Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส

หลักสูตรปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส

Published by Rawat Yukerd, 2021-06-23 16:32:49

Description: หลักสูตรปฐมวัย-2564

Search

Read the Text Version

๕๑ ๗.๒ มมี ารยาทตาม -ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทย ๑. การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้อง ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาท วฒั นธรรมไทยและรกั ความ ได้ ตามกาลเทศะ ถิ่นท่อี าศยั และประเพณีไทย และวัฒนธรรมไทย เปน็ ไทย ๒. การเลน่ บทบาทสมมุติการปฏบิ ตั ิ - การแสดงความเคารพ ตนในความเป็นคนไทย -การพดู สุภาพ - การกล่าวคำขอบคุณและขอ โทษ -กล่าวคำขอบคุณและขอ ๑. การปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมทอ้ ง ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาท โทษด้วยตนเอง ถิน่ ที่อาศัยและประเพณไี ทย และวัฒนธรรมไทย ๒. การเลน่ บทบาทสมมตุ กิ ารปฏิบตั ิ - การพูดสภุ าพ ตนในความเป็นไทย - การกล่าวคำขอบคุณและขอ ๓. การพูดสะท้อนความรู้สึกของ โทษ ตนเองและผู้อื่น -ยืนตรงและร่วมร้องเพลง ๑. การปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมทอ้ ง ๑. วันสำคัญของชาติ ศาสนา ชาติไทยและเพลงสรรเสริญ ถิน่ ที่อาศัยและประเพณีไทย พระมหากษตั รยิ ์ พระมารมี ๒. การเลน่ บทบาทสมมตุ กิ ารปฏบิ ตั ิ ๒. สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย ตนในความเป็นไทย ๓. การแสดงความจงรักภัคดีตอ่ ๓. การรว่ มกิจกรรมวนั สำคญั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ ๘.๑ ยอมรบั ความเหมือนและ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กท่ี ๑.การเลน่ และทำงานร่วมกับ ๑. การเลน่ และการทำ ความแตกต่างระหว่างบุคคล แตกต่างไปจากตน ผอู้ ื่น กิจกรรมรว่ มกบั ผู้อน่ื ๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ทด่ี ีกบั ผูอ้ ่ืน -เล่นหรือทำงานรว่ มกับเพื่อนอย่าง ๒. การเล่นพื้นบา้ นของไทย ๒. การปฏบิ ตั ิตามวฒั นธรรม มีเปา้ หมาย ๓. การศึกษานอกสถานที่ ท้องถิ่นและความเป็นไทย ๔. การเล่นและทำกิจกรรม -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับ ร่วมกับกลุ่มเพ่ือน ผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้ ๕. การทำศิลปะแบบร่วมมอื ๖. การร่วมสนทนาและ เหมาะสมกบั สถานการณ์ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ ๗. การเล่นรายบุคคล กลมุ่ ยอ่ ย และกลมุ่ ใหญ่

๕๒ ๘.๓ ปฏิบัติตนเบอ้ื งตน้ ในการ -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ ๑. การร่วมกำหนดข้อตกลงของ ๑. การปฏบิ ัติตามกฎระเบียบ และข้อตกลง เปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม ปฏบิ ัติตามข้อตกลงดว้ ยตนเอง หอ้ งเรยี น - ผนู้ ำผู้ตาม ๒. การแสดงออกทางอารมณ์ ๒.การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ทดี่ ี และความรูส้ ึกอยา่ งเหมาะสม ๓. การแสดงมารยาทท่ดี ี -ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้ ของหอ้ งเรยี น ๓. การให้ความรว่ มมอื ในการ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย ๔. การรว่ มกิจกรรมวนั สำคัญ ปราศจากการใช้ความรุนแรงด้วย ๕. การมีส่วนร่วมในการเลือก ตนเอง วิธกี ารแก้ปัญหา ๖. การมสี ว่ นร่วมในการ แกป้ ัญหาความขัดแย้ง ๔. ด้านสตปิ ญั ญา มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่า -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา ๑ . ก า ร ฟ ั ง เ ส ี ย ง ต ่ า ง ๆ ใ น มารยาทในการฟงั เรือ่ งให้ผู้อ่ืนเข้าใจ โต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับ ส่ิงแวดล้อม - การรับฟงั เร่อื งทีฟ่ งั ๒. การฟังและปฏิบัติตาม - การสนทนาเชื่อมโยงสิ่งตา่ งๆ คำแนะนำ ๓. การฟังเพลง นิทาน คำคล้อง จอง บทร้อยกรอง หรือเรื่องราว ตา่ งๆ ๔. การเลน่ เกมทางภาษา -เล่าเปน็ เรอื่ งราวตอ่ เนือ่ งได้ ๑ . ก า ร พ ู ด แ ส ด ง ค วามคิด ๑. การใช้ภาษาในการส่ือ ความรู้สึก และความตอ้ งการ ความหมายในชีวิตประจำวัน ๒. การพูดเกีย่ วกบั ประสบการณ์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้ ของตนเอง หรือพูดเรื่องราว หนงั สือและตัวหนงั สอื เกย่ี วกบั ตนเอง ๓. การพูดอธิบายเกีย่ วกับส่งิ ของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ ของส่งิ ต่างๆ ๔. การพูดอย่างสร้างสรรค์ใน การเลน่ และการกระทำต่างๆ

๕๓ ๕. การรอจังหวะที่เหมาะสมใน การพูด ๖. การพูดเรียงลำดับเพื่อใช้ใน การสอ่ื สาร ๗. การเลน่ เกมทางภาษา ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และ -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการ ๑. การอา่ นหนงั สือภาพ นิทาน ๑. การใชภ้ าษาในการสอ่ื สัญลักษณไ์ ด้ ช้ี หรือกวาดตามองจดุ เรม่ิ ต้นและ หลากหลายประเภท/รปู แบบ ความหมายในชีวติ ประจำวนั จุดจบของข้อความ ๒. การอา่ นอยา่ งอิสระตามลำพงั ความร้พู น้ื ฐานเกย่ี วกบั การใช้ การอ่านรว่ มกัน การอา่ นโดยมีผู้ หนังสือและตัวหนังสือ ชี้แนะ - การอ่านภาพ สัญลักษณ์ ๓. การเหน็ แบบอย่างของการ นทิ าน อา่ นท่ถี กู ตอ้ ง ๔. การสังเกตทศิ ทางการอา่ น ตวั อักษร คำ และขอ้ ความ ๕. การอ่านและชี้ข้อความ โดย กวาดสายตาตามบรรทัดจาก ซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง ๖. การสังเกตตัวอกั ษรในช่ือของ ตน หรือคำคนุ้ เคย ๗. การ ส ัง เกตตัวอักษ ร ท่ี ประกอบเป็นคำผ่านการอ่าน หรือเขียนของผูใ้ หญ่ ๘. การคาดเดาคำ วลี หรือ ประโยคที่มีโครงสร้างซ้ำๆกัน จากนทิ าน เพลง คำคลอ้ งจอง ๙. การเลน่ เกมทางภาษา ๑๐. การเห็นแบบอย่างของการ เขยี นทถ่ี ูกต้อง -เขียนช่อื ของตนเอง ตามแบบ ๑. การเขียนร่วมกันตามโอกาส ๑. การใชภ้ าษาในการส่ือ เขียนข้อความดว้ ยวิธที คี่ ดิ ขนึ้ เอง และการเขยี นอิสระ ความหมายในชวี ิตประจำวัน ๒. การเขียนคำที่มีความหมาย ความรพู้ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั การใช้ กับตวั เด็ก/คำคุน้ เคย หนงั สือและตัวหนงั สอื ๓. การคิดสะกดคำและเขียน - การเขียนภาพ สัญลักษณ์ เพื่อสื่อความหมายด้วยตนเอง ตัวอกั ษร ชือ่ - สกุลของตนเอง อย่างอิสระ ๔. การเลน่ เกมทางภาษา

๕๔ มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ท่เี ปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิด -บอกลักษณะ ๑. การสังเกตลักษณะ สว่ นประกอบ ๑. การคิด รวบยอด ส่วนประกอบ การ การเปลย่ี นแปลง และความสมั พันธข์ อง - ประสาทสัมผสั เปล่ียนแปลง หรอื ส่ิงต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผสั อยา่ ง - การสังเกต ความสมั พนั ธข์ องส่ิงของ เหมาะสม ๒. การเปลี่ยนแปลงและ ต่างๆจากการสงั เกตโดย ๒. การสังเกตสง่ิ ตา่ งๆแลละสถานทจี่ าก ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ใชป้ ระสาทสัมผสั มุมมองทต่ี ่างกัน รอบตัว ๓. การเลน่ กับส่ือตา่ งๆทเี่ ปน็ ทรงกลม ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกระบอก ทรง กรวย ๔. การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตกุ ารณใ์ นชีวติ ประจำวัน -จับคู่และเปรียบเทียบ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ ๑. การคดิ ความแตกตา่ งหรือความ จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง - การจบั คู่ เหมือนของสิ่งต่างๆโดย รปู ทรง - การเปรียบเทียบลักษณะ ใช้ลักษณะที่สังเกตพบ ๒. การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้ ต่างๆ สองลักษณะข้ึนไป สมบรู ณ์ และการแยกชิ้นส่วน ๓. การจับคู่ การเปรียบเทยี บและการ เรยี งลำดับสิ่งตา่ งๆตามลกั ษณะความ ยาว/ความสงู น้ำหนัก ปริมาตร ๔. การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตรก์ ับ เหตุการณใ์ นชีวติ ประจำวนั -จำแนกและจัดกลุ่มส่ิง ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ ๑. การคดิ ต่างๆโดยใช้ตั้งแต่สอง จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง - การจำแนกสิ่งของตั้งแต่ ลักษณะข้ึนไปเป็นเกณฑ์ รูปทรง ๒ลักษณะ ๒. การทำซ้ำ การต่อเติม และการสร้าง - การจัดกลุ่ม แบบรปู ๓. การรวมและการแยกสิ่งตา่ งๆ ๔. การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับ เหตุการณใ์ นชวี ติ ประจำวัน -เรียงลำดับสิ่งของหรือ ๑. การนับและแสดงจำนวนของสง่ิ ตา่ งๆ ๑. การคดิ เหตุการณ์อย่างน้อย ๕ ในชวี ิตประจำวัน - การเรียงลำดับ อยา่ งน้อย ลำดับ ๒. การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั ๕ ลำดบั จำนวนของส่ิงตา่ ง ๆ - จำนวนและตัวเลข

๕๕ ๓. การบอกและแสดงอนั ดับที่ของสงิ่ ต่าง ๆ ๔. การบอกและเรยี งลำดบั กิจกรรมหรอื เหตุการณต์ ามชว่ งหรอื เวลา ๕. การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตรก์ บั เหตุการณใ์ นชีวติ ประจำวนั ๖. การบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของส่ิงตา่ งด้วยการกระทำ ภาพวาด ภาพถ่าย และรปู ภาพ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิด -อธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุ ๑. การชง่ั ตวง วัดสง่ิ ต่างๆโดยใช้ ๑. การแสดงความคดิ เหน็ เชิงเหตุผล และผลท่เี กดิ ข้นึ ใน เครอื่ งมือและหน่วยทไี่ มใ่ ช่หนว่ ย - การชง่ั เหตกุ ารณ์หรือการ มาตรฐาน - การตวง กระทำด้วยตนเอง ๒. การอธบิ ายเชอ่ื มโยง สาเหตแุ ละผลท่ี - การวดั เกิดขนึ้ ในเหตกุ ารณห์ รือการกระทำ ๒. การเช่อื มโยงสิ่งต่างๆใน ชีวิตประจำวนั -คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ ๑. การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่ -การหาความสัมพันธ์อย่าง เกิดขึ้น และมีส่วนร่วม อาจจะเกดิ ขน้ึ อย่างมีเหตุผล มเี หตุผล ในการลงความเห็นจาก ๒. การมสี ว่ นรว่ มในการลงความเหน็ จาก ข้อมลู อย่างมีเหตุผล ขอ้ มูลอย่างมีเหตผุ ล ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิด -ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ๑. การตดั สินใจและมสี ว่ นร่วมใน ๑. การตัดสินใจสิ่งต่างๆ แกป้ ญั หาและตดั สินใจ และยอมรับผลที่เกิดข้ึน กระบวนการแก้ปัญหา ด้วยตนเอง ๒. การอธบิ ายเชอื่ มโยง สาเหตแุ ละผลที่ เกิดข้นึ ในเหตกุ ารณ์หรือการกระทำ -ระบุปญั หาสร้าง ๑. การตัดสินใจและมีส่วนรว่ มใน ๑. การแก้ปัญหาด้วย ทางเลือกและเลอื กวธิ ี กระบวนการแก้ปญั หา ตนเองอย่างมัน่ ใจ แก้ปัญหา ๒. การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสง่ิ ที่ อาจจะเกดิ ขึ้นอย่างมีเหตุผล ๓. การมสี ่วนร่วมในการลงความเห็น จากขอ้ มลู อย่างมีเหตผุ ล

๕๖ มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตวั บ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณส์ ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศิลปะตาม -สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร ๑. การแสดงความคดิ ๑.การทำงานศิลปะท่แี ปลก จนิ ตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ความคิด ความรู้สึกของตนเองโดย สร้างสรรค์ผ่านภาษา ทา่ ทาง ใหม่ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ มีการดัดแปลงและแปลกใหม่จาก การเคลือ่ นไหว และศลิ ปะ ๒. วิธกี ารใช้เคร่ืองมอื เคล่อื นไหวตามจินตนาการ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เดมิ และมรี ายละเอียดเพ่มิ ขน้ึ ๒. การเขียนภาพและการเล่น เคร่อื งใชใ้ นการทำงานศลิ ปะ กับสี อย่างถกู วิธีและปลอดภัย เชน่ ๓. การป้นั กรรไกร ๔. การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วย เศษวัสดุ ๕. การทำงานศิลปะที่นำวัสดุ หรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้แล้ว มาใช้ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำ กลบั มาใช้ใหม่ ๖. การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉีก การตัด การปะและ การรอ้ ยวสั ดุ ๗.การแสดงความคิด สรา้ งสรรค์ผา่ นภาษา ทา่ ทาง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ ๘. การทำงานศลิ ปะ ๙. การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดย ใช้รูปร่าง รูปทรง จากวัสดุที่ หลากหลาย ๑๐. การรับรูแ้ ละแสดง ความคดิ ความรสู้ ึกผ่านสอื่ วสั ดุ ของเลน่ และชนิ้ งาน -เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร ๑. การเคลอ่ื นไหวอยกู่ บั ที่ ๑. การเคลื่อนไหวร่างกายใน ความคดิ ความรสู้ กึ ของตนเอง ๒. การเคล่ือนไหวเคลอ่ื นที่ ทิศทางระดับและพื้นทตี่ า่ งๆ อยา่ งหลากหลายและแปลกใหม่ ๓. การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุ ๒. การแสดงท่าทางต่างๆตาม อุปกรณ์ ความคดิ ของตนเอง ๔. การแสดงความคดิ สรา้ งสรรคผ์ า่ นภาษา ท่าทาง การเคล่อื นไหวและศลิ ปะ

๕๗ ๕. การเคลื่อนไหวโดยควบคุม ตนเองไปในทศิ ทาง ระดับและ พืน้ ที่ ๖. การเคล่ือนไหวตาม เสยี งเพลง/ดนตรี ๗. การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโต้ตอบ เสยี งดนตรี มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกับวยั ตัวบง่ ช้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ช้นั อนุบาลปที ี่ ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ -หยบิ หนังสือมาอ่านและเขยี นสื่อ ๑. การสำรวจสิ่งต่างๆ และ ๑. ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการใช้ เรียนรู้ ความคิดด้วยตนเองเป็นประจำ แหล่งเรยี นรูร้ อบตัว หนังสือและตวั หนังสอื อยา่ งอิสระ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ๒. การตั้งคำถามในเรื่องที่ สนใจ -กระตอื รือรน้ ในการร่วมกจิ กรรม ๑. การให้ความร่วมมอื ในการ ๑. การแสดงออกทางอารมณ์และ ต้งั แต่ต้นจนจบ ปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆ ความรสู้ กึ อย่างเหมาะสม ๒. การตั้งคำถามในเรื่องท่ี ๒. ความสนใจในการทำกจิ กรรม สนใจ ๓. การมีส่วนร่วมในการ รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ ข้อมูลจากการสืบเสาะหา ความรู้ในรูปแบบต่างๆและ แผนภูมอิ ยา่ งงา่ ย ๑๒.๒ มีความสามารถในการ -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ๑. การสำรวจสิ่งต่างๆ และ - การเรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่ง แสวงหาความรู้ ตามวิธีการที่หลากหลายด้วย แหล่งเรียนรูร้ อบตัว ต่างๆอยา่ งหลากหลายดว้ ยตนเอง ตนเอง ๒. การตั้งคำถามในเรื่องที่ สนใจ ๓. การสืบเสาะหาความรู้เพอื่ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ต่างๆ ๔. การมีส่วนร่วมในการ รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ ข้อมูลจากการสืบเสาะหา

๕๘ ความรู้ในรูปแบบต่างๆและ แผนภมู อิ ย่างงา่ ย -ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร” ๑. การตั้งคำถามในเรื่องท่ี - การสนใจซักถามคำถามเพื่อ อย่างไร” ในการค้นหาคำตอบ สนใจ คน้ หาคำตอบดว้ ยตนเอง ๒. การสืบเสาะหาความรู้เพอ่ื ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ตา่ งๆ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ซึง่ เป็นส่วนท่ีสำคัญในการใช้เป็นสือ่ กลางในการจดั ประสบการณ์การเรียนรูใ้ ห้กบั เด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กำหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์ สำคญั และสาระที่ควรเรยี นรู้ ดงั นี้ ๑. ประสบการณ์สำคญั ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เด็ก ปฐมวยั เรียนรู้ ลงมือปฏิบตั ิ และได้รบั การสง่ เสริมพฒั นาการครอบคลมุ ทกุ ด้าน ดงั นี้ ๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส พฒั นาการใชก้ ล้ามเนื้อใหญ่ กลา้ มเน้อื เล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาท ในการ ทำกิจวตั รประจำวนั หรอื ทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนนุ ให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัย และการรักษา ความปลอดภัย ดังน้ี ๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเนือ้ ใหญ่ ๑.๑.๑.๑ การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ๑.๑.๑.๒ การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ๑.๑.๑.๓ การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ๑.๑.๑.๔ การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการขว้าง การจบั การโยน การเตะ ๑.๑.๑.๕ การเล่นเครื่องเล่นสนามอยา่ งอิสระ ๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเน้ือเล็ก ๑.๑.๒.๑ การเลน่ เครื่องเลน่ สมั ผสั และการสรา้ งจากแท่งไม้ บลอ็ ก ๑.๑.๒.๒ การเขียนภาพและการเล่นกับสี ๑.๑.๒.๓ การป้นั ๑.๑.๒.๔ การประดิษฐ์สง่ิ ตา่ งๆด้วย เศษวัสดุ ๑.๑.๒.๕ การหยบิ จับ การใช้กรรไกร การฉกี การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ

๕๙ ๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยสว่ นตวั ๑.๑.๓.๑ การปฏิบตั ติ นตามสขุ อนามยั สุขนสิ ัยทดี่ ีในกิจวตั รประจำวนั ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๑ การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจำวัน ๑.๑.๔.๒ การฟังนิทาน เรื่องราว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๓ การเลน่ เคร่ืองเล่นอยา่ งปลอดภยั ๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่างๆ ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกย่ี วกับรา่ งกายตนเอง ๑.๑.๕.๑ การเคลื่อนไหวเพื่อควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่ ๑.๑.๕.๒ การเคล่อื นไหวขา้ มส่งิ กีดขวาง ๑.๒ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจเป็นการสนับสนุนให้เด็กได้ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะที่เป็นอัต ลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สนุ ทรยี ภาพ ความรู้สกึ ที่ดตี อ่ ตนเอง และความเชือ่ มั่นในตนเองขณะปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ ดงั นี้ ๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพ ดนตรี ๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโตต้ อบเสยี งดนตรี ๑.๒.๑.๒ การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๑.๔ การทำกจิ กรรมศิลปะต่างๆ ๑.๒.๑.๕ การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม ๑.๒.๒ การเลน่ ๑.๒.๒.๑ การเล่นอิสระ ๑.๒.๒.๒ การเลน่ รายบุคคล กลมุ่ ย่อย กลมุ่ ใหญ่ ๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมุมประสบการณ์ ๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกห้องเรยี น ๑.๒.๓ คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒.๓.๑ การปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนาทีน่ ับถอื ๑.๒.๓.๒ การฟงั นิทานเกย่ี วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒.๓.๓ การรว่ มสนทนาแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นเชิงจรยิ ธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรสู้ กึ ของตนเองและผอู้ ืน่ ๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๔.๓ การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี

๖๐ ๑.๒.๔.๔การร้องเพลง ๑.๒.๔.๕ การทำงานศิลปะ ๑.๒.๕ การมอี ตั ลกั ษณ์เฉพาะตนและเช่ือวา่ ตนเองมคี วามสามารถ ๑.๒.๕.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง ๑.๒.๖ การเห็นอกเห็นใจผ้อู ื่น ๑.๒.๖.๑ การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข เห็นอกเห็นใจเม่ือผู้อื่นเศรา้ หรือเสียใจ และ การ ชว่ ยเหลือปลอบโยนเมอ่ื ผอู้ ืน่ ได้รบั บาดเจ็บ ๑.๓ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส ปฏสิ มั พันธก์ บั บคุ ลและสง่ิ แวดลอ้ มต่างๆรอบตวั จากการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆ ผา่ นการเรยี นรทู้ างสงั คม เช่น การ เล่น การทำงานกับผูอ้ ่ืน การปฏิบัติกิจวตั รประจำวนั การแก้ปญั หาขอ้ ขัดแย้งตา่ งๆ ๑.๓.๑ การปฏิบตั ิกจิ วตั รประจำวัน ๑.๓.๑.๑ การชว่ ยเหลอื ตนเองในกจิ วตั รประจำวัน ๑.๓.๑.๒การปฏิบตั ติ นตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑.๓.๒ การดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ๑.๓.๒.๑ การมสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบดูแลรักษาสงิ่ แวดลอ้ มทงั้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน ๑.๓.๒.๒ การทำงานศลิ ปะท่ีใชว้ สั ดุหรือส่งิ ของที่ใช้แลว้ มาใชซ้ ำ้ หรอื แปรรูปแล้วนำกลบั มาใช้ใหม่ ๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ๑.๓.๒.๔ การเล้ยี งสัตว์ ๑.๓.๒.๕ การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำวัน ๑.๓.๓ การปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ทีอ่ าศัยและความเป็นไทย ๑.๓.๓.๑ การเล่นบทบาทสมมตุ ิการปฏิบัติตนในความเป็นคนไทย ๑.๓.๓.๒ การปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นทอ่ี าศยั และประเพณีไทย ๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย ๑.๓.๓.๔ การศกึ ษานอกสถานท่ี ๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พนื้ บา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมีปฏิสมั พันธ์ มีวินัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสงั คม ๑.๓.๔.๑ การร่วมกำหนดขอ้ ตกลงของห้องเรยี น ๑.๓.๔.๒ การปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิทดี่ ขี องห้องเรยี น ๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ๑.๓.๔.๔ การดแู ลห้องเรียนรว่ มกนั ๑.๓.๔.๕ การร่วมกิจกรรมวันสำคัญ ๑.๓.๕ การเลน่ แบบรว่ มมือร่วมใจ ๑.๓.๕.๑ การร่วมสนทนาและแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทำงานร่วมกับผอู้ ่ืน

๖๑ ๑.๓.๕.๓ การทำศิลปะแบบร่วมมือ ๑.๓.๖ การแก้ปญั หาความขัดแยง้ ๑.๓.๖.๑ การมสี ่วนร่วมในการเลือกวิธีการแกป้ ัญหา ๑.๓.๖.๒ การมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปัญหาความขดั แยง้ ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ๑.๓.๗.๑ การเลน่ หรือ ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพ่ือน ๑.๔ ประสบการณส์ ำคญั ทสี่ ่งเสริมพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา เปน็ การสนับสนนุ ให้เดก็ ได้รบั รู้ เรยี นรสู้ ่งิ ต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพนั ธ์กับสง่ิ แวดล้อม บุคคลและสอ่ื ต่างๆ ดว้ ยกระบวนการเรยี นร้ทู ีห่ ลากหลาย เพื่อ เปิดโอกาสให้เด็กพฒั นาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการ คิดรวบยอดเก่ียวกบั ส่งิ ตา่ งๆ รอบตวั และมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรท์ ี่เปน็ พน้ื ฐานของการเรยี นรู้ในระดับ ท่สี งู ขน้ึ ต่อไป ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๔.๑.๑ การฟังเสยี งตา่ งๆ ในสิ่งแวดลอ้ ม ๑.๔.๑.๒ การฟังและปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ ๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นิทาน คำคลอ้ งจอง บทร้อยกรงหรือเรือ่ งราวต่างๆ ๑.๔.๑.๔ การแสดงความคดิ ความรสู้ กึ และความต้องการ ๑.๔.๑.๕ การพดู กบั ผอู้ ่ืนเกยี่ วกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรอื พูดเล่าเรื่องราวเก่ยี วกับตนเอง ๑.๔.๑.๖ การพดู อธบิ ายเกย่ี วกบั สง่ิ ของ เหตุการณ์ และความสัมพนั ธข์ องส่งิ ตา่ งๆ ๑.๔.๑.๗ การพูดอยา่ งสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทำตา่ งๆ ๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะที่เหมาะสมในการพูด ๑.๔.๑.๙ การพดู เรยี งลำดบั เพอื่ ใช้ในการส่อื สาร ๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ ๑.๔.๑.๑๑ การอ่านอสิ ระตามลำพัง การอา่ นร่วมกัน การอ่านโดยมผี ู้ชแ้ี นะ ๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอยา่ งของการอ่านทีถ่ ูกต้อง ๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทิศทางการอ่านตัวอกั ษร คำ และข้อความ ๑.๔.๑.๑๔ การอา่ นและชข้ี อ้ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง ๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตวั อักษรในชือ่ ของตน หรอื คำคนุ้ เคย ๑.๔.๑.๑๖ การสงั เกตตวั อักษรที่ประกอบเปน็ คำผา่ นการอ่านหรอื เขยี นของผ้ใู หญ่ ๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคำ วลี หรอื ประโยค ท่ีมีโครงสร้างซ้ำๆกนั จากนทิ าน เพลง คำคล้องจอง ๑.๔.๑.๑๘ การเล่นเกมทางภาษา ๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง ๑.๔.๑.๒๐ การเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ ๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคำที่มีความหมายกับตัวเด็ก/คำคุ้นเคย ๑.๔.๑.๒๒ การคิดสะกดคำและเขยี นเพอื่ ส่อื ความหมายด้วยตนเองอยา่ งอสิ ระ

๖๒ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคดิ เชิงเหตุผล การตดั สินใจและแก้ปัญหา ๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอยา่ งเหมาะสม ๑.๔.๒.๒ การสงั เกตสง่ิ ต่างๆ และสถานทจ่ี ากมุมมองทตี่ า่ งกัน ๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆด้วยการกระทำ ภาพวาด ภาพถ่าย และรปู ภาพ ๑.๔.๒.๔ การเล่นกับสื่อต่างๆที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย ๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสง่ิ ต่างๆตามลักษณะและรปู ร่าง รปู ทรง ๑.๔.๒.๖ การตอ่ ของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ใหส้ มบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน ๑.๔.๒.๗ การทำซ้ำ การตอ่ เติม และการสร้างแบบรูป ๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆในชีวิตประจำวัน ๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนของสิง่ ตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสิ่งต่างๆ ๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอันดบั ที่ของสิ่งต่างๆ ๑.๔.๒.๑๒ การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะความยาว/ ความสูงน้ำหนกั ปริมาตร ๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลำดับกิจกรรมหรือเหตูการณ์ตามช่วงเวลา ๑.๔.๒.๑๕ การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำ ๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งทอี่ าจเกิดข้นึ อย่างมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๘ การมีส่วนร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมลู อย่างมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๙ การตดั สินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา ๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิน้ งาน ๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ ๑.๔.๓.๓ การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคตทิ ดี่ ีตอ่ การเรียนรแู้ ละการแสวงหาความรู้ ๑.๔.๔.๑ การสำรวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว ๑.๔.๔.๒ การต้งั คำถามในเรื่องที่สนใจ ๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมลู จากการสืบเสาะหาความรู้ใน รปู แบบต่างๆและแผนภูมิอย่างง่าย

๖๓ ๒. สาระท่คี วรเรยี นรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด หลังจากนำสาระการเรียนรู้น้ันๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจัดหมายที่กำหนดไว้ทั้งนี้ ไม่เน้นการ ท่องจำเนื้อหา ครูสามารถกำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกบั วัย ความต้องการ และความสนใจของเดก็ โดยให้เดก็ ได้เรียนร้ผู า่ นประสบการณส์ ำคัญ ทั้งน้ี อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้โดยคำนึงถงึ ประสบการณ์และส่ิงแวดล้อม ในชวี ติ จรงิ ของเดก็ ดังน้ี ๒.๑ เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเดก็ เดก็ ควรรจู้ ักช่ือ นามสกลุ รปู รา่ งหน้าตา รจู้ กั อวยั วะต่างๆ วิธีระวังรักษา รา่ งกายใหส้ ะอาดและมีสุขภาพอนามยั ที่ดี การรับประทานอาหารท่เี ป็นประโยชน์ การระมดั ระวังความปลอดภัย ของตนเองจากผู้อนื่ และภัยใกลต้ วั รวมทง้ั การปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ ่ืนอยา่ งปลอดภยั การรจู้ ักความเปน็ มาของตนเองและ ครอบครวั การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกที่ดขี องครอบครวั และโรงเรียน การเคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อืน่ การรู้จัก แสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกำกับตนเอง การเล่นและทำสิ่งต่างๆด้วย ตนเองตามลำพังหรือกับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้ อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดง มารยาททด่ี ี การมคี ุณธรรมจริยธรรม ๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบคุ คลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกีย่ วกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน สถานที่สำคัญ วัน สำคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยและการปฏิบตั ิ ตามวฒั นธรรมท้องถิน่ และความเป็นไทย หรอื แหล่งเรียนรจู้ ากภูมปิ ัญญาท้องถ่ินและนำมาบูรณาการสู่สาระการ เรียนรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นส่กู ารจดั ประสบการณห์ น่วยการเรยี นรู้ ๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ ความสมั พันธข์ องมนษุ ย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรูจ้ กั เกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟา้ สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และ พลงั งานในชวี ิตประจำวันทแี่ วดลอ้ มเด็ก รวมท้งั การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อมและการรักษาสาธารณสมบัติและนำมาบรู การสู่การจัดกจิ กรรมในโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ยแหง่ ประเทศไทยเขา้ สกู่ ารจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจำวัน ความรพู้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับการใชห้ นงั สือและตัวหนังสอื รู้จกั ชอ่ื ลักษณะ สี ผิวสมั ผสั ขนาด รูปร่าง รปู ทรง ปริมาตร นำ้ หนกั จำนวน สว่ นประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพนั ธ์ของส่ิงต่างๆรอบตวั เวลา เงิน ประโยชน์ การ ใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน ชีวิตประจำวันอย่างประหยัด ปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อมและนำมาบูรณาการสู่การจัดกิจกรรมในโครงการ บา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทยเข้าสู่การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

๖๔ การจดั ประสบการณ์ การจดั ประสบการณส์ ำหรับเดก็ ปฐมวัยอายุ ๓ – ๖ ปี เปน็ การจดั กิจกรรมในลักษณะบูรณาการผ่าน การเลน่ การลงมือกระทำจากประสบการณต์ รงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้ง เกิดการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาไม่จัดเป็นรายวิชา โดยมีแนวทางการจัด ประสบการณ์ ดงั น้ี แนวทางการจดั ประสบการณ์ ๑. จัดประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมองท่ีเหมาะสมกับ อายุ วุฒิภาวะและระดบั พัฒนาการ เพอื่ ใหเ้ ด็กทุกคนได้พัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ ๒. จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำเรียนรู้ผ่าน ประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า ไดเ้ คล่ือนไหว สำรวจ เลน่ สังเกต สืบค้น ทดลอง และคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง ๓. จดั ประสบการณ์แบบบรู ณาการ โดยบูรณาการท้ังกจิ กรรม ทักษะ และสาระการเรยี นรู้ ๔. จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่มคดิ วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอความคิดโดย ครูหรอื ผ้จู ดั ประสบการณ์เปน็ ผู้สนบั สนนุ อำนวยความสะดวก และเรยี นรู้รว่ มกบั เด็ก ๕. จัดประสบการณใ์ ห้เด็กมปี ฏิสัมพันธก์ บั เด็กอืน่ กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการ เรียนรู้ ในบรรยากาศทอ่ี บอนุ่ มคี วามสุข และเรยี นรูก้ ารทำกิจกรรมแบบร่วมมอื ในลกั ษณะต่างๆกัน ๖. จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและอยู่ในวิถี ชีวติ ของเดก็ ๗. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจำวันตลอดจน สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของการจัดประสบการณ์การเรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ ง ๘. จัดประสบการณ์ท้ังในลักษณะที่ดีการวางแผนไวล้ ่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริงโดย ไม่ได้คาดการณไ์ ว้ ๙. จัดทำสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็น รายบคุ คล นำมาไตรต่ รองและใช้ให้เป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาเดก็ และการวิจยั ในช้นั เรยี น ๑๐. จดั ประสบการณ์โดยใหพ้ ่อแม่ ครอบครัว และชมุ ชนมีสว่ นร่วมทง้ั การวางแผน การสนับสนุน สื่อแหลง่ เรียนรู้ การเข้าร่วมกจิ กรรม และการประเมินพฒั นาการ การจัดกิจกรรมประจำวนั กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปีบริบูรณ์ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลาย รูปแบบเป็นการชว่ ยให้ครูผู้สอนหรือผู้จัดประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวันจะทำกิจกรรมอะไร เม่อื ใด และอย่างไร ทั้งนี้การจัดกิจกรรมประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละ หนว่ ยงานและสภาพชมุ ชน ทส่ี ำคัญครูผู้สอนตอ้ งคำนึงถงึ การจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพฒั นาการทุกด้านการจัด กิจกรรมประจำวนั มีหลักการจดั และขอบข่ายกจิ กรรมประจำวนั ดงั นี้

๖๕ ๑. หลกั การจัดกจิ กรรมประจำวัน ๑.๑ กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับวัยของเดก็ ในแต่ละวนั แต่ยดื หยนุ่ ไดต้ ามความต้องการและความสนใจของเดก็ เช่น วัย ๓- ๔ ปี มีความสนใจประมาณ ๘-๑๒ นาที วัย ๔ – ๕ ปี มคี วามสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที วัย ๕- ๖ ปี มีความสนใจประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที ๑.๒ กิจกรรมทีต่ ้องใชค้ วามคดิ ทั้งในกลมุ่ เล็กและกล่มุ ใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาต่อเนอ่ื งนานเกินกว่า ๒๐ นาที ๑.๓ กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพื่อช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิด สร้างสรรค์ เชน่ การเลน่ ตามมุม การเลน่ กลางแจง้ ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที ๑.๔ กจิ กรรมควรมคี วามสมดุลระหวา่ งกิจกรรมในห้องและนอกหอ้ ง กิจกรรมที่ใชก้ ล้ามเนื้อใหญ่ และกลา้ มเนือ้ เล็ก กิจกรรมท่ีเปน็ รายบุคคล กลุม่ ย่อยและกลมุ่ ใหญ่ กจิ กรรมท่ีเด็กเป็นผู้รเิ รม่ิ และครูผู้สอนหรือผู้ จดั ประสบการณเ์ ป็นผรู้ เิ ริม่ และกิจกรรมทใ่ี ชก้ ำลังและไม่ใช้กำลัง จดั ให้ครบทกุ ประเภท ท้ังนี้ กิจกรรมทีต่ ้องออก กำลังกายควรจดั สลบั กบั กิจกรรมท่ีไม่ต้องออกกำลงั มากนัก เพ่อื เดก็ จะไดไ้ ม่เหน่อื ยเกินไป ๒. ขอบข่ายของกิจกรรมประจำวนั การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจดั ในแต่ละวนั สามารถจัดได้หลายรปู แบบ ท้ังนี้ ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมใน การนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญครูผู้สอนต้องคำนึกถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุม พัฒนาการทุกดา้ น ดงั ตอ่ ไปนี้ ๒.๑ การพัฒนากล้ามเนือ้ ใหญ่ เปน็ การพฒั นาความแขง็ แรง การทรงตวั ความยดื หย่นุ ความ คล่องแคล่วในการใชอ้ วัยวะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้ เลน่ อสิ ระกลางแจ้ง เลน่ เครอ่ื งเล่นสนาม ปีนป่ายเล่นอสิ ระ เคล่ือนไหวรา่ งกายตามจงั หวะดนตรี ๒.๒ การพัฒนาการกล้ามเนื้อเล็ก เป็นการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อ มือ-นิ้วมือการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สมั พันธ์ โดยจัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ ได้เลน่ เครือ่ งสัมผสั เล่นเกมการศึกษา ฝึกชว่ ยเหลอื ตนเองในการแตง่ กาย หยิบจับ ชอ้ นสอ้ ม และใช้อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทยี น กรรไกร พ่กู ัน ดินเหนยี ว ฯลฯ ๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลูกฝังให้เดก็ มี ความรสู้ กึ ที่ดตี อ่ ตนเองและผู้อ่ืน มีความเชอื่ มน่ั กลา้ แสดงออก มีวนิ ัย รับผิดชอบ ซอ่ื สัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจดั กจิ กรรมต่างๆ ผ่านการ เล่นให้เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนองตาความต้องการได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมอย่างต่อเนื่อง ๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสยั เป็นการพฒั นาให้เด็กมีลักษณะนิสยั ท่ีดี แสดงออกอย่างเหมาะสม และอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข ชว่ ยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันมีนิสัยรกั การทำงาน ระมดั ระวงั ความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตร

๖๖ ประจำวันอย่างสมำ่ เสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและ ทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ ปฏบิ ัตติ ามกฎกติกาข้อตกลงของร่วมรวม เก็บของเขา้ ท่ีเมื่อเลน่ หรือทำงานเสรจ็ ๒.๕ การพัฒนาการคดิ เป็นการพัฒนาให้เด็กมคี วามสามารถในการคดิ แก้ปัญหาความ คดิ รวบ ยอดทางคณิตศาสตร์ และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนา อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่ เล่นเกมการศึกษา ฝึกการ แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทำกิจกรรมทั้งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่และ รายบคุ คล ๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพฒั นาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรู้ ความเข้าใจในสิง่ ต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถตั้งคำถามในสิ่งที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มี ความหลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดลอ้ มตอ้ งเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งน้ีต้องคำนึกถึงหลักการจดั กิจกรรมทางภาษาทีเ่ หมาะสมกับเด็กเปน็ สำคญั ๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เดก็ มีความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดนตรี การเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมุติ เล่นน้ำ เลน่ ทราย เลน่ บลอ็ ก และเลน่ กอ่ สร้าง การจดั สภาพแวดล้อม สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก สามารถเรียนรจู้ ากการเล่นที่เปน็ ประสบการณ์ตรงท่เี กิดจากการรับรู้ดว้ ย ประสาทสมั ผัสท้ังหา้ จึงจำเป็นต้องจัด สภาพแวดล้อม ในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ ของหลักสูตร เพื่อส่งผลให้บรรลุ จดุ หมายในการพฒั นาเด็ก การจัดสภาพแวดล้อมจะตอ้ งคำนงึ ถงึ สิ่งต่อไปนี้ ๑. ความสะอาด ความปลอดภัย ๒. ความมอี ิสระอยา่ งมขี อบเขตในการเลน่ ๓. ความสะดวกในการทำกจิ กรรม ๔. ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น ห้องเรยี น ห้องน้ำหอ้ งสว้ ม สนามเดก็ เลน่ ฯลฯ ๕. ความเพียงพอ เหมาะในเรอื่ งขนาด นำ้ หนกั จำนวน สีของสื่อและเคร่ืองเลน่ ๖. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจดั ที่เล่นและมมุ ประสบการณ์ตา่ งๆ สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น หลักสำคัญในการจัดต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก ความเป็น ระเบียบ ความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น มั่นใจ และมีความสุข ซึ่งอาจจัดแบ่งพื้นที่ให้ เหมาะสมกบั การประกอบกจิ กรรมตามหลกั สูตร ดงั นี้

๖๗ ๑. พน้ื ท่อี ำนวยความสะดวกเพอ่ื เด็กและผ้สู อน ๑.๑ ทีแ่ สดงผลงานของเด็ก อาจจดั เป็นแผ่นปา้ ย หรือท่ีแขวนผลงาน ๑.๒ ท่ีเกบ็ แฟ้มผลงานของเด็ก อาจจดั ทำเป็นกลอ่ งหรือจดั ใสแ่ ฟม้ รายบุคคล ๑.๓ ทเี่ ก็บเครอ่ื งใชส้ ว่ นตัวของเด็ก อาจทำเป็นช่องตามจำนวนเด็ก ๑.๔ ทีเ่ กบ็ เครื่องใช้ของผสู้ อน เชน่ อุปกรณก์ ารสอน ของสว่ นตัวผู้สอน ฯลฯ ๑.๕ ปา้ ยนเิ ทศตามหนว่ ยการสอนหรอื สง่ิ ที่เด็กสนใจ ๒. พน้ื ทปี่ ฏิบัติกจิ กรรมและการเคลอื่ นไหว ต้องกำหนดใหช้ ดั เจน ควรมีพ้นื ท่ีทเ่ี ด็กสามารถจะทำงานได้ ด้วยตนเอง และทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่มเล็ก หรือกลุม่ ใหญ่ เดก็ สามารถเคลือ่ นไหวได้อย่างอิสระจากกิจกรรม หน่ึง ไปยังกิจกรรมหนงึ่ โดยไม่ รบกวนผู้อ่ืน ๓. พ้ืนที่จดั มุมเลน่ หรอื มุมประสบการณ์ สามารถจดั ไดต้ ามความเหมาะสมข้นึ อยู่กับสภาพของห้องเรียน จดั แยกส่วนทีใ่ ช้เสยี งดงั และเงียบออกจากกนั เชน่ มมุ บลอ็ กอยหู่ ่างจากมุมหนงั สอื มมุ บทบาทสมมติอยู่ติดกับมุม บล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มุมศลิ ปะ ฯลฯ ที่สำคัญจะตอ้ งมขี องเลน่ วัสดุอุปกรณ์ในมุมอย่างเพียงพอต่อการ เรยี นร้ขู องเด็ก การเลน่ ในมุมเล่นอย่างเสรี มกั ถูกกำหนดไว้ในตารางกิจกรรมประจำวนั เพ่อื ให้โอกาสเด็กได้เล่น อย่างเสรีประมาณวนั ละ ๖๐ นาที การจัดมมุ เลน่ ตา่ งๆ ผสู้ อนควรคำนงึ ถึงสิง่ ตอ่ ไปน้ี ๓.๑ ในหอ้ งเรียนควรมีมมุ เล่นอยา่ งนอ้ ย ๓-๕ มมุ ทง้ั นขี้ ึน้ อย่กู บั พ้นื ทขี่ องหอ้ ง ๓.๒ ควรมกี ารผลัดเปลย่ี นสอ่ื ของเล่นตามมมุ บา้ ง ตามความสนใจของเดก็ ๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ที่เด็กได้เรียนรู้ไปแล้ว ปรากฏอยู่ในมุมเลน่ เช่น เด็กเรียนรู้เรื่องผเี ส้ือ ผสู้ อนอาจจัดใหม้ ีการเล้ียงหนอน หรอื มผี ีเสื้อสต๊าฟใสก่ ลอ่ งไว้ให้เดก็ ดูในมมุ ธรรมชาติศกึ ษาหรือมุมวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของ อยาก เรียนรู้ อยากเขา้ เลน่ ๓.๕ ควรเสริมสร้างวินัยให้กับเด็ก โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าเมื่อเล่นเสร็จแล้วจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ ทกุ อย่างเขา้ ทีใ่ ห้เรยี บร้อย มุมประสบการณท์ ่ีควรจัดมี ดงั น้ี ๑.มุมบล็อก เป็นมุมที่จัดเก็บบล็อกไม้ตันที่มีขนาดและรูปทรง ต่างๆ กัน เด็กสามารถนำมาเล่นต่อประกอบกันเปน็ สิ่งต่างๆ ตามจินตนาการ ความคดิ สร้างสรรคข์ องตนเอง ควรจัดให้อยู่ห่างจากมุมที่ต้อง การความสงบ เช่น มุมหนังสอื ทั้งนี้เพราะเสียงจากการเล่นก่อไม้บลอ็ ก อาจทำลายสมาธเิ ด็กทอ่ี ยู่ในมุมหนังสือได้ นอกจากนี้ยังควรอยู่ห่างจากทางเดินผา่ นหรอื ทางเข้าออกของห้องเพ่ือ ไม่ให้กีด ขวางทางเดินหรือเกดิ อันตรายจากการเดินสะดดุ ไมบ้ ล็อกการจัดเก็บไมบ้ ล็อกเหล่านี้ ควรจัดวางไว้ใน ระดบั ท่ีเดก็ สามารถหยบิ มาเลน่ หรือนำเก็บดว้ ยตนเองได้อย่างสะดวก ปลอดภยั และควรได้ฝกึ ให้เด็กหัดจัดเก็บ เปน็ หมวดหมูเ่ พือ่ ความเปน็ ระเบยี บ สวยงาม ๒. มุมหนังสือ ในห้องเรยี นควรมที ี่เงียบสงบ สำหรบั ใหเ้ ดก็ ได้ดรู ปู ภาพ อา่ นหนังสอื นทิ าน ฟงั นทิ าน ผสู้ อนควรไดจ้ ัดมุม หนงั สอื ใหเ้ ดก็ ได้คุน้ เคยกบั ตวั หนังสือ และไดท้ ำกิจกรรมสงบๆ ตามลำพังหรือเป็นกลุ่มเล็กๆ การจัดมุมหนังสือ เป็นมุมที่ต้องการความสงบควรจัดห่างจากมุมที่มีเสียง เช่น มุมบล็อก มุมบทบาท สมมติ ฯลฯ และควรจดั บรรยากาศจูงใจให้เด็กได้เข้าไปใช้เพ่ือเด็กจะไดค้ ุ้นเคยกบั ตัว หนงั สอื และปลกู ฝงั นิสัยรัก การอ่านใหก้ บั เด็ก ๓. มมุ บทบาทสมมติ

๖๘ มมุ บทบาทสมมติ เปน็ มุมทจ่ี ัดขึ้นเพ่ือให้เด็กมีโอกาสไดน้ ำเอาประสบการณ์ทไ่ี ด้รับจากบ้าน หรือชุมชน มาเล่นแสดงบทบาทสมมติ เลยี นแบบบคุ คลต่างๆ ตามจนิ ตนาการของตน เชน่ เป็นพ่อแม่ในมุมบา้ น เป็นหมอใน มุมหมอ เปน็ พอ่ ค้าแมค่ ้าในมมุ รา้ นคา้ ฯลฯ การเลน่ ดงั กลา่ วเป็นการปลกู ฝงั ความสำนึกถงึ บทบาททางสังคมที่เด็ก ได้ พบเห็นในชวี ิตจริง การจัดมุมบทบาทสมมตินี้ ควรอยู่ใกล้มุมบล็อกและอาจจัดให้เป็นสถานที่ต่างๆ นอกเหนือจากการ จัดเป็นบ้าน โดยสังเกตการณ์เล่นและความสนใจของเด็กว่ามกี ารเปลี่ยนแปลงบทบาท การเล่นจากบทบาทเดิม ไปสู่รูปแบบการเล่นอื่นหรือไม่ อุปกรณ์ที่นำมาจัดก็ควรเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็กเช่นกัน ดังนั้นมุม บทบาทสมมติจึงอาจจดั เปน็ บ้าน ร้านอาหาร ร้านขายของ ร้านเสริมสวย โรงพยาบาล เป็นต้น ในขณะเดียวกัน อปุ กรณ์ทน่ี ำมาจดั ให้เด็กตอ้ งไม่เปน็ อนั ตราย และมีความเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถ่ิน ๔.มมุ วทิ ยาศาสตร์ มุมวิทยาศาสตร์หรือมุมธรรมชาติศกึ ษาเป็นมุมเลน่ ท่ี ผสู้ อนจัดรวบรวมสง่ิ ต่างๆ หรือสิ่งท่ีมีในธรรมชาติ มาให้เด็กได้สำรวจ สังเกต ทดลอง ค้นพบด้วยตนเองซึ่งเป็นการช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ให้กบั เดก็ การจัดมุมวทิ ยาศาสตร์หรือมมุ ธรรมชาติศึกษาเป็นมุมที่ต้องการความสงบคล้ายมมุ หนงั สือจึงอาจจดั ไว้ ใกล้กันได้ และเพื่อเร้าให้เด็กสนใจในสิ่งที่นำมาแสดง ของที่จัดวางไว้จึงควรอยู่ในระดับที่เด็กหยิบ จับ ดู วัสดุ อุปกรณ์เหล่านั้นได้โดยสะดวก และสิ่งที่นำมาตั้งแสดงนั้นไม่ควรจะตั้งแสดงของสิ่งเดียวกันตลอดปี แต่ควรจะ ปรับเปลีย่ นใหน้ ่าสนใจ ๕. มุมศิลปะ กิจกรรมศิลปะเป็นกิจกรรมที่สามารถพัฒนาเด็กได้หลาย ด้าน เช่น ทางด้านกล้ามเน้ือมอื ซึ่งจะชว่ ยให้ มือของเด็กพร้อมที่จะจับดินสอเขียนหนังสือได้เมื่อไปเรียนในชั้นประถมศึกษานอกจากนี้ยังช่วยในการพัฒนา อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา เดก็ จะมีโอกาสทำงานตามลำพังและทำงานเป็นกลมุ่ รู้จกั ปรับตวั ทีจ่ ะทำงาน ดว้ ยกันและสง่ เสรมิ จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้น การจัดให้มีมุมศิลปะจึงเป็นทางหนึ่งที่จะช่วยให้เด็กได้พัฒนามากขึ้น และยังสนองความสนใจ ความ ต้องการของเด็กวัยนี้ไดเ้ ป็นอย่างดี รูปแบบการจดั กจิ กรรมประจำวนั การจดั ทำตารางกจิ กรรมประจำวนั สามารถจดั ได้หลายรปู แบบทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ ับความเหมาะสมในการนำมา ไปใชข้ องแตล่ ะหน่วยงาน ท่ีสำคญั ผ้สู อนต้องคำนึงถงึ การจดั กรรมใหค้ ลอมคลมุ พัฒนาการทกุ ดา้ นสำหรับโรงเรียน วัดพรหมเทพาวาส ได้จดั ทำตารางกจิ กรรม ประจำวนั ดังนี้

๖๙ ตารางกิจกรรมประจำวัน กจิ กรรมในแตล่ ะวันของโรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส กำหนดขึ้นโดยมีจดุ มงุ่ หมายให้เด็กปฐมวัยได้รับการ พฒั นาอยา่ งรอบดา้ น ดังนี้ เวลา กิจกรรม ๐๗.๐๐ -๐๘.๐๐ น. รับเด็กรายบุคคล ๐๘.๐๐ -๐๘.๓๐ น. เข้าแถว เคารพธงชาติ สวดมนต์ ๐๘.๓๐ -๐๙.๐๐ น. ตรวจสุขภาพ/ไปหอ้ งน้ำ ๐๙.๐๐ -๐๙.๒๐ น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ ๐๙.๒๐ -๐๙.๔๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๐๙.๔๐ -๑๐.๒๐ น. กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ ๑๐.๒๐ -๑๐.๔๐ น. กิจกรรมการเล่นตามมมุ ๑๐.๔๐ -๑๑.๐๐ น. กจิ กรรมการเลน่ กลางแจง้ ๑๑.๐๐ -๑๑.๓๐ น. พกั /รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๑.๓๐ -๑๒.๐๐ น. แปรงฟัน ๑๒.๐๐ -๑๔.๐๐ น. นอนพกั ผ่อน ๑๔.๐๐ -๑๔.๓๐ น. เกบ็ ทีน่ อน ลา้ งหน้า ๑๔.๓๐ -๑๔.๔๕ น. พัก/ด่มื นม ๑๔.๔๕ -๑๕.๐๐ น. เกมการศึกษา ๑๕.๐๐ -๑๕.๒๐ น. สรุป ทบทวนกิจกรรมประจำวัน ๑๕.๒๐ -๑๕.๓๐ น. ผ้ปู กครองรับนกั เรียนกลบั บา้ น หมายเหตุ : การจดั กจิ กรรมในแต่ละวัน สามารถปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม

๗๐ หนว่ ยการจัดประสบการณ์ การจดั หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๒ ( ๔ ป)ี สปั ดาหท์ ่ี สาระการเรยี นรู้ ชือ่ เรอ่ื ง/ชือ่ หนว่ ย หมายเหตุ ๑ เร่อื งราวเกีย่ วกับตัวเดก็ เรียนรู้กนั ฉนั กับเธอ บรู ณาการ ๒ เรอื่ งราวเกี่ยวกับตวั เดก็ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๓ ส่งิ ต่างๆรอบตัวเดก็ - การคิดแยกแยะ ๔ บคุ คลและสถานที่ ผ้นู ำท่ีหนูรกั แวดล้อมเดก็ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและ ๕ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก ผลประโยชนส์ ่วนรวม - การคิดแยกแยะ ๖ เรอ่ื งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก เรยี นรู้เรื่องเสน้ ๗ ธรรมชาตริ อบตัวเดก็ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและ ๘ บคุ คลและสถานที่ ผลประโยชน์สว่ นรวม แวดล้อมเด็ก - ระบบคิดฐาน ๒ ๙ บคุ คลและสถานที่ หนูไหว้คุณครู แวดลอ้ มเดก็ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม - ระบบคดิ ฐาน ๒ ร่างกายของเรา การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม - ของเล่น หนูทำได้ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม - ของเลน่ ฝน ฝน ฝน การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - การรบั ประทานอาหาร หนไู ปทำบญุ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม - การเขา้ แถว ศีลหา้ - การเก็บของใช้สว่ นตัว

๗๑ สัปดาห์ที่ สาระการเรียนรู้ ชือ่ เรอื่ ง/ชื่อหน่วย หมายเหตุ ๑๐ สง่ิ ต่างๆรอบตวั เดก็ อาหารดมี ีประโยชน์ บูรณาการ ๑๑ ธรรมชาติรอบตวั เด็ก การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๑๒ เร่อื งราวเกยี่ วกบั ตวั เด็ก - ทำงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ๑๓ บุคคลและสถานท่ี ผักแสนอร่อย แวดล้อมเดก็ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและ ๑๔ บุคคลและสถานท่ี ผลประโยชนส์ ว่ นรวม แวดลอ้ มเดก็ - การแบ่งปนั ๑๕ บคุ คลและสถานท่ี ฟ เอย๋ ฟ ฟนั แวดล้อมเดก็ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ๑๖ สงิ่ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก ผลประโยชน์สว่ นรวม - การแตง่ กาย ๑๗ บุคคลและสถานที่ แวดลอ้ มเด็ก แม่ของแผน่ ดิน ๑๘ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เด็ก การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ๑๙ ธรรมชาตริ อบตวั เดก็ - การทำกิจวัตรประจำวนั บา้ นแสนสขุ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต - ของเล่น ครอบครวั ของเรา ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต - การรบั ประทานอาหาร ปจั จัย ๔ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต - การเขา้ แถว ไร่มะลแิ ม่ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ - การเก็บของใช้ส่วนตวั หนเู ปน็ เดก็ ดี ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ - ทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ต้นไมม้ คี ุณ ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต - ทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

สัปดาหท์ ี่ สาระการเรยี นรู้ ช่ือเรอ่ื ง/ชื่อหน่วย ๗๒ ๒๐ สงิ่ ต่างๆรอบตัวเด็ก หนูชว่ ยประหยดั ได้ หมายเหตุ ๒๑ บคุ คลและสถานท่ี ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ บรู ณาการ แวดล้อมเดก็ - การแบง่ ปัน ๒๒ บคุ คลและสถานท่ี กระทงแสนสวย แวดลอ้ มเดก็ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๒๓ ธรรมชาติรอบตวั เดก็ - การแบ่งปัน ๒๔ บุคคลและสถานท่ี โรงเรยี นของเรา แวดลอ้ มเดก็ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒๕ บุคคลและสถานที่ - การแต่งกาย แวดล้อมเด็ก หนนู ้อยนักสำรวจ ๒๖ สิ่งตา่ งๆรอบตวั เดก็ ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ ๒๗ ธรรมชาติรอบตัวเดก็ - การแตง่ กาย ๒๘ สง่ิ ต่างๆรอบตัวเดก็ โรงเรยี นนา่ อยู่ ๒๙ บุคคลและสถานท่ี ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ แวดลอ้ มเด็ก - การทากิจวตั รประจาวนั ๓๐ สง่ิ ต่างๆรอบตัวเดก็ พอ่ ของแผ่นดิน ๓๑ บุคคลและสถานท่ี ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ แวดล้อมเด็ก - การทากจิ วตั รประจาวนั อากาศอยูไ่ หน STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริต - ความพอเพยี ง หนาวแลว้ นะ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ - ความโปรง่ ใส พลังวเิ ศษ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ - ความตื่นรู้ / ความรู้ สวสั ดีปีใหม่ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจรติ - ตา้ นทจุ ริต นักอนุรกั ษ์นอ้ ย STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต - มุ่งไปข้างหน้ำ วันของเดก็ - ความเอ้อื อาทร

