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง พบว่า นกั เรียนกลุ่มทเี่ รียนดว้ ยการจัดการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจำลองมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 70 นัฎฐพร ทิพรักษ์ (2558) ได้ทำการศกึ ษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดการสอน แบบศูนยก์ ารเรยี น เรื่อง การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 ของโรงเรียน ขอนแก่นวิทยายน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 43 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ใน การทำวิจยั ครง้ั นไี้ ด้แก่ แผนการจัดการเรยี นการสอนจำนวน 9 แผน ชุดส่อื การสอนจำนวน 9 ชุดแบบทดสอบ ผลสำฤทธ์ิทางการเรยี นจำนวน 30 ขอ้ และแบบวัดความพึงพอใจของนกั เรยี นจำนวน 20 ขอ้ และเมื่อทำการ วิเคราะห์ผลโดยใช้ค่าสถิติทดสอบที(T-test) แบบ dependent พบว่าค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดับ 0.01

14 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวิจัย การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวน ชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน สรรพยาวิทยา ในคร้ังน้ี ผวู้ ิจัยไดม้ กี ารดำเนินการตามขนั้ ตอนและรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2563 จำนวน 54 คน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนทีม่ ีผลสมั ฤทธิ์ในการเรียนต่ำ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิส จำนวน 7 คน 2. ตัวแปรที่ใชใ้ นการศกึ ษา 2.1 ตัวแปรอิสระ คอื ชดุ การสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เร่อื ง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซสิ 2.2 ตวั แปรตาม คอื ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวิชาชีววิทยา 1 เรอ่ื ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบ่ง เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส 3. เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 3.1 เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั คอื แบบทดสอบยอ่ ยเก็บคะแนน เรอื่ ง การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่ง เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซสิ 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการ คือ ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุด โครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซสิ ซึ่งประกอบไปดว้ ยชดุ สไี มส้ ำหรับจดั การเรยี นการสอนเร่ือง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม และดินน้ำมนั ป้ันจำลองการเกดิ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซสิ 4. ข้นั ตอนในการสร้างเครอื่ งมอื 4.1 เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย คอื แบบทดสอบยอ่ ยเกบ็ คะแนน เรือ่ ง การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่ง เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ข้อสอบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ โดย มีขนั้ ตอนในการสร้างแบบทดสอบยอ่ ย ดังน้ี 1) ศึกษาขั้นตอนในการสร้างและพัฒนาเครื่องมทอการวัดและประเมินผล ในส่วนของขั้นตอนการ สร้างและพัฒนาแบบสอบผลสมั ฤทธิ์ 2) ศึกษาเนื้อหา เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ตามแบบเรียนวิชาชวี วิทยาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากนั้นกำหนดสัดสว่ นในการออกข้อสอบ

15 3). จดั ทำแบบทดสอบยอ่ ย เรือ่ ง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส และดำเนินการทดสอบนักเรยี นท้ัง 2 หอ้ งพรอ้ มกัน 4.2 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการดำเนินการ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการ คือ ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุด โครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซิส ซึ่งการสอนเรื่องการนับจำนวนชุดโครโมโซมนัน้ จะใช้สไี ม้ แทนจำนวนชุดและจำนวนแท่งของโครโมโซม ส่วนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิสจะใช้ดินน้ำมันปัน้ เป็นแบบจำลองแสดงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการแบ่งเซลล์แต่ละระยะ โดยขั้นตอนในการสร้าง แบบจำลองเป็นดังนี้ 1) ทำการศึกษาระยะของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน แตล่ ะระยะวา่ แตกต่างกนั อยา่ งไร 2) ครูเลือกภาพแสดงระยะของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสและไมโทซิส เพื่อนำมาใช้เป็นต้นแบบใน การสร้างแบบจำลอง 3) กำหนดอัตราส่วนที่จะใช้ในการสร้างแบบจำลอง แต่เนื่องจากออร์แกเนลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์มีขนาดท่ีเล็กมากและแต่ละโครงสร้างมีขนาดที่แตกต่างกนั จึงไม่ไดก้ ำหนดอัตราส่วนในการสร้าง แบบจำลองข้นึ เพยี งแตใ่ ชก้ ารป้นั ดินนำ้ มนั ขน้ึ มาใหม้ ลี กั ษณะคล้ายคลงึ กบั ภาพท่นี ำมาใช้เปน็ ตน้ แบบ 4) ผลิตแบบจำลองขึ้นโดยการปัน้ ดินน้ำมันแสดงการเปลี่ยนแปลงแต่ละระยะของการแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซิสลงบนแผน่ ฟวิ เจอรบ์ อรด์ 5. วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู ครูผู้วจิ ัยเก็บรวบรวมข้อมูลครง้ั แรกโดยใช้ แบบทดสอบย่อยเก็บคะแนน เร่อื ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส เพื่อที่จะคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างสำหรับงานวิจัย จากนั้นเก็บรวบรวม ข้อมูลครั้งที่ 2 โดยใช้แบบทดสอบย่อยเก็บคะแนนชุดเดิม กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง เพื่อนำคะแนนทีไ่ ด้จาก การเกบ็ รวบรวมข้อมูลครัง้ ท่ี 2 ไปเปรยี บเทยี บกับคะแนนท่ไี ดจ้ ากการเก็บรวบรวมข้อมลู ในครั้งแรกแล้วนำมา วิเคราะห์ผล 6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 6.1 ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ของคะแนนจาก แบบทดสอบยอ่ ยเก็บคะแนน เร่อื ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซสิ

16 6.2 ใช้สถิติเชิงอ้างอิงในการวิเคราะหข์ ้อมูล โดยใช้สถิติทดสอบที(T-test) แบบ dependent โดยกำหนด ระดับนัยสำคัญที่ .01 ในการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบย่อยเก็บคะแนน เรื่อง การนับจำนวนชุด โครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิส กอ่ นและหลังใชช้ ดุ ส่ือการสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ 6.3 วิเคราะห์เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรอื่ ง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไม โทซสิ และไมโอซสิ โดยพจิ ารณาค่ารอ้ ยละของคะแนน จากแบบทดสอบยอ่ ยเก็บคะแนน เรื่อง การนับจำนวน ชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิส

17 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู หลังจากจัดการเรียนการสอน เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ ไมโอซิสแล้ว ผู้วิจัยได้ทำการทดสอบเพื่อเก็บคะแนนย่อย โดยใช้แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวนทั้งสิ้น 54 คน สามารถแบ่งนักเรียน ออกเป็น 4 กลมุ่ ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงกล่มุ จำนวนของนักเรียนตามช่วงคะแนน ระดับคะแนน ช่วงคะแนน จำนวน (คน) ดมี าก 9-10 21 ดี 7-8 35 พอใช้ 5-6 17 ควรปรับปรุง ตำ่ กวา่ 5 7 รวม 80 โดยนักเรยี นในกลุม่ ควรปรบั ปรงุ มีคะแนนแจกแจงรายบุคคล ดงั นี้ ตารางท่ี 2 แสดงคะแนนของนักเรียนกลุม่ ควรปรับปรงุ แจกแจงเปน็ รายบคุ คล นกั เรียนคนที่ 1 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นคนท่ี 2 3 30 นกั เรยี นคนท่ี 3 3 30 นักเรียนคนท่ี 4 4 40 นักเรยี นคนที่ 5 2 20 นกั เรียนคนที่ 6 4 40 นักเรียนคนท่ี 7 4 40 4 40 คะแนนเฉล่ยี 3.43 34.28 จากนั้นผู้วิจัยนำนักเรียนกลุ่มดังกล่าวมาทำการสอนโดยใช้ ชุดการสอนแบบจำลอง เรื่อง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ และไมโอซิส แล้วให้ทำแบบทดสอบเกบ็ คะแนนย่อยชุด เดิมจากนัน้ รวบรวมขอ้ มูลคะแนนสอบของนักเรยี นกล่มุ เป้าหมาย หลงั จากไดร้ ับการจัดการเรียนการสอนโดย ใช้ ชุดการสอนแบบจำลอง มาเปรียบเทียบกับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นได้รับการจัดการเรียนการ สอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลอง พร้อมทั้งหาค่าเฉลี่ยร้อยละของผลต่างคะแนนที่เพิ่มข้ึน ซึ่งแสดง ดงั ตารางท่ี 3