สปั ดาหท์ ี่ สาระการเรียนรู้ ช่อื เร่อื ง/ชอื่ หน่วย ๗๓ ๓๒ สง่ิ ต่างๆรอบตวั เดก็ ๓๓ บุคคลและสถานที่ สัตว์มคี ณุ หมายเหตุ แวดล้อมเด็ก บรู ณาการ ๓๔ ธรรมชาติรอบตวั เดก็ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ - การรับประทานอาหาร ๓๕ ส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก บุคคลต่างๆ ๓๖ ส่ิงตา่ งๆรอบตัวเด็ก STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต ๓๗ ส่ิงตา่ งๆรอบตวั เดก็ - การช่วยเหลือเพอ่ื น ๓๘ ธรรมชาตริ อบตัวเดก็ รอบๆตวั หนู ๓๙ ธรรมชาตริ อบตวั เดก็ STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ ริต ๔๐ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก - การใชก้ ระดาษ สีสวยๆ พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม - ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง กลางวนั กลางคืน พลเมอื งกับความรับผิดชอบตอ่ สงั คม - ความรบั ผดิ ชอบต่อผอู้ ื่น ตัวเลขน่ารู้ พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม - การตรงต่อเวลา ฤดูร้อนมาถึงแล้ว พลเมืองกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม - การทำความสะอาดหอ้ งเรยี น แมลงบ้านเรา พลเมอื งกับความรับผิดชอบต่อสงั คม - การชว่ ยเหลอื ตนเอง ยงุ จอมยงุ่ ประเมนิ ผลหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษาระดับปฐมวยั

๗๔ การจดั หน่วยการจัดประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ ป)ี สปั ดาห์ สาระการเรียนรู้ ชอ่ื เร่ือง/ช่ือหน่วย หมายเหตุ บูรณาการ ที่ ๑ เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเดก็ เรียนรกู้ ัน ฉนั กบั เธอ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม - การคดิ แยกแยะ ๒ เร่อื งราวเก่ยี วกับตวั เดก็ ผูน้ ำทห่ี นูรัก การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม - การคดิ แยกแยะ ๓ สิง่ ต่างๆรอบตวั เด็ก เรียนรเู้ รอื่ งเส้น การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - ระบบคิดฐาน ๒ ๔ บคุ คลและสถานทีแ่ วดลอ้ ม หนไู หวค้ ุณครู เดก็ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - ระบบคดิ ฐาน ๒ ๕ เรือ่ งราวเก่ยี วกับตวั เด็ก ร่างกายของเรา การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม - ของเล่น ๖ เรือ่ งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก หนูทำได้ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - ของเลน่ ๗ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก ฝน ฝน ฝน การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม - การรับประทานอาหาร ๘ บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ ม หนไู ปทำบญุ เด็ก การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม - การเข้าแถว ๙ บคุ คลและสถานทแี่ วดล้อม ศีลห้า เด็ก - การเก็บของใช้สว่ นตวั

๗๕ สัปดาห์ สาระการเรียนรู้ ชอื่ เร่ือง/ชอ่ื หนว่ ย หมายเหตุ ที่ บรู ณาการ ๑๐ ส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเดก็ อาหารดมี ปี ระโยชน์ ๑๑ ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๑๒ เร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - ทำงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๑๓ บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อม ผกั แสนอร่อย เด็ก การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและ ๑๔ บคุ คลและสถานทแ่ี วดลอ้ ม ผลประโยชนส์ ่วนรวม เดก็ - การแบ่งปนั ๑๕ บุคคลและสถานท่แี วดลอ้ ม ฟ เอย๋ ฟ ฟนั เดก็ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ๑๖ สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - การแตง่ กาย ๑๗ บุคคลและสถานท่แี วดลอ้ ม เด็ก แมข่ องแผ่นดิน ๑๘ เรื่องราวเกย่ี วกับตัวเดก็ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม ๑๙ ธรรมชาตริ อบตวั เดก็ - การทำกิจวตั รประจำวนั บา้ นแสนสุข ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ - ของเล่น ครอบครวั ของเรา ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต - การรบั ประทานอาหาร ปจั จัย ๔ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจริต - การเขา้ แถว ไร่มะลิแม่ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ - การเก็บของใช้ส่วนตัว หนเู ป็นเดก็ ดี ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ - ทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย ตน้ ไมม้ ีคณุ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต - ทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ ช่ือเรอื่ ง/ช่อื หน่วย ๗๖ ที่ ๒๐ สง่ิ ตา่ งๆรอบตวั เดก็ หนูชว่ ยประหยดั ได้ หมายเหตุ บรู ณาการ ๒๑ บุคคลและสถานที่แวดล้อม ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ เด็ก - การแบง่ ปัน ๒๒ บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อม กระทงแสนสวย เดก็ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒๓ ธรรมชาตริ อบตัวเดก็ - การแบ่งปัน ๒๔ บุคคลและสถานท่ีแวดลอ้ ม โรงเรยี นของเรา เดก็ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ๒๕ บุคคลและสถานที่แวดลอ้ ม - การแต่งกาย เด็ก หนนู ้อยนักสำรวจ ๒๖ สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเดก็ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒๗ ธรรมชาติรอบตวั เดก็ - การแตง่ กาย ๒๘ สิ่งตา่ งๆรอบตวั เดก็ โรงเรยี นนา่ อยู่ ๒๙ บุคคลและสถานที่แวดล้อม ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ เด็ก - การทากิจวตั รประจาวนั ๓๐ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก พ่อของแผ่นดิน ๓๑ บุคคลและสถานทแ่ี วดล้อม ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ เด็ก - การทากจิ วตั รประจาวนั อากาศอยูไ่ หน STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต - ความพอเพยี ง หนาวแลว้ นะ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ - ความโปรง่ ใส พลงั วเิ ศษ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจรติ - ความตื่นรู้ / ความรู้ สวสั ดีปีใหม่ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต - ตา้ นทจุ ริต นักอนุรกั ษ์นอ้ ย STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจริต - มุ่งไปข้างหน้ำ วันของเดก็ - ความเออื้ อาทร

สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้ ชื่อเรือ่ ง/ชอื่ หนว่ ย ๗๗ ท่ี ๓๒ สง่ิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก สตั ว์มคี ณุ หมายเหตุ บูรณาการ ๓๓ บคุ คลและสถานที่แวดล้อม STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต เดก็ - การรับประทานอาหาร ๓๔ ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก บคุ คลตา่ งๆ ๓๕ ส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ - การช่วยเหลอื เพ่ือน ๓๖ สง่ิ ต่างๆรอบตวั เดก็ รอบๆตัวหนู ๓๗ สิง่ ต่างๆรอบตัวเดก็ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจรติ ๓๘ ธรรมชาตริ อบตวั เดก็ - การใชก้ ระดาษ ๓๙ ธรรมชาติรอบตัวเด็ก สีสวยๆ ๔๐ ธรรมชาติรอบตัวเด็ก พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม - ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง กลางวันกลางคืน พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบตอ่ สังคม - ความรบั ผดิ ชอบต่อผอู้ นื่ ตัวเลขน่ารู้ พลเมอื งกับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม - การตรงต่อเวลา ฤดูร้อนมาถึงแล้ว พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม - การทำความสะอาดห้องเรยี น แมลงบา้ นเรา พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม - การช่วยเหลือตนเอง ยุงจอมยุง่ ประเมนิ ผลหลักสตู รต้านทุจรติ ศึกษาระดบั ปฐมวัย

๗๘ ๓.๔ แนวทางการจัดกจิ กรรมประจำวนั การจดั กจิ กรรมประจำวัน ครูสามารถนำไปปรับใช้ได้หรอื นำนวตั กรรมตา่ งๆมาปรบั ใช้ในการจัด กิจกรรมประจำวันไห้เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมสถานศกึ ษา โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรมดงั น้ี ๑. การจัดกจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ การเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่าง อสิ ระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจอง เคร่อื งเคาะจังหวะ และอปุ กรณต์ ่างๆมาประกอบการเคลอื่ นไหว ซึ่งจังหวะและเครื่องดนตรีประกอบ ได้แก่ การปรบมอื การร้องเพลง การเคาะไม้ กรุ๋งกริ๋ง รำมะนา กลอง กรับ เพื่อส่งเสริมให้เด็กพัฒนาการเนื้อใหญ่และกล้ามเน้ือเล็ก อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เกิดจินตนาการ ความคดิ สร้างสรรค์ รูปแบบการเคลอื่ นไหว ๑. การเคลื่อนไหวพื้นฐาน เป็นกิจกรรมทีต่ ้องฝึกทุกครัง้ ก่อนที่จะเริ่มฝกึ กิจกรรมอื่นๆ ต่อไปลักษณะ การจัดกิจกรรมมีจุดเน้นในเรื่องจังหวะและการเคล่ือนไหวหรือท่าทางอยา่ งอิสระ การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ ของเดก็ มี ๒ ประเภท ๑.๑ การเคลือ่ นไหวอยู่กับที่ ได้แก่ ปรบมือ ผงกศรี ษะ ขยิบตา ชนั เขา่ ขยับมอื และแขน มอื แบ น้ิวมอื เทา้ และปลายเทา้ ๑.๒ การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี ได้แก่ คลาน คืบ เดิน วิ่ง กระโดด ควบม้า ก้าวกระโดด เขย่ง ก้าวชดิ ๒. การเคลื่อนไหวที่สัมพันธ์กับเนื้อหา เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายโดยเน้นการ ทบทวนเรอ่ื ง ทไ่ี ดร้ บั รู้จากการจดั กิจกรรมอื่นและนำมาสมั พันธก์ ับสาระการเรียนรูห้ รอื เรื่องอนื่ ๆ ที่เด็กสนใจ ได้แก่ ๒.๑ การเคลื่อนไหวแบบเลียนแบบ เป็นการเคลื่อนไหวเลียนแบบสิ่งต่างๆรอบตัว เช่น การเลียนแบบเสียงสัตว์ การเลียนแบบท่าทางคน การเลียนแบบเครื่องยนต์กลไกและเครื่องเล่น การเลียนแบบ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ๒.๒ การเคลือ่ นไหวตามบทเพลง เปน็ การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางประกอบเพลง เช่น เพลง ไก่ เพลงขา้ มถนน เพลงสวัสดี ๒.๓ การทำท่าทางบริหารประกอบเพลงหรือคำคล้องจอง เป็นการเคลื่อนไหวแบบกาย บริหาร อาจจะท่าทางไม่สมั พันธ์กับเน้ือหาของเพลงหรือคำคล้องจอง เชน่ เพลงกำมือแบมือ เพลงออกกำลังกาย คำคลอ้ งจองฝนตกพรำพรำ ๒.๔ การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ เป็นการเคลื่อนไหวที่ให้เด็กคิดสร้างสรรค์ท่าทางขึ้นเอง หรอื อาจใช้คำถามหรอื คำส่งั หรือใช้อุปกรณ์ประกอบ เชน่ ห่วงหวาย แถวผา้ ริบบิน้ ถงุ ทราย ๒.๕ การเคลอ่ื นไหวหรือการแสดงท่าทางตามคำบรรยายทีค่ รเู ลา่ หรือเรอื่ งราวหรอื นิทาน ๒.๖ การเคลื่อนไหวหรือการแสดงท่าทางตามคำสั่ง เป็นการเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางตาม คำสั่งของครู เชน่ การจดั กลุ่มตามจำนวน การทำทา่ ทางตามคำส่ัง

๗๙ ๒.๗ การเคลอ่ื นไหวหรือการแสดงท่าทางตามข้อตกลง เปน็ การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางการ เคลอื่ นไหวอยา่ งสร้างสรรค์ทีไ่ ดต้ กลงไว้ก่อนเร่ิมทำกิจกรรม ๒.๘ การเคลื่อนไหวหรือการแสดงท่าทางเป็นผู้นำ ผู้ตาม เป็นการคิดท่าทางการเคลื่อนไหว อยา่ งสร้างสรรค์ของเด็กเองแลว้ ให้เพอื่ นปฏบิ ัติกิจกรรม ๒.การจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ เปน็ กิจกรรมที่ม่งุ เนน้ ใหเ้ ด็กได้พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ มที ักษะการ ฟัง การพูด การอ่าน การสังเกต การคิดแก้ปัญหา การใช้เหตุผล โดยการฝึกปฏิบัติร่วมกันและการทำงานเป็น กลุม่ ท้ังกลุ่มย่อยและกลุม่ ใหญ่ เพ่ือใหเ้ กดิ ความคิดรวบยอดเกยี่ วกับเร่ืองทีไ่ ด้เรยี นรู้ แนวทางการจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ จดั ได้หลายวิธีไดแ้ ก่ ๒.๑ การสนทนาหรือการอภปิ ราย เป็นการพูดคุย ซักถามระหว่างเด็กกบั ครู หรือเด็กกับเด็ก เป็นการส่งเสรมิ พัฒนาการทางภาษาดา้ นการพดู และการฟัง โดยการกำหนดประเดน็ ในการสนทนาหรืออภิปราย เด็กจะไดแ้ สดงความคิดเห็นและยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อืน่ ครูหรือผู้สอนเปิดโอกาสใหเ้ ด็กซักถาม โดยใช้ คำถามกระหรือเล่าประสบการณ์ที่แปลกใหม่ สำเสนอปัญหาที่ ท้าทายความคิด การยกตัวอย่างการใช้ส่ือ ประกอบการสนทนาหรือการอภิปรายควรใชส้ อื่ ของจริง ของจำลอง รปู ภาพหรอื สถานการณ์จำลอง ๒.๒ การเล่านทิ าน และการอา่ นนทิ าน เป็นกจิ กรรมที่ครหู รือผู้สอนเล่าหรอื อา่ นเรื่องราวจาก นิทาน โดยการใช้น้ำเสียงประกอบการเล่าแตกต่างตามบคุ ลิกของของตัวละคร ซึ่งครูหรือผู้สอนควรเลือกสาระ ของนิทานให้เหมาะสมกับวัย สื่อที่ใช้อาจเป็นหนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผ่นภาพ หุ่นมือ หุ่นนิ้วมือ หรือการ แสดงท่าทางประกอบการเล่าเรื่อง โดยครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ เช่น ในนิทานเรื่องนี้มีตัวละคร อะไรบ้างเหตุการณ์ในนิทานเรื่องนี้เกิดที่ไหน เวลาใด หรือลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิทาน นิทานเรื่องนี้มี ปญั หาอะไรบา้ ง และเดก็ ๆชอบเหตุการณใ์ ดในนิทานเร่ืองน้ีมากทสี่ ุด ๒.๓ การสาธติ เปน็ กจิ กรรมทีเ่ ด็กได้เรียนร้จู ากประสบการณ์ตรง โดยแสดงหรือทำส่ิงทต่ี อ้ งการ ให้เด็กได้สังเกตและเรียนรู้ตามขั้นตอนของกิจกรรมนั้นๆ และเด็กได้อภิปรายและร่วมกันสรุปการเรียนรู้ การ สาธติ ในบางคร้ังอาจให้เด็กอาสาสมัครเปน็ ผู้สาธิตรว่ มกับครูผู้สอน เพอ่ื นำไปไปสูก่ ารปฏิบัติจริงด้วยตนเอง เช่น การเพาะเมลด็ พืช การประกอบอาหาร การเปา่ ลูกโป่ง การเล่นเกมการศกึ ษา ๒.๔ การทดลอง/การปฏิบตั ิ เปน็ กิจกรรมทจ่ี ัดใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง โดยแสดงหรือทำ สง่ิ ท่ีจากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ การทดลอง การคิดแก้ปัญหา มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะคณติ ศาสตร์ ทักษะภาษา ส่งเสริมให้เด็กเกิดข้อสงสัย สืบค้นหาคำตอบด้วยตนเอง ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างง่ายๆ สรุปผลการทดลอง อภิปรายผล การทดลองและการสรุปการเรียนรู้ โดยกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ง่าย เช่น การเลย้ี งหนอนผีเส้ือ การปลูกพชื ฝกึ การสงั เกตการไหลของน้ำ ๒.๕ การประกอบอาหาร เป็นกิจกรรมทีจ่ ัดให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการทดลองโดยเปิดโอกาสให้ เด็กได้ลงมือทดลองและปฏิบัติการด้วยตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผักเนื้อสัตว์ ผลไม้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ต้ม นึ่ง ผัด ทอด หรือการรับประทานสด เด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงจากการสังเกตเปลี่ยนแปลงของ

๘๐ อาหารการรับรู้รสชาตแิ ละกลิ่นของอาหาร ด้วยการใช้ประสาทสมั ผัสและการทำงานร่วมกัน เช่นการทำอาหาร จากไข่ ๒.๖ การเพาะปลกู เปน็ กิจกรรมทเ่ี นน้ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ซง่ึ เด็กจะ ได้เรียนรูจ้ ากการบรู ณาการจะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยทำความเขา้ ใจความต้องการของสิ่งมีชีวิตในโลก และช่วยให้เด็กเข้าใจความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่รอบตัวโดยการสังเกต เปรียบเทียบ และการคิดอย่างมี เหตผุ ล ซง่ึ เป็นการเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ได้คน้ พบและเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ๒.๗ การศึกษานอกสถานที่ เป็นการจัดกิจกรรมทศั นศึกษาที่ให้เด็กไดเ้ รียนรูส้ ภาพความเปน็ จรงิ นอกห้องเรยี น จากแหลง่ เรียนรู้ในสถานศึกษา หรือห แหลง่ เรยี นรูใ้ นชุมชน เชน่ ห้องสมุน หอ้ งสมุนไพร วัด ไปรษณีย์ พิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์แก่เดก็ โดยครูและเด็กรว่ มกันวางแผนศกึ ษาที่ตอ้ งการ เรียนร้กู ารเดนิ ทาง และสรุปผลการเรยี นรูท้ ไี่ ด้จากการศึกษานอกสถานที่ ๒.๘ การเลน่ บทบาทสมมติ เปน็ กจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดส้ มมตติ นเองเปน็ ตัวละคร และแสดงบทบาท ต่างๆตามเนื้อเรื่องในนิทาน เรื่องราวหรือสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้ความรู้สึกของเด็กในการแสดง เพื่อให้เด็ก เข้าใจเรื่องราว ความรู้สึกพฤติกรรมของตนเองและผูอ้ ื่นๆ ควรใช้สื่อความรู้สึกของเด็กในการแสดง เพื่อให้เดก็ เข้าใจเรื่องราวและพฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นๆ ควรใช้สื่อประกอบการเลน่ สมมติ เช่น หุ่นสวมศีรษะ ที่คาด ศรี ษะรูปคนและสัตว์รูปแบบต่างๆ เคร่ืองแตง่ กาย และอุปกรณ์ของจรงิ ชนิดตา่ งๆ ๒.๙ การร้องเพลง ท่องคำคล้องจอง เป็นกิจกรรมท่ีจดั ใหเ้ ด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษา จังหวะ และการแสดงท่าทางให้สัมพันธ์กบั เนื้อหาของเพลงหรือคำคล้องจอง ครูหรือผู้สอนควรเลือกให้เหมาะสมกบั วยั ของเดก็ ๒.๑๐ การเล่นเกม เป็นกิจกรรมที่นำเกมการเรียนรูเ้ พื่อฝึกทักษะการคิด การแก้ปัญหา และ การทำงานเป็นกลมุ่ เกมท่ีนำมาเล่นไมค่ วรเนน้ การแข่งขัน ๒.๑๑ การแสดงละคร เป็นกิจกรรมที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการลำดับเรื่องราว การเรียงลำดับ เหตุการณ์ หรือราวจากนิทาน การใช้ภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้และทำความเข้าใจ บุคลิกลักษณะของตัวละครที่เด็กสวมบทบาท สื่อที่ใช้ เช่น ชุดการแสดงที่สอดคล้องกับบทบาทที่ได้รับ บท สนทนาท่เี ดก็ ใช้ฝึกสนทนาประกอบการแสดง ๒.๑๒ การใช้สถานการณจ์ ำลอง เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เรยี นรู้แนวทางการปฏิบัติตนเม่อื อยูใ่ น สถานการณ์ท่คี รูหรือผู้สอนกำหนด เพอ่ื ใหเ้ ด็กไดฝ้ กึ การแกป้ ัญหา เช่น น้ำท่วม โรคระบาด พบคนแปลกหน้า ๓. กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนากระบวนการคิด การรับรู้เกี่ยวกับความงามและส่งเสริมกระตุน้ ให้เด็ก แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สกึ ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการ โดยใช้กิจกรรมศลิ ปะหรอื กิจกรรมอน่ื ที่เหมาะสมกบั พฒั นาการของเดก็ แต่ละวัย

๘๑ แนวทางการจดั กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ ๑. เตรยี มจดั โตะ๊ และอุปกรณ์ให้พร้อม และเพียงพอก่อนทำกจิ กรรม โดยจดั ไวห้ ลายๆกิจกรรม และอย่างนอ้ ย ๓ – ๕ กจิ กรรม เพ่ือใหเ้ ด็กได้มีอิสระในการเลือกทำกิจกรรมทสี่ นใจ ๒. ควรสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรม เพ่ือฝึกให้เด็กมวี นิ ยั ในการอยรู่ ่วมกัน ๓. การจดั ให้เดก็ ทำกิจกรรม ควรใหเ้ ดก็ เลอื กทำกิจกรรมอย่างมีระเบยี บ และทยอยเขา้ ทำ กจิ กรรมโดยจดั โตะ๊ ละ ๕ – ๖ คน ๔. การเปลี่ยนและหมุนเวียนทำกิจกรรม ต้องสร้างข้อตกลงกับเด็กให้ชัดเจน เช่นหากเกิด กิจกรรมใดเพื่อนครบจำนวนท่ีกำหนดแลว้ ให้คอยจนกว่ามที ีว่ ่าง หรือให้ทำกิจกรรมอ่นื กอ่ น ๕. กิจกรรมใดเป็นกจิ กรรมใหม่ หรอื การใช้วัสดุ อปุ กรณใ์ หม่ ครตู ้องอธิบายวธิ กี ารทำวิธีการใช้ วธิ ีการทำความสะอาด และการเก็บของเขา้ ที่ ๖. เมื่อทำงานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนให้เด็กเก็บวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้เข้าที่ และช่วยกันดูแลหอ้ งให้สะอาด ๔. กจิ กรรมการเล่นตามมมุ กิจกรรมการเล่นตามมุม เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุม หรือมุม ประสบการณ์หรอื กำหนดเป็นพ้นื ที่เลน่ ท่ีจัดไว้ในหอ้ งเรียน ซึ่งพน้ื ท่ีหรือมุมตา่ งๆ เหลา่ นีเ้ ดก็ มโี อกาสเลือกเล่นได้ อย่างเสรตี ามความสนใจและความตอ้ งการของเดก็ ท้ังเป็นรายบุคคลหรอื เปน็ กลุม่ ย่อย เดก็ อาจเลอื กทำกิจกรรม ทีค่ รูจดั เสริมขึน้ เช่น เกมการศกึ ษา เคร่อื งเล่นสัมผัส แนวทางการจดั กิจกรรมการเลน่ ตามมุม ๑. แนะนำมมุ เล่นใหม่ เสนอแนะวิธใี ช้ การเลน่ ของเลน่ บางชนดิ ๒. เดก็ และครรู ว่ มกนั สรา้ งข้อตกลงเกีย่ วกับการเลน่ ๓. ครเู ปิดโอกาสใหเ้ ด็กคดิ วางแผน ตัดสนิ ใจเลือกเล่นอย่างอิสระ เลอื กทำกจิ กรรที่จัดข้ึนตาม ความสนใจของเด็กแตล่ ะคน ๔. ขณะเดก็ เล่น/ ทำงาน ครูอาจช้ีแนะ หรือมสี ่วนรว่ มในการเลน่ กบั เดก็ ได้ ๕. เด็กต้องการความช่วยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็กหรือทั้งจดบันทึก พฤตกิ รรมทนี่ ่าสนใจ ๖. เตือนใหเ้ ด็กทราบล่วงหน้าก่อนหมดเวลาเล่นประมาณ ๓ – ๕ นาที ๗. ใหเ้ ดก็ เก็บของเล่นเข้าที่ให้เรียบรอ้ ยทกุ ครง้ั เมื่อเสร็จสิน้ กจิ กรรม ๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพื่อ เคลื่อนไหวร่างกายออกกำลัง และแสดงออกอย่างอิสระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคน เป็นหลกั

๘๒ แนวทางการจดั กิจกรรมกลางแจง้ ๑. เดก็ และครูร่วมกนั สร้างขอ้ ตกลง ๒. จดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารเลน่ ใหพ้ ร้อม ๓. สาธติ การเล่นเครอ่ื งเลน่ สนามบางชนิด ๔. ให้เด็กเลอื กเลน่ อิสระตามความสนใจและเวลาในการเลน่ นานพอควร ๕. ครคู วรจัดกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั วยั (ไม่ควรจดั กิจกรรมพลศึกษา) เชน่ การเลน่ เลน่ ทราย เลน่ บ้านตุ๊กตา เลน่ ในมุมช่างไม้ เลน่ บลอ็ กกลวง เคร่ืองเลน่ สนาม เกมการละเล่น เล่นอปุ กรณก์ ีฬา สำหรับเด็ก เลน่ เคร่อื งเล่นประเภทลอ้ เลน่ เล่นของเล่นพืน้ บ้าน (เดินกะลาฯลฯ) ๖. คณะเด็กเล่นครูต้องคอยดูแลความปลอดภัยและสังเกตพฤติกรรมการเล่น การอยู่ร่วมกนั กับเพื่อนของเด็กอยา่ งใกลช้ ิด ๗. เมอ่ื หมดเวลาควรให้เด็กเก็บของใช้หรือของเล่นใหเ้ รยี บรอ้ ย ๘. ให้เด็กทำความสะอาดร่างกายและดูแลเครอื่ งแตง่ กายใหเ้ รียบร้อยหลงั เล่น ๖. เกมการศกึ ษา เกมการศึกษา (Didactic games) เป็นเกมที่ช่วยพัฒนาสติปัญญาช่วยส่งเสริให้เด็กเกิดการ เรียนรู้เป็นพื้นฐานการศึกษา มีกฎเกณฑ์กตกิ าง่ายๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้ ช่วยให้เด็กได้ รู้จักสังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสี รูปร่าง จำนวน ประเภท และความสัมพันธ์ที่ เกยี่ วกบั พ้นื ท่ี ระยะ เกมการศึกษาที่เหมาะสมจะชว่ ยฝกึ ทกั ษะความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา แนวทางการจดั กิจกรรมเกมการศกึ ษา ๑. แนะนำกิจกรรมใหม่ ๒. สาธิต/ อธิบาย วธิ เี ล่นเกมอยา่ งเปน็ ขั้นตอนตามประเภทของเกม ๓. ใหเ้ ดก็ หมนุ เวยี นเขา้ มาเลน่ เป็นกลุ่ม หรือรายบคุ คล ๔. ขณะที่เด็กเล่นเกม ครูเปน็ เพียงผูแ้ นะนำ ๕. เมื่อเด็กเล่นเกมแต่ละชุดเสร็จเรียบรอ้ ย ควรให้เด็กตรวจสอบความถูกต้องด้วยตนเองหรอื รว่ มกนั ตรวจกับเพอื่ น หรอื ครเู ป็นผ้ชู ่วยตรวจ ๖. ใหเ้ ด็กนำเกมทเ่ี ล่นแล้วเก็บใส่กลอ่ ง เขา้ ท่ีให้เรียบรอ้ ยทกุ คร้งั ก่อนเล่นเกมชุดอ่นื การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา มีความสำคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กในวัยนี้สนใจที่จะ เรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่าง เหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็ก สามารถเรียนรู้จากการเล่นท่ีเป็น ประสบการณ์ตรงท่ีเกิดจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้าจึงจำเป็นต้องจัด

๘๓ สงิ่ แวดลอ้ มในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ และความตอ้ งการของหลกั สูตร เพือ่ ส่งผลให้บรรลุจุดหมายใน การพัฒนาเดก็ การจดั สภาพแวดลอ้ มคำนงึ ถงึ สง่ิ ต่อไปนี้ ๑.ความสะอาด ความปลอดภัย ๒.ความมีอสิ ระอยา่ งมขี อบเขตในการเล่น ๓.ความสะดวกในการทำกิจกรรม ๔.ความพรอ้ มของอาคารสถานที่ เช่น หอ้ งเรยี น ห้องนำ้ ห้องส้วม สนามเด็กเลน่ ฯลฯ ๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเร่อื งขนาด นำ้ หนกั จำนวน สีของสื่อและเคร่อื งเลน่ ๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ทเ่ี ลน่ และมมุ ประสบการณต์ ่าง ๆ สภาพแวดลอ้ มภายในห้องเรียน หลักสำคัญในการจัดต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพัฒนาเด็ก ความเป็น ระเบียบความเป็นตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น มั่นใจ และมีความสุข ซึ่งอาจจัดแบ่งพื้นที่ให้ เหมาะสมกับการประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดงั น้ี ๑. พนื้ ที่อำนวยความสะดวกเพื่อเดก็ และผสู้ อน ๑.๑ ทแ่ี สดงผลงานของเดก็ อาจจดั เป็นแผ่นปา้ ย หรือท่ีแขวนผลงาน ๑.๒ ทเี่ ก็บแฟ้มผลงานของเดก็ อาจจัดทำเป็นกล่องหรอื จัดใส่แฟ้มรายบคุ คล ๑.๓ ทเี่ ก็บเคร่ืองใช้สว่ นตัวของเดก็ อาจทำเป็นช่องตามจำนวนเด็ก ๑.๔ ที่เกบ็ เคร่อื งใช้ของผู้สอน เช่น อุปกรณก์ ารสอน ของสว่ นตวั ผู้สอน ฯลฯ ๑.๕ ปา้ ยนเิ ทศตามหน่วยการสอนหรือสิง่ ที่เด็กสนใจ ๒. พืน้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ จิ กรรมและการเคลอ่ื นไหว ตอ้ งกำหนดใหช้ ัดเจน ควรมพี ้นื ที่ที่เด็กสามารถจะทำงาน ไดด้ ว้ ยตนเอง และทำกจิ กรรมด้วยกนั ในกล่มุ เลก็ หรือกลุม่ ใหญ่ เดก็ สามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระจาก กจิ กรรมหน่งึ ไปยังกิจกรรมหนง่ึ โดยไม่รบกวนผอู้ ื่น ๓. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมมุ ประสบการณ์ สามารถจดั ไดต้ ามความเหมาะสมข้นึ อยูก่ ับสภาพของ หอ้ งเรยี น จดั แยกสว่ นทีใ่ ชเ้ สยี งดังและเงียบออกจากกนั เช่น มุมบล็อกอยู่หา่ งจากมุมหนังสอื มมุ บทบาทสมมติอยู่ติดกบั มุมบลอ็ ก มมุ วิทยาศาสตร์อยใู่ กล้มมุ ศิลปะฯ ลฯ ที่สำคัญจะต้องมขี องเล่น วัสดุอุปกรณ์ ในมุมอย่างเพยี งพอตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มักถกู กำหนดไวใ้ นตารางกิจกรรมประจำวัน เพอ่ื ให้โอกาสเด็กได้เลน่ อยา่ งเสรีประมาณวนั ละ ๖๐ นาทีการจดั มุมเลน่ ตา่ งๆ ผสู้ อนควรคำนงึ ถึงส่ิงตอ่ ไปน้ี ๓.๑ ในห้องเรียนควรมีมุมเลน่ อย่างน้อย ๓-๕ มุม ท้ังนี้ขึ้นอยู่กบั พืน้ ทขี่ องหอ้ ง ๓.๒ ควรได้มีการผลัดเปล่ียนส่อื ของเลน่ ตามมุมบ้าง ตามความสนใจของเด็ก ๓.๓ ควรจัดให้มีประสบการณ์ท่ีเดก็ ไดเ้ รยี นรไู้ ปแลว้ ปรากฏอยใู่ นมุมเลน่ เชน่ เดก็ เรยี นรู้เรื่องผเี สอ้ื ผสู้ อนอาจจัดให้มีการจำลองการเกดิ ผเี สื้อลอ่ งไว้ใหเ้ ด็กดใู นมุมธรรมชาติศึกษาหรอื มุมวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่น ทั้งนี้เพ่ือจงู ใจให้เด็กรู้สกึ เป็นเจ้าของ อยาก เรยี นรู้ อยากเข้าเลน่ ๓.๕ ควรเสรมิ สรา้ งวนิ ัยใหก้ บั เดก็ โดยมีขอ้ ตกลงรว่ มกนั วา่ เมือ่ เลน่ เสร็จแลว้ จะตอ้ งจัดเก็บอปุ กรณ์ ทุกอย่างเขา้ ท่ีใหเ้ รยี บร้อยสภาพแวดล้อมนอกห้องเรยี น คอื การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบรเิ วณรอบ ๆ สถานศึกษา รวมท้ังจดั สนามเด็กเลน่ พร้อมเครอื่ งเลน่ สนาม จดั ระวังรักษาความปลอดภยั ภายในบรเิ วณสถานศกึ ษา

๘๔ และบรเิ วณรอบนอกสถานศกึ ษา ดแู ลรักษาความสะอาด ปลูกตน้ ไม้ให้ความรม่ ร่ืนรอบๆบริเวณสถานศึกษา สงิ่ ต่างๆเหล่าน้ีเปน็ สว่ นหนง่ึ ท่สี ่งผลตอ่ การเรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก บรเิ วณสนามเด็กเล่น ต้องจดั ใหส้ อดคล้องกับหลกั สูตร ดงั น้ี สนามเด็กเล่น มีพ้ืนผิวหลายประเภท เชน่ ดนิ ทราย หญา้ พ้นื ท่สี ำหรบั เล่นของเล่นทีม่ ีลอ้ รวมทั้งท่รี ่ม ท่ีโลง่ แจง้ พื้นดินสำหรบั ขุด ทเ่ี ล่นนำ้ บ่อทราย พรอ้ มอุปกรณป์ ระกอบการเล่น เคร่ืองเลน่ สนาม สำหรับปีนปา่ ย ทรงตวั ฯลฯ ทั้งนตี้ อ้ งไมต่ ิดกับบริเวณที่มอี ันตราย ต้องหมน่ั ตรวจตราเครือ่ งเล่นให้อยูใ่ นสภาพ แข็งแรง ปลอดภัยอยูเ่ สมอ และหม่ันดูแลเรอ่ื งความสะอาด ท่ีน่ังเล่นพักผอ่ น จัดที่น่ังไว้ใตต้ ้นไม้มีร่มเงา อาจใชก้ ิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรอื กิจกรรมท่ตี ้องการ ความสงบ หรืออาจจัดเปน็ ลานนิทรรศการให้ความรแู้ ก่เด็กและผู้ปกครองบริเวณธรรมชาติ ปลูกไม้ดอก ไม้ ประดับ พชื ผักสวนครัว หากบรเิ วณสถานศึกษา มีไมม่ ากนัก อาจปลูกพชื ในกระบะหรอื กระถาง มุมประสบการณ์ ส่อื ประกอบการจัดกิจกรรมเพอื่ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทงั้ ทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา ควรมีสื่อทั้งที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ สื่อที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก ส่ือ สะท้อนวฒั นธรรม ส่ือทปี่ ลอดภัยต่อตัวเด็ก ส่อื เพ่ือพฒั นาเดก็ ในด้านต่างๆให้ครบทกุ ด้านส่ือท่ีเอื้อให้เด็กเรียนรู้ ผา่ นประสาทสัมผัสท้ังห้า โดยการจดั การใช้สอื่ เรมิ่ ต้นจาก ส่ือของจรงิ ภาพถา่ ย ภาพโครงรา่ ง และ สัญลักษณ์ ทง้ั นี้การใช้ส่ือต้องเหมาะสมกับวยั วฒุ ิภาวะ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ความสนใจและความตอ้ งการของเด็ก ทห่ี ลากหลาย ตวั อย่างส่อื ประกอบการจัดกิจกรรม มดี ังนี้ กิจกรรมการเลน่ ตามมุม ๑. มมุ บทบาทสมมติ อาจจดั เป็นมุมเลน่ ดังนี้ ๑.๑ มมุ บา้ น ❖ ของเล่นเครือ่ งใช้ในครัวขนาดเลก็ หรือของจำลอง เชน่ เตา กระทะ ครก กานำ้ เขียง มดี พลาสติก หมอ้ จาน ชอ้ น ถว้ ยชาม กะละมัง ฯลฯ ❖ เครื่องเล่นตกุ๊ ตา เสอ้ื ผ้าตุ๊กตา เตียง เปลเด็ก ตุ๊กตา ❖ เครื่องแต่งบ้านจำลอง เช่น ชดุ รบั แขก โต๊ะเครอื่ งแป้ง หมอนองิ กระจกขนาดเหน็ เตม็ ตัว หวี ตลับแปง้ ฯลฯ ❖ เครือ่ งแตง่ กายบุคคลอาชพี ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้แลว้ เช่น ชดุ เครอื่ งแบบทหาร ตำรวจ ชุดเสอื้ ผ้า ผู้ใหญ่ชาย และหญงิ รองเท้า กระเปา๋ ถือที่ไม่ใช้แล้ว ฯลฯ ❖ โทรศพั ท์ เตารีดจำลอง ทรี่ ีดผ้าจำลอง ❖ ภาพถา่ ยและรายการอาหาร ๑.๒ มุมหมอ ❖ เครอื่ งเลน่ จำลองแบบเคร่อื งมือแพทย์ และอุปกรณ์รกั ษาผู้ปว่ ย เชน่ หูฟัง เสื้อคลมุ หมอ ฯลฯ ❖ อุปกรณ์สำหรบั เลียนแบบการบนั ทึกขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย เช่น กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ ๑.๓ มุมร้านคา้ ❖ กล่องและขวดผลิตภัณฑต์ า่ งๆทีใ่ ชแ้ ลว้ ❖ อุปกรณ์ประกอบการเลน่ เช่น เครื่องคดิ เลข ลกู คดิ ธนบัตรจำลอง ฯลฯ