18 ตารางท่ี 3 แสดงผลคะแนนทดสอบยอ่ ยเปรยี บเทียบระหว่างกอ่ นการใช้ชุดการสอนและหลงั การใช้ชุดการสอน คะแนน คิดเป็น คะแนน คิดเปน็ ผลตา่ ง รอ้ ยละ ของ ผลต่าง ก่อนใชช้ ุด ร้อยละ หลังใช้ชุด รอ้ ยละ คะแนน ของ คะแนน การสอน การสอน 5 5 50 นกั เรียนคนที่ 1 3 30 8 80 4 50 นกั เรียนคนท่ี 2 3 30 8 80 6 40 นักเรยี นคนท่ี 3 4 40 8 80 4 60 นกั เรยี นคนท่ี 4 2 20 8 80 4 40 นกั เรียนคนที่ 5 4 40 8 80 4 40 นักเรียนคนท่ี 6 4 40 8 80 4.57 40 นกั เรยี นคนท่ี 7 4 40 8 80 45.71 3.43 34.28 8 80 คะแนนเฉล่ีย จากตารางที่ 3 พบว่า การสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนจะช่วยทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น โดยค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนสอบย่อยของ นักเรยี นกลมุ่ ตัวอย่างก่อนไดร้ บั การสอนโดยใชช้ ดุ การสอนแบบจำลอง มคี ่าเทา่ กบั รอ้ ยละ 34.28 ส่วนคา่ เฉล่ีย ร้อยละของคะแนนสอบย่อยของนักเรยี นกลุ่มตัวอยา่ งหลังจากได้รับการสอนโดยใชช้ ุดการสอนแบบจำลอง มี ค่าเท่ากับร้อยละ 80 ซึ่งค่าเฉลี่ยร้อยละของผลต่างของคะแนนสอบย่อยของนักเรียนกลุ่มตัวอยา่ งหลังได้รับ การสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองกับคะแนนสอบสอบย่อยของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างก่อนได้รับการสอน โดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองสงู ถึง 45.71 นอกจากน้ันคะแนนทดสอบย่อยของนกั เรยี นกลุ่มตวั อยา่ งทุกคนยัง สงู กว่ารอ้ ยละ 70 ของคะแนนเตม็ ผวู้ ิจยั ไดน้ ำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นใช้ชดุ ส่ือการสอนมาเปรียบเทยี บกับผลการเรียนหลังใช้ชุดส่ือ การสอนโดยใช้ใช้สถิติทดสอบที(T-test) แบบ dependent ในการเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งแสดงในตารางที่ 4 และตารางท่ี 5 ตารางท่ี 4 แสดงคา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา่ สถิตทิ ดสอบที (T-test) และค่า Sig. จำนวน คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน ค่าสถิติ Sig. มาตรฐาน ทดสอบที .000*** กอ่ นใช้ชุดการสอน 7 3.43 (T-test) หลงั ใชช้ ุดการสอน 7 8 0.79 0 15.37

19 ตารางท่ี 5 แสดงการวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม SPSS จากตารางที่ 4 และตารางท่ี 5 พบวา่ คา่ Sig. มคี ่าต่ำกว่า .01 หมายความวา่ คะแนนหลงั การสอนโดย ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิตทิ ่รี ะดับ .01

20 บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจัย การวจิ ยั ปฏิบัตกิ ารในชั้นเรยี น ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การนับจำนวน ชุดโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน สรรพยาวิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาชีววิทยา1 เรื่อง การนับ จำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ในนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระดบั ชน้ั นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 กอ่ นและหลงั การใชช้ ุดการสอน เรอ่ื ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซิส กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิสต่ำ โดยใช้คะแนนจากการทดสอบย่อยในเรอื่ งดงั กล่าวเปน็ เกณฑ์ในการ คัดเลอื ก เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย แบ่งเปน็ 2 สว่ น ประกอบด้วย ส่วนท่แี รก เป็นเคร่ีองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบย่อย เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส โดยเป็น แบบทดสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ ครอบคลุมเนื้อหาทั้ง 3 เรื่อง โดยแบบทดสอบนี้จะถูก นำมาใช้ทั้งก่อนและหลังการสอนโดยใช้ชุดการสอน ส่วนที่สอง เป็นเครื่องมือในการดำเนิ นการ คือ ชดุ การสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ซึ่งประกอบไปด้วยชุดสีไม้และแบบจำลองดินน้ำมันแสดงการเปลี่ยนแปลงในระยะต่าง ๆ ของการแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซิส โดยผู้วิจัยได้นำชุดการสอนนี้มาใช้ประกอบการสอนแบบบรรยายกบั นักเรียนกลุ่ม ตวั อย่าง ในชว่ งหลังเลิกเรียน การวิเคราะหข์ ้อมูล ผู้วิจัยใช้สถิติเชิงพรรณา โดยใช้ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ยเลขคณติ ของคะแนนจาก แบบทดสอบย่อย เรือ่ ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส อีกท้ังใช้สถิติเชิง อา้ งองิ ในการวิดคราะหข์ ้อมูล โดยใช้สถติ ิทดสอบท(ี T-test) แบบ dependent ในการเปรียบเทียบคะแนนจาก แบบทดสอบย่อยเก็บคะแนน เร่ือง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ก่อน และหลังใชช้ ุดสอ่ื การสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์