๘๕ ๒. มมุ บลอ็ ก ❖ ไม้บล็อกหรือแท่งไม้ทีม่ ีขนาดและรปู ทรงต่างๆกนั จำนวนต้ังแต่ ๕๐ ชนิ้ ขึน้ ไป ❖ ของเล่นจำลอง เชน่ รถยนต์ เครอื่ งบิน รถไฟ คน สัตว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ ❖ ภาพถ่ายต่างๆ ❖ ท่ีจัดเกบ็ ไมบ้ ล็อกหรอื แทง่ ไมอ้ าจเป็นช้นั ลงั ไมห้ รือพลาสตกิ แยกตามรูปทรง ขนาด ๓. มุมหนังสอื ❖ หนังสอื ภาพนทิ าน สมดุ ภาพ หนงั สือภาพทม่ี ีคำและประโยคส้นั ๆพร้อมภาพ ❖ ชั้นหรือทีว่ างหนังสือ ❖ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ในการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เช่น เส่อื พรม หมอน ฯลฯ ❖ สมดุ เซน็ ยมื หนงั สือกลับบ้าน ❖ อุปกรณส์ ำหรับการเขยี น ❖ อปุ กรณเ์ สริม เช่น เครอ่ื งเล่นเทป ตลับเทปนิทานพร้อมหนังสือนทิ าน หูฟงั ฯลฯ ๔. มมุ วิทยาศาสตร์หรอื มุมธรรมชาตศิ ึกษา ❖ วัสดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เชน่ เมล็ดพืชต่าง ๆ เปลือกหอย ดนิ หนิ แร่ ฯลฯ ❖ เครอื่ งมอื เครือ่ งใชใ้ นการสำรวจ สังเกต ทดลอง เชน่ แว่นขยาย แม่เหล็ก เข็มทศิ เครอ่ื งชง่ั ฯลฯ ๕. มมุ อาเซียน ❖ ธงของแต่ละประเทศในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ❖ คำกล่าวทักทายของแต่ละประเทศ ❖ ภาพการแตง่ กายประจำชาติในกล่มุ ประเทศอาเซียน กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ ควรมีวัสดุ อปุ กรณ์ ดงั น้ี ๑. การวาดภาพและระบายสี - สีเทยี นแท่งใหญ่ สีไม้ สชี อลก์ สนี ้ำ - พ่กู ันขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ ) - กระดาษ - เสอ้ื คลมุ หรอื ผา้ กันเป้ือน ๒. การเล่นกบั สี ❖ การเปา่ สี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี ้ำ ❖ การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พ่กู นั สีน้ำ ❖ การพับสี มี กระดาษ สนี ้ำ พูก่ นั ❖ การเทสี มี กระดาษ สนี ้ำ ❖ การละเลงสี มี กระดาษ สนี ้ำ แปง้ เปยี ก ๓. การพมิ พ์ภาพ ❖ แมพ่ มิ พต์ า่ ง ๆ จากของจริง เช่น น้วิ มือ ใบไม้ กา้ นกล้วย ฯลฯ ❖ แมพ่ มิ พ์จากวสั ดุอนื่ ๆ เชน่ เชือก เส้นดา้ ย ตรายาง ฯลฯ ❖ กระดาษ ผ้าเชด็ มอื สโี ปสเตอร์ (สีน้ำ สฝี ่นุ ฯลฯ) ๔.การปนั้ เช่น ดนิ น้ำมนั ดนิ เหนียว แปง้ โดว์ แผน่ รองปัน้ แมพ่ มิ พ์รูปตา่ ง ๆ ไม้นวดแปง้ ฯลฯ

๘๖ ๕.การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆที่จะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็กปลายมน กาวนำ้ หรอื แป้งเปียก ผา้ เชด็ มอื ฯลฯ ๖. การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุต่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า เศษไหม กาว กรรไกร สี ผา้ เชด็ มอื ฯลฯ ๗. การรอ้ ย เช่น ลกู ปดั หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ ๘.การสาน เชน่ กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ ๙. การเล่นพลาสติกสรา้ งสรรค์ พลาสตกิ ช้ินเล็ก ๆ รูปทรงต่าง ๆ ผเู้ ล่นสามารถนำมาต่อเปน็ รูปแบบ ต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ ๑๐.การสรา้ งรปู เช่น จากกระดานปักหมุด จากแปน้ ตะปทู ่ใี ช้หนงั ยางหรอื เชือก ผูกดึงให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ เกมการศกึ ษา ตัวอยา่ งส่ือประเภทเกมการศกึ ษามดี งั นี้ ๑. เกมจับคู่ ❖ จับคู่รปู ร่างทเี่ หมอื นกัน ❖ จับคภู่ าพเงา ❖ จับคูภ่ าพที่ซอ่ นอยใู่ นภาพหลกั ❖ จับคู่สิง่ ทมี่ ีความสมั พนั ธก์ ัน ส่งิ ที่ใชค้ ู่กนั ❖ จับคภู่ าพส่วนเต็มกับส่วนยอ่ ย ❖ จบั คภู่ าพกับโครงร่าง ❖ จับค่ภู าพชนิ้ สว่ นทหี่ ายไป ❖ จับคภู่ าพทเ่ี ปน็ ประเภทเดยี วกนั ❖ จับคู่ภาพที่ซ่อนกัน ❖ จบั คภู่ าพสมั พนั ธแ์ บบตรงกันขา้ ม ❖ จบั คู่ภาพที่สมมาตรกัน ❖ จับคแู่ บบอุปมาอปุ ไมย ❖ จับคู่แบบอนกุ รม ๒. เกมภาพตัดต่อ ❖ ภาพตัดต่อทีส่ มั พันธ์กับหนว่ ยประสบการณ์ต่าง ๆ เชน่ ผลไม้ ผัก ฯลฯ ๓. เกมจัดหมวดหมู่ ❖ ภาพสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีนำมาจัดเป็นพวก ๆ ❖ ภาพเก่ยี วกบั ประเภทของใช้ในชวี ติ ประจำวนั ❖ ภาพจดั หมวดหมูต่ ามรูปรา่ ง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณิต ๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมโิ น) ❖ โดมิโนภาพเหมือน ❖ โดมโิ นภาพสัมพนั ธ์ ๕. เกมเรียงลำดับ ❖ เรียงลำดับภาพเหตกุ ารณ์ตอ่ เนอื่ ง ❖ เรยี งลำดบั ขนาด

๘๗ ๖. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต) ๗. เกมจบั คแู่ บบตารางสมั พันธ์ (เมตรกิ เกม) ๘. เกมพื้นฐานการบวก กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ ตัวอย่างสอื่ มดี งั น้ี ๑ .สื่อของจริงที่อยู่ใกล้ตัวและสื่อจากธรรมชาติหรือวัสดุท้องถิ่น เช่น ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสื้อผ้า ฯลฯ ๒. สื่อทจี่ ำลองขึ้น เชน่ ลูกโลก ตกุ๊ ตาสัตว์ ฯลฯ ๓. สอื่ ประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนงั สอื ภาพ ฯลฯ ๔. ส่อื เทคโนโลยี เช่น วทิ ยุ เคร่ืองบันทกึ เสียง เครอื่ งขยายเสียง โทรศพั ท์ กิจกรรมการเลน่ กลางแจง้ ตัวอย่างส่ือมีดังน้ี ๑. เคร่ืองเล่นสนาม เช่น เครือ่ งเลน่ สำหรบั ปีนป่าย เคร่อื งเลน่ ประเภทล้อเลอื่ น ฯลฯ ๒. ท่ีเล่นทราย มที รายละเอียด เครื่องเลน่ ทราย เคร่ืองตวง ฯลฯ ๓. ที่เล่นน้ำ มีภาชนะใส่น้ำหรืออ่างน้ำวางบนขาตั้งที่มั่นคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนได้พอดี เสื้อคลุม หรือผ้ากนั เป้อื นพลาสตกิ อุปกรณเ์ ลน่ น้ำ เช่น ถว้ ยตวง ขวดต่างๆ สายยาง กรวยกรอกน้ำ ตุ๊กตายาง ฯลฯ กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ ตัวอย่างสอื่ มีดงั น้ี ๑. เครื่องเคาะจังหวะ เช่น ฉิ่ง เหล็กสามเหลี่ยม กรับ รำมะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ประกอบการ เคล่ือนไหว เชน่ หนังสอื พมิ พ์ ริบบน้ิ แถบผ้า หว่ ง ๒. หวาย ถงุ ทราย ฯลฯ การเลอื กสือ่ มวี ธิ ีการเลอื กสอ่ื ดังนี้ ๑. เลอื กให้ตรงกบั จุดมงุ่ หมายและเรื่องท่ีสอน ๒. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั วัยและความสามารถของเดก็ ๓. เลือกให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของทอ้ งถิน่ ที่เดก็ อย่หู รือสถานภาพของสถานศกึ ษา ๔. มีวธิ กี ารใช้ง่าย และนำไปใช้ได้หลายกจิ กรรม ๕. มคี วามถูกตอ้ งตามเนือ้ หาและทันสมัย ๖. มคี ุณภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใชส้ สี ะทอ้ นแสง ๗. เลือกสื่อทเ่ี ด็กเข้าใจง่ายในเวลาสั้น ๆ ไม่ซบั ซอ้ น ๘. เลือกส่ือทส่ี ามารถสมั ผัสได้ ๙. เลอื กสอ่ื เพอื่ ใชฝ้ กึ และส่งเสรมิ การคดิ เปน็ ทำเปน็ และกลา้ แสดงความคิดเหน็ ด้วยความม่นั ใจ การจัดหาสอื่ สามารถจดั หาได้หลายวธิ ี คือ ๑. จัดหาโดยการขอยืมจากแหล่งต่างๆ เช่น ศูนย์สื่อของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือ สถานศึกษา เอกชน ฯลฯ ๒.จดั ซ้อื ส่อื และเครื่องเลน่ โดยวางแผนการจัดซื้อตามลำดบั ความจำเปน็ เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับงบประมาณท่ี ทางสถานศกึ ษาสามารถจัดสรรใหแ้ ละสอดคล้องกับแผนการจดั ประสบการณ์ ๓.ผลติ สอ่ื และเครอ่ื งเล่นข้นึ ใชเ้ องโดยใชว้ ัสดทุ ่ปี ลอดภยั และหาง่ายเปน็ เศษวัสดเุ หลือใช้ ท่มี ีอยใู่ นท้องถ่ินนนั้ ๆ เช่น กระดาษแขง็ จากลังกระดาษ รูปภาพจากแผน่ ปา้ ยโฆษณา รปู ภาพจากหนังสอื นิตยสารตา่ ง ๆ เป็นต้น

๘๘ ขน้ั ตอนการดำเนนิ การผลติ ส่ือสำหรับเดก็ มดี งั น้ี ๑. สำรวจความตอ้ งการของการใชส้ อ่ื ใหต้ รงกับจดุ ประสงค์ สาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมท่ีจดั ๒. วางแผนการผลติ โดยกำหนดจุดมงุ่ หมายและรปู แบบของส่ือใหเ้ หมาะสมกับวยั และความสามารถของเด็ก สอื่ นั้นจะต้องมีความคงทนแข็งแรง ประณีตและสะดวกตอ่ การใช้ ๓. ผลติ สอื่ ตามรูปแบบที่เตรียมไว้ ๔. นำสอ่ื ไปทดลองใชห้ ลาย ๆ คร้งั เพื่อหาข้อดี ข้อเสียจะได้ปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ดยี ง่ิ ขน้ึ ๕. นำสือ่ ท่ปี รบั ปรงุ แก้ไขแลว้ ไปใชจ้ ริง การใช้สอ่ื ดำเนนิ การดังน้ี ๑.การเตรยี มพร้อมกอ่ นใชส้ ่อื มีขัน้ ตอน คือ ๑.๑ เตรยี มตัวผู้สอน ❖ ผู้สอนจะต้องศึกษาจุดมุ่งหมายและวางแผนว่าจะจดั กิจกรรมอะไรบา้ ง ❖ เตรยี มจัดหาส่ือและศึกษาวิธกี ารใชส้ ่อื ❖ จัดเตรียมสอ่ื และวสั ดอุ ืน่ ๆ ทจี่ ะตอ้ งใชร้ ่วมกนั ❖ ทดลองใช้สือ่ กอ่ นนำไปใช้จรงิ ๑.๒ เตรียมตวั เด็ก ❖ ศึกษาความร้พู ื้นฐานเดมิ ของเด็กให้สมั พันธ์กับเรื่องทจ่ี ะสอน ❖ เร้าความสนใจเดก็ โดยใชส้ ่อื ประกอบการเรียนการสอน ❖ ให้เดก็ มคี วามรับผดิ ชอบ รจู้ กั ใชส้ ่อื อย่างสร้างสรรค์ ไมใ่ ช่ทำลาย เลน่ แล้วเกบ็ ให้ถกู ที่ ๑.๓ เตรยี มส่อื ให้พร้อมก่อนนำไปใช้ ❖ จดั ลำดบั การใช้ส่ือวา่ จะใชอ้ ะไรกอ่ นหรือหลัง เพอื่ ความสะดวกในการสอน ❖ ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือใหพ้ ร้อมทีจ่ ะใชไ้ ดท้ นั ที ❖ เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ช้ร่วมกับส่อื ๒.การนำเสนอสอ่ื เพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลโดยเฉพาะใน กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม / กจิ กรรมกลมุ่ ยอ่ ย ควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี ๒.๑ สร้างความพรอ้ มและเรา้ ความสนใจให้เด็กกอ่ นจดั กิจกรรมทกุ ครั้ง ๒.๒ ใชส้ ื่อตามลำดับขนั้ ของแผนการจดั กิจกรรมทก่ี ำหนดไว้ ๒.๓ ไมค่ วรใหเ้ ดก็ เห็นสอ่ื หลายๆชนดิ พร้อมๆกัน เพราะจะทำให้เดก็ ไม่สนใจกจิ กรรมท่ีสอน ๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรือดา้ นหลงั ของสอ่ื ที่ใชก้ บั เดก็ ผสู้ อนไมค่ วรยืน หนั หลงั ใหเ้ ดก็ จะตอ้ งพูดคยุ กบั เดก็ และสังเกตความสนใจของเดก็ พรอ้ มทงั้ สำรวจข้อบกพร่องของสื่อทใ่ี ช้ เพื่อนำไปปรับปรุงแกไ้ ขให้ดขี ึ้น ๒.๕ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ได้รว่ มใชส้ อื่ ขอ้ ควรระวงั ในการใชส้ ือ่ การเรียนการสอน การใช้สื่อในระดับปฐมวยั ควรระวังในเรือ่ งต่อไปน้ี ๑. วัสดุทใี่ ช้ ต้องไม่มีพษิ ไม่หัก และแตกงา่ ย มีพน้ื ผวิ เรยี บ ไมเ่ ปน็ เสีย้ น ๒. ขนาด ไมค่ วรมีขนาดใหญเ่ กินไป เพราะยากต่อการหยิบยก อาจจะตกลงมาเสียหาย แตก เปน็ อนั ตรายต่อเด็กหรอื ใช้ไมส่ ะดวก เชน่ กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เก้าอี้ท่ใี หญ่และสูงเกนิ ไป และไม่ควรมี ขนาดเลก็ เกินไป เดก็ อาจจะนำไปอมหรอื กลืนทำให้ตดิ คอหรอื ไหลลงท้องได้ เช่น ลูกปดั เลก็ ลูกแกว้ เล็ก ฯลฯ ๓. รปู ทรง ไม่เปน็ รปู ทรงแหลม รูปทรงเหลย่ี ม เปน็ สัน ๔. นำ้ หนกั ไม่ควรมีน้ำหนกั มาก เพราะเด็กยกหรือหยิบไมไ่ หว อาจจะตกลงมาเป็นอนั ตรายต่อตัวเด็ก

๘๙ ๕. ส่อื หลีกเล่ียงสื่อท่ีเป็นอนั ตรายต่อตวั เดก็ เชน่ สารเคมี วตั ถุไวไฟ ฯลฯ ๖. สี หลกี เลย่ี งสที ีเ่ ป็นอันตรายตอ่ สายตา เช่น สีสะท้อนแสง ฯลฯ การประเมินการใช้ส่อื ควรพจิ ารณาจากองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ ผสู้ อน เดก็ และส่อื เพอ่ื จะได้ทราบว่าส่ือน้ันช่วยให้เด็ก เรียนร้ไู ด้มากนอ้ ยเพยี งใด จะไดน้ ำมาปรับปรงุ การผลิตและการใชส้ ่ือใหด้ ยี ิ่งขึ้น โดยใช้วธิ ีสงั เกต ดงั นี้ ๑. ส่ือนั้นช่วยให้เด็กเกดิ การเรยี นรูเ้ พยี งใด ๒. เด็กชอบส่ือน้นั เพยี งใด ๓. สือ่ นั้นช่วยใหก้ ารสอนตรงกับจุดประสงคห์ รือไม่ ถูกตอ้ งตามสาระการเรยี นรู้และทนั สมัยหรือไม่ ๔. สือ่ น้นั ช่วยใหเ้ ดก็ สนใจมากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตใุ ด การพัฒนาส่ือ การพัฒนาสื่อเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยนั้น ก่อนอื่นควรได้สำรวจข้อมูล สภาพ ปัญหาต่างๆของสื่อทุกประเภทที่ใช้อยู่ว่ามีอะไรบ้างที่จะต้องปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อจะได้ปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับ ความต้องการ แนวทางการพัฒนาสื่อ ควรมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้ ๑. ปรับปรุงส่อื ให้ทนั สมยั เข้ากบั เหตกุ ารณ์ ใช้ไดส้ ะดวก ไม่ซับซ้อนเกนิ ไป เหมาะสมกับวยั ของเดก็ ๒. รักษาความสะอาดของสือ่ ถ้าเป็นวสั ดุท่ีลา้ งนำ้ ได้ เมื่อใช้แล้วควรได้ล้างเช็ด หรือ ปัดฝุ่นให้สะอาด เก็บไว้เป็นหมวดหมู่ วางเปน็ ระเบยี บหยบิ ใช้ง่าย ๓. ถ้าเป็นสื่อทีผ่ ู้สอนผลิตขึ้นมาใช้เองและผา่ นการทดลองใช้มาแล้ว ควรเขียนคู่มือประกอบการใชส้ อื่ นั้น โดยบอกชื่อสือ่ ประโยชน์และวิธีใชส้ ื่อ รวมทั้งจำนวนชิ้นส่วนของสื่อในชุดน้ันและเก็บคู่มือไว้ในซองหรือถุง พรอ้ มสื่อทีผ่ ลติ ๔. พัฒนาสื่อท่ีสรา้ งสรรค์ ใชไ้ ด้เอนกประสงค์ คอื เปน็ ไดท้ ัง้ สอ่ื เสรมิ พฒั นาการ และเป็นของเลน่ สนุกสนานเพลดิ เพลนิ แหลง่ การเรียนรู้ โรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส ไดแ้ บ่งประเภทของแหล่งเรียนรู้ ไดด้ งั นี้ ๑. แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบคุ คล ได้แก่ วทิ ยากรหรอื ผูเ้ ชยี วชาญเฉพาะด้าน ทีจ่ ดั หามาเพอื่ ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจอยา่ งกระจา่ งแก่เด็กโดยสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ ได้แก่ - เจา้ หน้าท่ีในเทศบาลตำบลบ้านยาง - เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข รพ.สต.บา้ นยาง - พระสงฆ์ - พ่อคา้ – แมค่ า้ - เจา้ หนา้ ทต่ี ำรวจลำทะเมนชัย - ผ้ปู กครอง - ช่างตัดผม / ชา่ งเสริมสวย - ครู - นกั การภารโรง - ฯลฯ