21 สรุปผลการวิจัย จากการวเิ คราะห์คะแนนของแบบทดสอบย่อย เร่อื ง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซิส ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ท่มี ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นต่ำ ในเร่ืองดงั กลา่ ว สามารถ สรปุ ผลการวจิ ยั ไดว้ า่ หลังจากนกั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ งได้รบั การสอนโดยใชช้ ุดส่อื การสอนแบบจำลองวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสแล้ว นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นอยู่ในระดับดี สูงกว่าร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม และคะแนนแบบทดสอบย่อยหลงั จาก การใชช้ ุดสื่อการสอนสูงกว่ากอ่ นใชช้ ดุ สื่อการสอนอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 อภิปรายผลการวจิ ยั ผลการวจิ ยั สรปุ ว่านกั เรียนทีมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตำ่ ในเรอ่ื ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส เมื่อได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์มีผลคะแนน สูงกว่าก่อนได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอนและทุกคนมีคะแนนอยู่ในระดับดีมาก ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐาน ข้อที่ 1 นอกจากนั้นเมื่อเปรียบเทียบคะแนนระหว่างก่อนไดร้ ับการสอนโดยใช้ชุดการสอนและหลังได้รับการ สอนโดยใช้ชุดการสอน พบวา่ คะแนนหลังไดร้ บั การสอนโดยใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อน ได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้องที่ 2 และสอดคล้องกับ งานวิจัยของ นัฎฐพร ทิพรักษ์ (2558) ซึ่งได้ทำการศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุด การสอนแบบศูนย์การเรียน เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ และ ทำการวิเคราะห์ผลโดยใชค้ ่าสถิตทิ ดสอบที(T-test) แบบ dependent พบวา่ คา่ เฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หลงั เรยี น เรอ่ื ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมและความหลากหลายทางชีวภาพ สูงกวา่ ก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ 0.01 ผู้วิจัยมีความเหน็ วา่ การใช้ชดุ ส่ือการสอนนั้นส่งผลต่อนักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากเปน็ ส่ือทีอ่ ยูใ่ น รูปแบบที่ไม่เหมือนกบั สื่อการเรียนการสอนทีใ่ ช้ในการสอนแบบปกติ อีกทั้งยังมีความเป็นรูปธรรมมากย่งิ ขน้ึ ผู้เรียนสามารถสังเกตเหน็ การเปลี่ยนแปลงได้ชดั เจน เมื่อนำมาใชป้ ระกอบกับการบรรยายของครูแล้วก็จะลด ความซับซ้อนของปรากฎการณ์ต่าง ๆ ได้ และผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอน เช่น การ ลงมือเคลื่อนย้ายองค์ประกอบท่ีอยู่ในแบบจำลองให้เปน็ ไปตามการเปลี่ยนแปลงในระยะต่าง ๆ ของการแบ่ง เซลล์ ซึ่งจะแตกต่างจากการชมวีดีทัศน์ที่ถึงแม้จะมีการแสดงรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ใน ปรากฎการณ์ต่าง ๆ มากมาย แต่ผู้เรียนไม่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ทำได้แค่เพียงสังเกตการ เปลยี่ นแปลงท่เี กิดขึน้ เทา่ นน้ั

22 ผู้วิจัยเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าการเลือกใช้สื่อที่หลากหลายและแปลกใหม่มักจะส่งผลต่อนักเรียนเสมอ เนอื่ งจากโดยส่วนใหญแ่ ล้วการเรยี นการสอนในเน้ือหาวทิ ยาศาสตรโ์ ดยเฉพาะอย่างยิ่งวชิ าชีววิทยา วธิ ีการสอน มักจะอยู่รูปแบบของการบรรยาย สื่อที่ใช้มักจะเป็นรูปภาพหรือวีดิทัศน์ซึ่งเป็นสื่อในรูปแบบเดิม ๆ สามารถ กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเล็กนอ้ ยเท่าน้ัน การนำส่ือที่แปลกใหม่เข้ามาจะชว่ ยสามารถกระตนุ้ ความอยาก ทจ่ี ะเรียนร้ขู องนกั เรียนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อีกท้งั เมอ่ื สอื่ ดงั กล่าวมคี วามเป็นรูปธรรมอยใู่ นรปู แบบทน่ี ักเรียนสามารถ สัมผัส หยิบ จบั ได้ เหมือนกบั เปิดโอกาสให้นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการเรียนการสอนมากขึ้น โดยเฉพาะนักเรยี น แผนการเรียนศลิ ปท์ ยี่ งั เปดิ ใจตอ่ วิชาในสายวิทยาศาสตรค์ อ่ นขา้ งนอ้ ยสื่อการเรยี นรมู้ สี ว่ นช่วยนักเรียนกลุ่มน้ีได้ เปน็ อย่างมาก ขอ้ เสนอแนะ 1) การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อศึกษา ผลของการใช้ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนับจำนวนชดุ โครโมโซม และการแบง่ เซลล์ ทม่ี ตี ่อผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา พบวา่ นักเรยี นมคี ะแนนสอบหลังการจดั การเรยี นรโู้ ดยชุดการสอนมากกว่าร้อยละ70 ดงั นน้ั ในการจดั การเรยี นการสอนเร่ืองอ่นื ๆ ถา้ หากมีโอกาสครูผู้สอนควรมีการพัฒนาสอื่ ท่เี หมาะสมและเอื้อ ประโยชน์แก่นักเรียน เพอื่ ใหน้ กั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีข้นึ 2) หลังจากทำการวจิ ัยผู้วิจัยควรทำการสำรวจความพึงพอใจที่มีตอ่ ชดุ สือ่ ที่ได้พัฒนาข้ึนจากนักเรยี น เพอ่ื จะได้นำขอ้ ผิดพลาดดงั กล่าวมาทำการปรบั ปรงุ สื่อ ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ 3) ถา้ หากมโี อกาสไดท้ ำวิจัยคร้ังถัดไป ผูว้ ิจยั อาจทำวิจัยเปรยี บเทยี บผลของการใช้ชุดการสอนที่มีผล ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้นักเรียนสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งสอนด้วยวิธีการปกติ อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชุดสื่อ การสอน เพอ่ื ทจี่ ะทำให้ได้ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นไดด้ ียิ่งข้ึน

23 บรรณานกุ รม โกเมศ นาแจ้ง. (2554). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ MCIS ที่มีต่อความสามารถในการ สร้างแบบจำลองทางวทิ ยาศาสตร์ และมโนทัศน์ เรื่อง กฎการเคล่ือนท่ีและแบบของการเคลอื่ นท่ีของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทลัย, กรุงเทพมหานคร. บงกช บุญเจริญ. (2553). การศึกษาผลการใช้สื่อการสอนชุด Amazing Word ในการจาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา. ฉะเชิงเทรา: โรงเรยี นเซต์หลุยส์. ปรยี า สงคป์ ระเสิรฐ. (2557). การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใช้ชุดการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ ผ่านเครือขา่ ย เร่อื ง การสร้างงานแอนิเมชัน่ สำหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2. นครศรีธรรมราช: โรงเรียน วดั พระมหาธาตุ. ปญั ญา ไผท่ อง. (2549). การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเร่ืองการตัดเฉือนด้วยแม่พิมพ์กด ตัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องกล บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื , กรงุ เทพมหานคร. ปิยะณัฐ นันทการณ์. (2551). ผลของการเรียนรู้ด้วยการออกแบบที่มีต่อมโนทัศน์ทางชีววิทยาและ ความสามารถในการสร้างแบบจำลองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ลยั , กรงุ เทพมหานคร. พัชรี ปน้ั มลู . (2554). การพัฒนาชดุ การสอน วชิ าฟิสิกส์ เร่อื งเสยี ง ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5. พิษณุโลก: โรงเรยี นพษิ ณโุ ลกพทิ ยาคม. พัดตาวัน นาใจแก้ว. (2557). แบบจำลองทางเลือกสำหรับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อแสดงเวลา ขึ้นและตกโดยประมาณของดวงจนั ทร์และหน่วยเวลา โมงเช้า โมงเย็น ทุ่ม ตี. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภฎั อุดรธานี วัชรี หงส์อนุรักษ์. (2556). การพัฒนาชุดการสอนภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. นครสวรรค์: สาขาวิชาการจัดการ หลกั สตู รและการเรียนรู้ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครสวรรค์.

24 บรรณานกุ รม สกุล มลู แสดง. (2554). พฤตกิ รรมการสอนชวี วทิ ยา. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน ชีววิทยา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว.

25 ภาคผนวก

26

27

28

29

30

31

32

33 คมู่ ือการใชส้ ่อื ชดุ การสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เร่ือง การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และ ไมโอซิส ขอ้ มูลทวั่ ไป ชื่อส่อื : ชุดการสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เร่อื ง การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่ง เซลลแ์ บบไมโทซิสและ ไมโอซิส ลกั ษณะของส่ือ : สือ่ ทำมือ เรื่อง : การนับจำนวนชุดโครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และ ไมโอซิส ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร)์ วตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้สอื่ เพ่อื ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนการรเู้ รอื่ ง การนบั จำนวนชุดโครโมโซม การแบง่ เซลลแ์ บบไมโท ซิสและ ไมโอซสิ องคป์ ระกอบของสอื่ ชดุ การสอนแบบจำลองวิทยาศาสตร์ เรื่อง การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส และ ไมโอซิส ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นชุดกล่องดินสอสีและส่วนที่สองคือแบบจำลอง วิทยาศาสตร์ทส่ี รา้ งจากดินนำ้ มนั แสดงการเปล่ียนแปลงของระยะต่าง ๆ ในการแบง่ เซลล์