๙๐ ๒. แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ แหลง่ ข้อมูลหรอื แหลง่ วิทยาการต่างๆ ท่ีอยูใ่ นชมุ ชนมคี วามสัมพนั ธก์ บั เอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เด็กสามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโลกภายนอก (inner world & outer world) ได้ และสอดคลอ้ งกบั วถิ ีการดำเนนิ ชีวติ ของเดก็ ปฐมวัย ได้แก่ - หอ้ งสมดุ โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส - หอ้ งคอมพิวเตอร์โรงเรยี นวัดพรหมเทพาวาส - ห้องดนตรโี รงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส - บ้านหนองออ้ หนองเชอื ก หว้ ยผักหนาม บ้านออ้ - โรงพยาบาลลำทะเมนชยั - สถานีตำรวจ - สวนผกั ของโรงเรยี น - โรงเพาะเลีย้ งไกพ่ ันธ์ไุ ข่ - สวนมะนาว - รา้ นค้าในชุมชน - ร้านตดั ผมชาย-หญิง - บอ่ เล้ยี งปลา ๓. สถานที่สำคัญต่างๆ ไดแ้ ก่ แหลง่ ความรสู้ ำคัญต่างๆ ท่เี ด็กใหค้ วามสนใจ ได้แก่ - วดั บา้ นออ้ - วัดหนองอ้อ - วดั หว้ ยผักหนาม - วัดหนองเชอื ก การประเมนิ พัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญาของเดก็ โดยถือเปน็ กระบวนการต่อตนเอง และเปน็ สว่ นหน่ึงของกิจกรรมปกติที่จัดให้เด็ก ในแต่ละวนั ผลทไี่ ด้จากการสังเกตพฒั นาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนทิ ศั นห์ รอื จัดทำขอ้ มูลหลกั ฐานหรอื เอกสาร อยา่ งเป็นระบบ ดว้ ยการวบรวมผลงานสำหรับเดก็ เปน็ รายบุคคลที่สามารถบอกเร่ืองราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็ก ได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมา พิจารณา ปรับปรุงวางแผล การจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของ หลกั สูตรอย่างต่อเนอ่ื ง การประเมินพัฒนาการควรยดึ หลกั ดงั น้ี ๑. วางแผนการประเมนิ พฒั นาการอย่างเปน็ ระบบ ๒. ประเมินพฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ น ๓. ประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบคุ คลอยา่ งสม่ำเสมอตอ่ เนื่องตลอดปี ๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกจิ กรรมประจำวันด้วยเครือ่ งมือและวิธีการที่หลากหลาย ไม่ ควรใชแ้ บบทดสอบ ๔. สรปุ ผลการประเมิน จัดทำขอ้ มลู และนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก

๙๑ สำหรับวิธีการประเมินที่เหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก พฤตกิ รรม การสนทนากับเดก็ การสัมภาษณ์ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากผลงานเด็กที่เกบ็ อยา่ งมีระบบ ๑. ประเภทของการประเมินพฒั นาการ การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของเด็ก ประกอบด้วย ๑) วัตถุประสงค์ (Objective) ซึ่งตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมายถึง จดุ หมายซงึ่ เป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งช้ีและ สภาพที่พึงประสงค์ ๒) การจัดประสบการณการเรียนรู้ (Learning) ซึ่งเป็นกระบวนการได้มาของความรู้หรือ ทักษะผ่านการกระทำสิ่งต่างๆที่สำคัญตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดให้หรือที่เรียกว่า ประสบการณ์ สำคญั ในการช่วยอธบิ ายใหค้ รูเข้าใจถึงประสบการณท์ ีเ่ ดก็ ปฐมวัยตอ้ งทำเพอื่ เรยี นร้สู ิ่งตา่ งๆรอบตวั และช่วยแนะ ผู้สอนในการสังเกต สนับสนุน และวางแผนการ จัดกิจกรรมให้เด็กและ ๓) การประเมินผล(Evaluation) เพื่อ ตรวจสอบพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิดขึ้นบนพื้นฐาน พัฒนาการตามวัยหรือ ความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เรียกว่า สภาพที่พึงประสงค์ ที่ใช้เป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการ ประเมินพัฒนาการเดก็ เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคุณภาพเด็กทั้งนี้ประเภทของการประเมนิ พฒั นาการ อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) แบ่งตามวตั ถุประสงคข์ องการประเมนิ การแบ่งตามวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังน้ี ๑.๑) การประเมินความก้าวหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Assessment) หรือการประเมนิ เพื่อเรียน (Assessment for Learning) เป็นการประเมินระหว่าง การจัดระสบการณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหว่างทำกจิ กรรม ประจำวัน/กิจวัตรประจำวันปกติอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้วนำมาใช้ในการ ส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของเด็ก และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน การประเมิน พัฒนาการกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอนจึงเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กันหากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ก็ขาดประสิทธิภาพ เป็นการประเมินผลเพือ่ ให้รู้จุดเด่น จุดที่ควรส่งเสริม ผู้สอนต้องใช้ วิธีการและเครื่องมือประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานท่ี แสดงออกถึงความก้าวหนา้ แต่ละดา้ นของเด็กเป็นรายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน เพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปของประเด็น ท่กี ำหยด สง่ิ ที่สำคัญทส่ี ดุ ในการประเมนิ ความกา้ วหนา้ คอื การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในลักษณะการเชื่อมโยง ประสบการณเ์ ดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ทำใหก้ ารเรยี นร้ขู องเดก็ เพ่ิมพูน ปรบั เปล่ยี นความคิด ความเขา้ ใจเดิมที่ไม่ ถกู ต้อง ตลอดจนการใหเ้ ด็กสามารถพฒั นาการเรียนรขู้ องตนเองได้ ๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) หรือ การประเมินเพื่อตัดสินผลพัฒนาการ (Summative Assessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็นการ ประเมินสรปุ พฒั นาการ เพ่ือตัดสนิ พัฒนาการของเด็กว่ามคี วามพร้อมตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยหรอื ไม่ เพอ่ื เปน็ การเช่ือมตอ่ ของการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ดังน้นั ผู้สอนจึงควรให้ความสำคญั กับการประเมนิ ความก้าวหน้าของเด็กในระดับห้องเรียนมากกว่าการ ประเมินเพื่อตัดสนิ ผลพัฒนาการของเดก็ เมอ่ื ส้ินภาคเรยี นหรอื สิ้นปีการศกึ ษา ๒) แบ่งตามระดบั ของการประเมนิ การแบง่ ตามระดับของการประเมิน แบง่ ได้เป็น ๒ ประเภท ๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการที่อยู่ในกระบวนการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ผสู้ อนดำเนนิ การเพอ่ื พัฒนาเดก็ และตัดสนิ ผลการพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ

๙๒ สังคม และสติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้(Unit) ที่ผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ผู้สอน ประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่พึงประสงค์และตัวบ่งชี้ที่กำหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละแผนการจัด ประสบการณข์ องหนว่ ยการเรียนรูด้ ว้ ยวิธีต่างๆ เชน่ การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานที่ แสดงออกถงึ ความกา้ วหนา้ แต่ละด้านของเดก็ เป็นรายบคุ คล การแสดงกรยิ าอาการตา่ งๆของเด็กตลอดเวลาท่ีจัด ประสบการณเ์ รยี นรู้ เพอื่ ตรวจสอบและประเมนิ ว่าเด็กบรรลุตามสภาพทพ่ี ึงประสงค์ละตวั บ่งช้ี หรือมีแนวโน้มว่า จะบรรลุสภาพที่พงึ ประสงค์และตวั บ่งช้ีเพียงใด แล้วแก้ไขขอ้ บกพร่องเปน็ ระยะๆอย่างต่อเน่ือง ท้ังนี้ ผู้สอนควร สรุปผลการประเมินพัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่ และมากน้อย เพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพัฒนาการในกิจกรรมประจำวัน/กิจวัตร ประจำวัน/หนว่ ยการเรยี นรู้ หรผื ลตามรูปแบบการประเมินพัฒนาการท่ีสถานศกึ ษากำหนด เพือ่ นำมาเป็นข้อมูล ใช้ปรังปรงุ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นข้อมูลในการสรุปผลการประเมินพัฒนาในระดับสถานศกึ ษา ต่อไปอกี ด้วย ๒.๒) การประเมินพัฒนาการระดับสถานศกึ ษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ เป็นรายบุคคลเป็นรายภาค/รายปี เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวัยของ สถานศึกษาว่าส่งผลตามการเรียนรู้ของเด็กตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งที่ต้องการได้รับการพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและสารสนเทศในก าร ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัด แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษาตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผล การพัฒนาคณุ ภาพเด็กตอ่ ผู้ปกครอง นำเสนอคณะกรรมการถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานรบั ทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อ สาธรณชน ชุมชน หรอื หน่วยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งต่อไป อนึ่ง สำหรับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรือระดับประเทศนั้นหาก เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาใดมีความพร้อม อาจมีการดำเนนิ งานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเด็กปฐมวัยเขา้ รับการ ประเมินก็ได้ ทั้งนี้ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตามหลักการการประเมินพัฒนาการตาม หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ บทบาทหน้าทข่ี องผเู้ ก่ียวขอ้ งในการดำเนินงานประเมนิ พัฒนาการ การดำเนนิ งานประเมินพัฒนาการของสถานศกึ ษานัน้ ตอ้ งเปิดโอกาสให้ผู้เกีย่ วขอ้ งเขา้ มามีส่วนร่วมใน การประเมินพัฒนาการและร่วมรบั ผิดชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาแต่ละขนาด ดังนี้ ผปู้ ฏิบัติ บทบาทหน้าทใ่ี นการประเมนิ พัฒนาการ ผูส้ อน ๑. ศกึ ษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย และแนวการปฏบิ ตั ิการประเมินพฒั นาการตาม หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมินพัฒนาการที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้/ กจิ กรรมประจำวัน/กจิ วัตรประจำวัน ๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึกผลการ ประจำวัน/กจิ วตั รประจำวนั ๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเมื่อสิ้นภาค เรยี นและสิน้ ปีการศกึ ษา ๕. สรุปผลการประเมินพัฒนาการระดับชั้นเรียนลงในสมุดบันทึกผลการประเมิน พัฒนาการประจำชัน้

๙๓ ผู้ปฏบิ ัติ บทบาทหน้าทใี่ นการประเมนิ พัฒนาการ ๖. จดั ทำสมุดรายงานประจำตวั นกั เรยี น ๗. เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาลงนามอนมุ ตั ิ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ๑.กำหนดผู้รับผิดชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลักสูตร และวางแนวทาง ปฏิบัติการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒. นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามใหก้ ารดำเนินการประเมนิ พฒั นาการใหบ้ รรลุเปา้ หมาย ๓. นำผลการประเมินพัฒนาการไปจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกำหนดนโยบาย และวางแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวัย พ่อ แม่ ผปู้ กครอง ๑. ให้ความร่วมมือกับผู้สอนในการประเมินพฤติกรรมของเด็กที่สังเกตได้จากที่บ้าน เพือ่ เปน็ ขอ้ มูลประกอบการแปลผลท่ีเที่ยงตรงของผูส้ อน ๒. รับทราบผลการประเมินของเดก็ และสะท้อนใหข้ ้อมูลย้อนกลับที่เปน็ ประโยชน์ใน การสง่ เสริมและพัฒนาเด็กในปกครองของตนเอง ๓. ร่วมกับผูส้ อนในการจัดประสบการณห์ รือเปน็ วทิ ยากรท้องถน่ิ คณะกรรมการ ๑. ให้ความเห็นชอบและประกาศใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั และแนวปฏิบัติในการ สถานศกึ ษาขน้ั ประเมนิ พัฒนาการตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พ้ืนฐาน ๒. รับทราบผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ เพื่อการประกันคุณภาพภายใน สำนกั งานเขตพนื้ ที่ ๑. ส่งเสริมการจัดทำเอกสารหลักฐานว่าด้วยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย การศกึ ษา ของสถานศกึ ษา ๒. ส่งเสริมให้ผู้สอนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการประเมิน พัฒนาการตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ตลอดจนความเข้าใจในเทคนิควิธีการประเมินพัฒนาการในรูปแบบต่างๆโดยเนน้ การ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ๓. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาเครื่องมือพัฒนาการตามมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและการจัดเก็บเอกสาร หลกั ฐานการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ ๔. ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการและการจัดทำเอกสาร หลักฐาน ๕. จัดให้มีการประเมินพัฒนาการเด็กที่ดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือ หน่วยงานต้นสงั กดั และให้ความรว่ มมือในการประเมนิ พัฒนาการระดบั ประเทศ แนวปฏบิ ตั ิการประเมินพฒั นาการ การประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยเป็นกจิ กรรมทส่ี อดแทรกอย่ใู นการจัดประสบการณ์ทุกขน้ั ตอนโดยเร่ิม ตั้งแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบัติกิจรรม และการประเมนิ พฤติกรรมเดก็ เม่อื สิ้นสดุ การปฏิบัตกิ ิจกรรม ท้งั นี้ พฤตกิ รรมการเรยี นร้แู ละพฒั นาการด้านต่างๆ

๙๔ ของเด็กที่ได้รับการประเมินนั้น ต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึง ประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวยั ที่ผูส้ อนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมินพัฒนาการจึงเป็น เครื่องมือสำคัญที่จะช่วยใหก้ ารเรียนรู้ของเด็กบรรลุตามเป้าหมายเพือ่ นำผลการประเมินไปปรับปรงุ พัฒนาการ จัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และใชเ้ ป็นขอ้ มลู สำหรับการพัฒนาเด็กต่อไป สถานศกึ ษาควรมีกระบวนการประเมิน พัฒนาการและการจัดการอย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมินพฒั นาการที่ตรงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะ และพฤติกรรมที่แท้จริงของเด็กสอดคล้องตามหลักการประเมินพัฒนาการ รวมทั้งสะท้อนการดำเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง แนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการเด็ก ปฐมวยั ของสถานศึกษา มีดังนี้ ๑. หลกั การสำคัญของการดำเนินการประเมินพฒั นาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาทจี่ ดั การศึกษาปฐมวัยควรคำนึงถึงหลกั สำคญั ของการดำเนินงานการประเมินพัฒนาการตาม หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย สำหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดงั นี้ ๑.๑ ผู้สอนเปน็ ผูร้ ับผิดชอบการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย โดยเปิดโอกาสให้ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งมีสว่ นร่วม ๑.๒ การประเมนิ พัฒนาการ มีจดุ มุ่งหมายของการประเมินเพอ่ื พฒั นาความก้าวหน้าของเดก็ และสรุปผล การประเมินพัฒนาการของเด็ก ๑.๓ การประเมนิ พัฒนาการต้องมคี วามสอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัว บ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์แต่ละวยั ซงึ่ กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๑.๔ การประเมินพัฒนาการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้องดำเนินการ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้อย่างรอบด้านสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา รวมทง้ั ระดบั อายุของเดก็ โดยตั้งอยู่บนพ้นื ฐานของความเทยี่ งตรง ยุติธรรม และเชอ่ื ถือได้ ๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวัยของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และ การร่วมกิจกรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับอายุ และรูปแบบการจดั การศกึ ษา และต้องดำเนินการประเมนิ อย่างตอ่ เนื่อง ๑.๖ การประเมินพฒั นาการตอ้ งเปดิ โอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้สะท้อนและตรวจสอบผลการ ประเมินพัฒนาการ ๑.๗ สถานศกึ ษาควรจัดทำเอกสารบันทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั ในระดบั ชัน้ เรียนและ ระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการ ประเมนิ พัฒนาการประจำชั้น เพ่อื เป็นหลกั ฐานการประเมนิ และรายงานผลพัฒนาการและสมุดรายงานประจำตัว นกั เรียน เพอื่ เป็นการสอ่ื สารขอ้ มูลการพัฒนาการเด็กระหว่างสถานศกึ ษากับบา้ น ๒. ขอบเขตของการประเมินพฒั นาการ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส ปีการศึกษา๒๕๖๓ (ตามหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กำหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งถือ เปน็ คณุ ภาพลักษณะที่พงึ ประสงค์ทต่ี ้องการให้เกิดขนึ้ ตัวเด็กเมอื่ จบหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย คณุ ลักษณะที่ระบุ ไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ถือเปน็ สิ่งจำเป็นสำหรับเด็กทุกคน ดังนั้น สถานศึกษาและหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพมาตรฐานที่พึงประสงค์ กำหนด ถอื เปน็ เครอ่ื งมือสำคัญในการขับเคล่ือนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย แนวคิดดังกล่าวอยู่บนฐาน

๙๕ ความเชื่อที่ว่าเด็กทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมได้ ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ ประกอบด้วย ๒.๑ สงิ่ ท่ีจะประเมนิ ๒.๒ วิธีและเครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ๒.๓ เกณฑ์การประเมินพัฒนาการ ๒.๑ สิง่ ทจ่ี ะประเมิน การประเมนิ พฒั นาการสำหรบั เด็กอายุ ๓-๖ ปี มเี ปา้ หมายสำคัญคือ มาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ จำนวน ๑๒ ขอ้ ดงั น้ี ๑. พฒั นาการด้านรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมสี ขุ นสิ ัยท่ดี ี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สมั พันธก์ นั ๒. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ ภาพจิตดแี ละมคี วามสุข มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจที่ดงี าม ๓. พัฒนาการด้านสังคม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชวี ติ และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ๔. พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่เี ปน็ พนื้ ฐานในการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกับวัย สง่ิ ทีจ่ ะประเมินพฒั นาการของเด็กปฐมวยั แต่ละด้าน มดี ังนี้ ด้านร่างกาย ประกอบดว้ ย การประเมนิ การมีน้ำหนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์ สุขภาพอนามยั สุขนิสัยท่ีดี การรจู้ ักรกั ษาความปลอดภยั การเคลือ่ นไหวและการทรงตวั การเล่นและการออกกำลงั กาย และการใช้มืออย่าง คล่องแคล่วประสานสมั พนั ธก์ นั ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่าง เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความสนใจ/ ความสามารถ/และมีความสุขในการทำงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการทำงาน ความซื่อสัตย์สุจริตและรู้สึกถูกผิด ความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการประหยัดอด ออม และพอเพียง ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน การระวังภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย การดูแลรักษาธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รกั ษาความเป็นไทย การยอมรับความเหมอื นและ