34 วธิ กี ารใช้สื่อ ตอนที่ 1 การนบั จำนวนชดุ โครโมโซม 1. ครนู ำกลอ่ งดนิ สอสอี อกมาจากนนั้ ให้นกั เรยี นร่วมกันตอบวา่ สีในกลอ่ งมีก่สี ี อะไรบ้าง และภายในสี กลอ่ งเดียวกันนน้ั มีสีที่ซ้ำกันอยู่หรอื ไม่ 2. ครชู ้แี จงว่าสีไม้ทีอ่ ยใู่ นกล่องเดียวกันเราจะเรยี กว่าเป็นสไี ม้ชุดเดียวกนั เสมอื นกบั การนับจำนวนชุด ของโครโมโซม โดยสไี มแ้ ตล่ ะชดุ จะมสี ญั ลกั ษณแ์ ทนดว้ ยตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ A, B, C, D, E และ F 3. จากนัน้ ครนู ำสไี ม้สใี ดก็ไดจ้ ากชุดสีไม้ออกมาจำนวน 2 แท่ง (ต้องเปน็ สีไม้ทม่ี ีสเี หมอื นกัน) จากนั้นถามนักเรียนวา่ สีไม้ท่ีนกั เรียนเห็นอยู่นี้มีจำนวนกี่แท่ง นักเรียนคิดว่าสีไม้ที่เหมือนกันสามารถ มาจากชุดสีไม้ชดุ เดียวกันไดห้ รอื ไม่ ถ้าหากไม่ได้สไี ม้สองแทง่ น้ีมาจากชุดสีไมก้ ่ีชดุ 4. จากนัน้ ครแู สดงภาพโครโมโซมที่ 2 ชดุ มีจำนวน 2 แทง่ จากนนั้ ถามนักเรียนวา่ จากภาพนกั เรียนคดิ ว่ามโี ครโมโซมทง้ั หมดก่แี ทง่ มาจากก่ชี ดุ 5. ครนู ำสีไม้สีใดก็ได้จากชุดสีไมอ้ อกมาจำนวน 3 แท่ง (ตอ้ งเปน็ สีไม้ที่มีสีเหมอื นกัน)

35 จากนั้นถามนักเรียนว่าสีไม้ท่ีนกั เรียนเห็นอยู่น้ีมีจำนวนกี่แท่ง นักเรียนคิดว่าสีไม้ที่เหมือนกันสามารถ มาจากชุดสไี มช้ ดุ เดยี วกนั ไดห้ รอื ไม่ ถ้าหากไมไ่ ด้สีไม้สองแทง่ น้ีมาจากชุดสีไมก้ ี่ชุด 6. จากนั้นครูแสดงภาพโครโมโซมท่ี 3 ชุด มจี ำนวน 3 แท่ง จากนนั้ ถามนักเรียนวา่ จากภาพนกั เรียนคดิ ว่ามโี ครโมโซมท้ังหมดกแ่ี ท่ง มาจากกี่ชุด 7. ครนู ำสีไม้จากสีไมช้ ุดเดยี วกนั ออกมา จากนั้นถามนักเรียนว่าสีไม้ที่นักเรียนเห็นอยู่นี้มีจำนวนกี่แท่ง นักเรียนคิดว่าสีไม้ดังกล่าวมาจากชุด เดยี วกันหรือไม่ 8. จากน้นั ครูแสดงภาพโครโมโซมท่ี 1 ชดุ มจี ำนวน 3 แทง่ จากนนั้ ถามนกั เรียนวา่ จากภาพนกั เรียนคิดวา่ มีโครโมโซมทง้ั หมดกแ่ี ทง่ มาจากกชี่ ุด 9. ครูอาจจะใหน้ กั เรยี นลองฝึกนบั จำนวนชุดและจำนวนแทง่ ของโครโมโซมโดยการแสดงรูปภาพและ เรียกถามเปน็ รายบุคคลว่าภาพดงั กลา่ วมีโครโมโซมท้งั สิ้นกชี่ ุด กีแ่ ท่ง เพอ่ื เป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนัก รียน

36 ตอนท่ี 2 การแบ่งเซลล์ ครแู สดงแบบจำลองเรอ่ื ง การแบง่ เซลล์ จากนนั้ ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั สังเกตการณ์เปลย่ี นแปลงท่เี กิดขนึ้ ภายในระยะตา่ ง ๆ ของการแบ่งเซลล์และ สรุปออกมาเปน็ ขอ้ ความในภาษาของตวั เอง โดยที่หลังจากนักเรยี นสรุปเรยี บรอ้ ยแล้วครูทำการตรวจสอบ ความเข้าใจโดยการสุม่ ถามให้ 1 คนเลา่ การเปลี่ยนแปลงใน 1 ระยะ โดยทีค่ รูจะเปน็ ผู้สรปุ การเปล่ียนแปลงที่ เกดิ ขึ้นในแตล่ ะระยะอกี ครง้ั หลงั จากทนี่ ักเรียนแต่ละคนเลา่ จบ

แบบทดสอบเกบ็ คะแนน 37 รายวชิ า ชีววทิ ยา 1 ว30251 จำนวน 20 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน ภาคการศกึ ษาตน้ ปีการศึกษา 2563 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา คำชี้แจง 1. ขอ้ สอบฉบับนี้เปน็ แบบปรนยั เลอื กตอบ จำนวน 20 ข้อ 2. ให้นักเรียนเลอื กคำตอบทถี่ ูกตอ้ งที่สุด 1 ข้อ แล้วทำเครือ่ งหมายลงในกระดาษคำตอบ 3. หา้ มนำขอ้ สอบและกระดาษคำตอบออกจากห้องสอบโดยเด็ดขาด หากพบวา่ มกี ารฝ่าฝนื ทกุ คนจะได้ 0 คะแนน 1. วัฏจกั รเซลล์แบง่ ออกเปน็ กขี่ ้ันตอนได้แก่อะไรบ้าง ก. 2 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ การแบง่ นิวเคลยี สและการแบ่งไซโทพลาสซมึ ข. 2 ข้ันตอน ได้แก่ อนิ เตอร์เฟส(Interphase) และเอม็ เฟส (M-phase) ค. 3 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ G1, S, G2 ง. 4 ขัน้ ตอน โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และ เทโลเฟส 2. จากภาพมโี ครโมโซมทั้งสนิ้ กี่แทง่ กีช่ ดุ ข. 3 แท่ง 3 ชุด ก. 3 แท่ง 2 ชุด ง. 6 แทง่ 2 ชดุ ค. 6 แท่ง 3 ชดุ 3. ในการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส ระยะใดต่อไปนที้ ่สี ารพันธกุ รรมยงั คงอยใู่ นนิวเคลียสมลี กั ษณะเป็นเส้นใยโคร มาทนิ และเห็นขอบเขตของนิวเคลยี สที่ชัดเจน ก. Interphase ข. Prophase ค. Metaphase ง. Anaphase 4. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ จากเซลล์ตง้ั ตน้ 1 เซลล์ จะได้เซลล์ใหมก่ เี่ ซลลแ์ ละเซลลท์ ไี่ ด้มีจำนวนโครโมโซ. เป็นอยา่ งไร ก. 2 เซลล์ จำนวนโครโมโซมเทา่ เดิม ข. 2 เซลล์ จำนวนโครโมโซมลดลงครึง่ หนง่ึ ค. 4 เซลล์ มจี ำนวนโครโมโซมลดลง ง. 4 เซลล์ มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม

5. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเกย่ี วกบั ความแตกต่างของการ 38 แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส(Mitosis) เซลล์แบบไมโอ ซสิ (Meiosis) 8. จากภาพเปน็ ระยะใดในการแบง่ เซลลแ์ บบไมโท ก. จำนวนเซลล์ทีเ่ กิดจากการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอ ซสิ ซสิ นอ้ ยกว่าจำนวนเซลลท์ ่ีเกดิ จากการแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส ก. โพรเฟส ข. เมทาเฟส ข. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสพบในการสรา้ งเซลล์ ค. แอนาเฟส ง. เทโลเฟส(Telophase) เพ่อื ซอ่ มแซมส่วนท่สี กึ หรอของรา่ งกาย ส่วน การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสพบในการแบ่งเซลล์ 9. เส้นใยสปินเดิล(Spindle fiber) สร้างมาจาก สบื พันธุ์ ค. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ เปน็ การแบ่งเซลล์ท่ี ออรแ์ กเนลลใ์ ด พบวัฏจกั รเซลลแ์ ต่การแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ ไมพ่ บ ก. เซนโทรเมยี ร์ ข. เซนโทรโซม ง. การแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ พบการเข้าคูก่ ันของ โฮโมโลกัสโครโมโซมหรอื ท่ีเรียกวา่ Synapsid ค. ไรโบโซม ง. ไลโซโซม แตก่ ารแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส 10. เสน้ ใยสปนิ เดลิ (Spindle fiber) จะยดึ กบั 6. ในการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ ระยะใดที่ โครโมโซมหดตัวแน่นมองเหน็ เป็นแทง่ ชดั เจนที่สดุ โครโมโซมท่ีบริเวณใด ก. โพรเฟส(Prophase) ข. เมทาเฟส ก. เซนโทรเมยี ร์ ข. โครมาทิด (Metaphase) ค. ไคนีโทคอร์ ง. โครมาทิน ค. แอนาเฟส(Anaphase) ง. เทโลเฟส (Telophase) 11. การแบง่ เซลล์แบบไมโอซิสจากเซลล์ต้งั ต้น 1 เซลล์ จะได้เซลล์ใหม่กเ่ี ซลลแ์ ละเซลล์ที่ได้มจี ำนวน 7. ในข้นั อินเตอร์เฟส(Interphase) ระยะใดท่ีมีการ โครโมโซมเปน็ อย่างไร สังเคราะห์ สารพันธุกรรมหรือDNA ก. 2 เซลล์ จำนวนโครโมโซมเท่าเดิม ก. G1 ข. S ข. 2 เซลล์ จำนวนโครโมโซมลดลงคร่ึงหน่งึ ค. G2 ง. ถูกทกุ ข้อ ค. 4 เซลล์ มจี ำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึง่ ง. 4 เซลล์ มีจำนวนโครโมโซมเทา่ เดมิ