๙๖ ความแตกต่างระหว่างบุคคล การมีสัมพันธ์ที่ดกี ับผูอ้ ่ืน การปฏิบัติตนเบ้ืองตน้ ในการเป็นสมาชิกที่ดขี องสังคมใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ ด้านสติปัญญา ประกอบดว้ ย การประเมินความสามารถในการสนทนาโตต้ อบและเลา่ เร่ืองใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ ความสามารถในการอา่ น เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคดิ แก้ปญั หา คดิ เชงิ เหตุผล คิดรวบยอด การเลน่ /การทำงานศลิ ปะ/การแสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรคข์ องตนเอง การมี เจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นร้แู ละความสามารถในการแสวงหาความรู้ ๒.๒ วธิ กี ารและเครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมินพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเดก็ แต่ละครั้งควรใช้วิธกี ารประเมินอย่างหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมลู ที่สมบูรณ์ ทีส่ ุด วิธกี ารท่ีเหมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมินเด็กปฐมวยั มดี ้วยกนั หลายวธิ ี ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การสังเกต อย่างมจุดมงุ่ หมายท่ีแน่นอนตามแผนทวี่ างไว้ และอีกแบบหนึ่งคือ การสงั เกตแบบไมเ่ ปน็ ทางการ เป็นการสงั เกต ในขณะที่เด็กทำกิจกรรมประจำวันและเกดิ พฤติกรรมท่ีไมค่ าดคิดว่าจะเกิดข้ึนและผู้สอนจดบันทึกไว้การสังเกต เป็นวิธีการท่ีผู้สอนใช้ในการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เมื่อมีการสังเกตก็ต้องมีการบันทึก ผู้สอนควรทราบวา่ จะ บันทึกอะไรการบันทึกพฤติกรรมมีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กเจริญเติบโตและ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องนำมาบนั ทึกเป็นหลักฐานไว้อย่างชดั เจน การสังเกตและการบันทกึ พัฒนาการ เดก็ สามารถใชแ้ บบงา่ ยๆคือ ๑.๑ แบบบนั ทึกพฤตกิ รรม ใช้บันทกึ เหตกุ ารณเ์ ฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเดก็ ผู้บันทึกต้อง บันทึกวัน เดือน ปีเกิดของเด็ก และวัน เดือน ปี ทีท่ ำการบนั ทึกแตล่ ะครง้ั ๑.๒ การบนั ทกึ รายวนั เป็นการบันทกึ เหตกุ ารณห์ รอื ประสบการณ์หรือประสบการณ์ทเ่ี กิดข้ึนในช้ัน เรียนทุกวัน ถ้าหากบันทึกในรูปแบบของการบรรยายก็มักจะเน้นเฉพาะเด็กรายที่ต้องการศึกษา ข้อดีของการ บันทึกรายวันคือ การชี้ให้เห็นความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตุ้นให้ผู้สอนได้พิจารณาปัญหาของ เดก็ เปน็ รายบุคคลชว่ ยให้ผเู้ ชยี วชาญมีข้อมูลมากขน้ึ สำหรับวินิจฉัยเด็กว่าสมควรจะไดร้ บั คำปรึกษาเพื่อลดปัญหา และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังช่วยชี้ให้เห็นข้อเสียของการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ได้เปน็ อย่างดี ๑.๓ แบบสำรวจรายการ ชว่ ยใหส้ ามารถวิเคราะหเ์ ดก็ แตล่ ะคนไดค้ อ่ นข้างละเอยี ด ๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาได้ทั้งเป็นกลุม่ หรือรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถในการ แสดงความคิดเห็น และพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือ บนั ทกึ รายวัน ๓. การสัมภาษณ์ ด้วยวธิ พี ูดคยุ กับเด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดลอ้ มเหมาะสมเพื่อไม่ให้ เกดิ ความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คำถามท่ีเหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่างอิสระจะทำ ให้ผู้สอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตัวเด็กได้โดย บนั ทึกข้อมลู ลงในแบบสมั ภาษณ์ การเตรียมการกอ่ นการสมั ภาษณ์ ผูส้ อนควรปฏบิ ัติ ดังน้ี - กำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์ - กำหนดคำพดู /คำถามทีจ่ ะพูดกับเด็ก ควรเป็นคำถามทเี่ ดก็ สามารถตอบโต้หลากหลาย ไม่ผดิ /ถูก การปฏิบัตขิ ณะสัมภาษณ์ - ผู้สอนควรสร้างความคุน้ เคยเป็นกันเอง

๙๗ - ผู้สอนควรสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทอ่ี บอุ่นไม่เครง่ เครยี ด - ผ้สู อนควรเปิดโอกาสเวลาให้เดก็ มโี อกาสคิดและตอบคำถามอย่างอิสระ - ระยะเวลาสัมภาษณไ์ มค่ วรเกิน ๑๐-๒๐ นาที ๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บ รวบรวมไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซึ่งเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับตัวเด็กโดยใช้ เครื่องมือต่างๆรวบรวมเอาไว้อย่างมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน แสดงการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการแต่ละด้าน นอกจากน้ียังรวมเครื่องมอื อื่นๆ เช่น แบบสอบถามผปู้ กครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบนั ทึกสุขภาพอนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟม้ ผลงาน เพอ่ื ผูส้ อนจะได้ข้อมูลเกย่ี วกับตัวเดก็ อย่างชัดเจนและถกู ตอ้ ง การเก็บผลงานของเด็ก จะไมถ่ ือว่าเปน็ การประเมินผลถ้างานแตล่ ะชิน้ ถกู รวบรวมไวโ้ ดยไม่ไดร้ บั การประเมินจากผ้สู อนและไม่มีการนำผล มาปรับปรงุ พัฒนาเดก็ หรือปรับปรุงการสอนของผู้สอน ดังน้ันจึงเปน็ แตก่ ารสะสมผลงานเท่านน้ั เช่นแฟ้มผลงาน ขีดเขียน งานศิลปะ จะเป็นเพียงแค่แฟ้มผลงานที่ไม่มีการประเมิน แฟ้มผลงานนี้จะเป็นเครื่องมือการประเมิน ตอ่ เนื่องเมอ่ื งานทส่ี ะสมแตล่ ะช้นิ ถกู ใช้ในการบง่ บอกความก้าวหนา้ ความตอ้ งการของเดก็ และเป็นการเกบ็ สะสม อย่างต่อเนอ่ื งทีส่ รา้ งสรรคโ์ ดยผ้สู อนและเด็ก ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าสื่อสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่างต่อเน่อื ง และสมำ่ เสมอในแฟม้ ผลงานเปน็ ข้อมูลให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าท่ีลูกของตนมีเพิ่มขึน้ จาก ผลงานชิ้นแรกกับชิ้นต่อๆมาข้อมูลในแฟ้มผลงานประกอบด้วย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขียน การอ่าน และ ข้อมูลบางประการของเดก็ ท่ีผู้สอนเป็นผู้บันทกึ เช่นจำนวนเลม่ ของหนงั สือทเี่ ดก็ อ่าน ความถีข่ องการเลือกอ่านท่ี มุมหนังสือในช่วงเวลาเลือกเสรี การเปลีย่ นแปลงอารมณ์ ทศั นคติ เปน็ ตน้ ขอ้ มูลเหลา่ นี้จะสะท้อนภาพของความ งอก งามในเดก็ แต่ละคนได้ชดั เจนกวา่ การประเมินโดยการให้เกรด ผู้สอนจะต้องช้ีแจงใหผ้ ูป้ กครองทราบถงึ ที่มาของ การเลือกชิน้ งานแต่ละชน้ิ งานท่ีสะสมในแฟม้ ผลงาน เชน่ เป็นชน้ิ งานท่ดี ีที่สุดในชว่ งระยะเวลาท่ีเลือกช้ินงานน้ัน เป็นชิ้นงานที่แสดงความต่อเนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีส่วนร่วมในการคัดสรร ช้นิ งานที่บรรจลุ งในแฟม้ ผลงานของเด็ก ๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเด็กที่ใช้ทั่วๆไป ได้แก่ น้ำหนัก สว่ นสูง เส้นรอบศรี ษะ ฟนั และการเจรญิ เตบิ โตของกระดูก แนวทางประเมนิ การเจริญเติบโต มีดังน้ี ๕.๑ การประเมนิ การเจริญเติบโต โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเดก็ แล้วนำไปเปรียบเทยี บ กับเกณฑ์ปกติในกราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งใช้สำหรับติดตามการเจริญเติบโต โดยรวม วิธกี ารใช้กราฟมีข้นั ตอน ดงั นี้ เมอ่ื ช่งั น้ำหนกั เด็กแล้ว นำนำ้ หนักมาจดุ เคร่ืองหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการเจริญเติบโตของ เดก็ โดยดูเครื่องหมายกากบาทว่าอยู่ในแถบสีใด อา่ นข้อความบนแถบสีนั้น ซ่ึงแบ่งภาวะโภชนาการเป็น ๓ กลุ่ม คอื นำ้ หนักทีอ่ ยู่ในเกณฑ์ปกติ นำ้ หนักมากเกนเกณฑ์ นำ้ หนักน้อยกว่าเกณฑ์ ขอ้ ควรระวังสำหรบั ผู้ปกครองและ ผ้สู อนคอื ควรดแู ลนำ้ หนักเดก็ อย่างให้แบง่ เบนออกจากเส้นประเมนิ มิเช่นนั้นเด็กมีโอกาสน้ำหนักมากเกินเกณฑ์ หรอื นำ้ หนักนอ้ ยกวา่ เกณฑไ์ ด้ ข้อควรคำนงึ ในการประเมินการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ -เดก็ แตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกนั ในดา้ นการเจริญเตบิ โต บางคนรปู ร่างอว้ น บางคนช่วงครงึ่ หลัง ของขวบปีแรก นำ้ หนกั เดก็ จะขึน้ ช้า เนอ่ื งจากหว่ งเลน่ มากขน้ึ และความอยากอาหารลดลงร่างใหญ่ บางคนร่างเล็ก

๙๘ -ภาวะโภชนาการเปน็ ตวั สำคญั ท่เี กีย่ วข้องกบั ขนาดของรปู ร่าง แตไ่ ม่ใชส่ าเหตเุ ดยี ว -กรรมพนั ธุ์ เดก็ อาจมรี ูปรา่ งเหมือนพ่อแม่คนใดคนหนง่ึ ถา้ พอ่ หรือแม่เต้ยี ลูกอาจเต้ียและพวก นอ้ี าจมนี ้ำหนกั ต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยไดแ้ ละมักจะเปน็ เด็กท่ีทานอาหารไดน้ ้อย ๕.๒ การตรวจสขุ ภาพอนามัย เปน็ ตวั ช้ีวัดคุณภาพของเด็ก โดยพจิ ารณาความสะอาดสง่ิ ปกติขอ ร่างกายทีจ่ ะสง่ ผลต่อการดำเนินชีวิตและการเจริญเติบโตของเดก็ ซงึ่ จะประเมนิ สขุ ภาพอนามยั ๙ รายการคอื ผม และศีรษะ หูและใบหู มือและเลบ็ มอื เทา้ และเลบ็ เท้า ปาก ลิ้นและฟัน จมูก ตา ผวิ หนงั และใบหน้า และเสอ้ื ผา้ ๒.๓ เกณฑ์การประเมินพัฒนาการ การสร้างเกณฑ์หรอื พฒั นาเกณฑห์ รือกำหนดเกณฑ์การประเมินพฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย ผูส้ อนควรให้ ความสนใจในสว่ นที่เกยี่ วขอ้ ดังน้ี ๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น จะสังเกตเด็กคนใดบ้างในแต่ละวัน กำหนดพฤติกรรมที่สังเกตให้ชัดเจน จัดทำตารางกำหนดการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ผู้สอนต้อง เลอื กสรรพฤตกิ รรมท่ีตรงกับระดับพฒั นาการของเดก็ คนนน้ั จรงิ ๆ ๒. ในกรณที ่หี อ้ งเรียนมีนกั เรียนจำนวนมาก ผสู้ อนอาจเลือกสงั เกตเฉพาะเด็กท่ีทำได้ดีแล้วและเด็กที่ยัง ทำไมไ่ ด้ ส่วนเดก็ ปานกลางใหถ้ อื วา่ ทำไดไ้ ปตามกจิ กรรม ๓. ผู้สอนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คำพูด การปฏิบัติตามขั้นตอนในระหว่างทำงาน/กิจกรรม และ คณุ ภาพของผลงาน/ช้นิ งาน ร่องรอยทน่ี ำมาใชพ้ จิ ารณาตัดสินผลของการทำงานหรือการปฏิบัติ ตัวอย่างเชน่ ๑) เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรม/ทำงาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชำนาญจะใช้เวลามาก มีท่าทาง อดิ ออด ไม่กลา้ ไมเ่ ตม็ ใจทำงาน ๒) ความต่อเนือ่ ง ถ้าเด็กยังมีการหยุดชะงกั ลังเล ทำงานไม่ต่อเนือ่ ง แสดงว่าเดก็ ยังไม่ชำนาญ หรอื ยังไมพ่ รอ้ ม ๓) ความสัมพันธ์ ถ้าการทำงาน/ปฏิบตั ินัน้ ๆมีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ไม่ราบรื่น ท่าทางมือและ เท้าไมส่ ัมพันธก์ นั แสดงวา่ เด็กยังไมช่ ำนาญหรือยังไมพ่ รอ้ ม ท่าทแ่ี สดงออกจงึ ไมส่ ง่างาม ๔) ความภูมใิ จ ถ้าเดก็ ยังไมช่ ่นื ชม ก็จะทำงานเพยี งให้แล้วเสรจ็ อยา่ งรวดเรว็ ไม่มีความภูมิใจใน การทำงาน ผลงานจึงไมป่ ระณีต ๒.๓.๑ ระดบั คุณภาพผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ การให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กทัง้ ในระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษาควร กำหนดในทศิ ทางหรือรูปแบบเดยี วกัน สถานศึกษาสามารถให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กท่ี สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ หรือพฤติกรรมที่จะประเมิน เป็นระบบ ตัวเลข เช่น ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ หรือเป็นระบบที่ใช้คำสำคัญ เช่น พอใช้ ควรส่งเสริม ตามที่สถานศึกษา กำหนด ตวั อยา่ งเช่น ระบบตวั เลข ระบบทีใ่ ชค้ ำสำคญั ๓ ดี ๒ ๑ พอใช้ ควรสง่ เสรมิ

๙๙ สถานศกึ ษาอาจกำหนดระดับคุณภาพของการแสดงออกในพฤตกิ รรม เป็น ๓ ระดบั ดงั นี้ ระดบั คณุ ภาพ ระบบท่ีใช้คำสำคัญ ๑ หรอื ควรส่งเสริม เดก็ มีความลังเล ไม่แนใ่ จ ไม่ยอมปฏิบัตกิ ิจกรรม ทง้ั นี้ เน่ืองจากเด็กยังไม่พร้อม ยงั ม่ันใจ และกลัวไม่ปลอดภัย ผูส้ อนต้องย่วั ยหุ รอื แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่างหรือ ตอ้ งคอยอยูใ่ กลๆ้ คอ่ ยๆใหเ้ ดก็ ทำทลี ะขนั้ ตอน พรอ้ มตอ้ งให้กำลังใจ ๒ หรอื พอใช้ เด็กแสดงได้เอง แต่ยังไม่คล่อง เด็กกล้าทำมากขึ้นผู้สอนกระตุ้นน้อยลง ผู้สอน ต้องคอยแก้ไขในบางครงั้ หรอื คอยใหก้ ำลังใจให้เดก็ ฝึกปฏบิ ัติมากขน้ึ ๓ หรอื ดี เด็กแสดงไดอ้ ย่างชำนาญ คล่องแคล่ว และภูมิใจ เด็กจะแสดงได้เองโดยไม่ตอ้ ง กระต้นุ มคี วามสัมพนั ธท์ ี่ดี ตวั อยา่ งคำอธิบายคุณภาพ พฒั นาการดา้ นร่างกาย : สขุ ภาพอนามัย พฒั นาการด้านร่างกาย : กระโดดเท้าเดยี ว ระดบั คณุ ภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ คำอธิบายคุณภาพ ๑ หรือ ควรสง่ เสริม สง่ เสรมิ ความสะอาด ๑ หรือ ควรส่งเสริม ทำไดแ้ ต่ไม่ถูกต้อง ๒ หรอื พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรอื พอใช้ ทำได้ถูกต้อง แต่ไม่คล่องแคล่ว ๓ หรือ ดี สะอาด ๓ หรอื ดี ทำได้ถูกต้อง และคล่องแคล่ว พัฒนาการดา้ นอารมณ์ : ประหยดั ระดับคณุ ภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ ๑ หรือ ควรส่งเสริม ใช้สง่ิ ของเครื่องใชเ้ กนิ ความจำเปน็ ๒ หรอื พอใช้ ใชส้ งิ่ ของเครื่องใชอ้ ย่างประหยัดเปน็ บางครงั้ ๓ หรอื ดี ใชส้ ่ิงของเคร่อื งใช้อย่างประหยัดตามความจำเปน็ ทุกคร้ัง ดา้ นสังคม : ปฏิบตั ิตามข้อตกลง ระดับคณุ ภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ ๑ หรอื ควรสง่ เสรมิ ไมป่ ฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ๒ หรอื พอใช้ ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง โดยมีผูช้ น้ี ำหรอื กระตุ้น ๓ หรือ ดี ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงได้ดว้ ยตนเอง พฒั นาการด้านสติปญั ญา : เขยี นชื่อตนเองตามแบบ ระดับคณุ ภาพ คำอธบิ ายคุณภาพ ๑ หรือ ควรส่งเสริม เขียนชื่อตนเองไม่ได้ หรือเขียนเปน็ สญั ลักษณท์ ี่ไมเ่ ป็นตวั อกั ษร ๒ หรอื พอใช้ เขยี นชือ่ ตนเองได้ มีอกั ษรบางตัวกลับหวั กลับด้านหรือสลับท่ี ๓ หรือ ดี เขียนช่ือเองได้ ตัวอกั ษรไมก่ ลับหวั ไม่กลับดา้ นไม่สลบั ที่

๑๐๐ ๒.๓.๒ การสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส ปีการศกึ ษา๒๕๖๓ (ตามหลกั สตู รปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) กำหนดเวลาเรียนสำหรบั เดก็ ปฐมวัยต่อปีการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘๐ วนั สถานศึกษาบริหารจดั การเวลาที่ได้รับนี้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านและสมดุล ผู้สอนมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็ม ศกั ยภาพของแด็ก เพอื่ ให้การจัดประสบการณก์ ารเรียนร้มู ีประสิทธิภาพ ผสู้ อนต้องตรวจสอบพฤติกรรมที่แสดง พัฒนาการของเด็กต่อเนอ่ื งมีการประเมินซำ้ พฤติกรรมน้นั ๆอยา่ งน้อย ๑ ครงั้ ต่อภาคเรยี น เพ่ือยนื ยนั ความเชื่อมั่น ของผลการประเมินพฤตกิ รรมน้ันๆ และนำผลไปเป็นข้อมูลในการสรุปการประเมนิ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ของเด็กใน แตล่ ะสภาพท่พี งึ ประสงค์ นำไปสรุปการประเมินตัวบง่ ชแ