12. ขอ้ ใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการเกดิ ครอสซิงโอเวอร์ 39 (Crossing Over) 15. จากภาพเป็นระยะใดในการแบง่ เซลล์แบบไม ก. เปน็ การแลกเปลี่ยนชน้ิ สว่ นโครโมโซม โอซสิ ระหวา่ ง non-sister chromatid ของโฮโมโลกัส โครโมโซม ก. เทโลเฟส I (Telophase I) ข. เทโลเฟส II (Telophase II) ข. พบเฉพาะในการแบง่ เซลล์แบบไมโอซสิ ค. แอนาเฟส I (Anaphase I) เทา่ น้ัน ไมพ่ บในการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส ง. แอนาเฟส II (Anaphase II) ค. กระบวนการน้เี กดิ ข้นึ ในระยะโพรเฟส II จากตัวเลือกตอ่ ไปนี้ จงนำไปตอบคำถามในขอ้ ท่ี (Prophase II) 16-18 ง. บริเวณท่ีเกิดการแลกเปล่ยี นชนิ้ สว่ น ก. การคอดกิว่ (Cleavage furrow) โครโมโซม เรียกวา่ ไคแอสมา(Chiasma) ข. การสรา้ งแผ่นกั้นเซลล์ (Cell plate) ค. กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex) 13. การแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส มักพบในเซลล์ชนดิ ง. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) 16. ข้อใดคือการแบ่งไซโทพลาสซึมในเซลล์พืช ใด ก. การใช้ซเิ ลยี ข. การใช้เท้าเทยี ม 17. ออร์แกเนลลใ์ ดทเี่ กี่ยวข้องกบั การแบง่ ไซ โทพลาสซึมในเซลลพ์ ชื ก. เซลล์สบื พันธ์ุ ข. เซลล์ผิวหนงั 18. ข้อใดคอื การแบง่ ไซโทพลาสซมึ ในเซลล์สัตว์ ค. เซลลเ์ ย่อื บุข้างแก้ม ง. เซลลก์ ลา้ มเน้ื 14. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั การแบ่งเซลล์แบบ 19. นักเรยี นจะใช้อาศยั โครงสร้างใดในการนบั ไมโอซสิ จำนวนแท่งของโครโมโซม ก. มกี ารเขา้ คกู่ ันของโฮโมโลกสั โครโมโซมใน ระยะโพรเฟส II (Prophase II) ก. เซนโทรเมียร์ ข. โครมาทิด ข. ในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ จำนวนชดุ ของ ค. ไคนีโทคอร์ ง. โครมาทิน โครโมโซมเริม่ ลดลงหลังจากส้นิ สุดระยะแอนาเฟส I (Anaphase I) 20. การแบง่ เซลล์ มีความสำคญั ตอ่ สิ่งมชี ีวิต อย่างไร ค. เซลล์ทีเ่ กดิ จากการแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส เรยี บร้อยแลว้ จะมจี ำนวนท้ังหมด 2 เซลล์ จำนวน ก. ทำให้สง่ิ มชี ีวิตมกี ารเจรญิ เตบิ โต โครโมโซมลดลงคร่งึ หนง่ึ ข. ทำใหม้ ีเซลล์ใหมท่ ดแทนเซลลท์ ี่ชำรุดหรอื ตายไป ง. ในระยะแอนาเฟส I เป็นการแยกกันของโคร ค. ทำใหเ้ กดิ เซลล์สบื พนั ธ์ุ มาทิด ส่วนระยะแอนาเฟส II เปน็ การแยกกนั ของ ง. ถูกทกุ ข้อ โฮโมโลกสั โครโมโซม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook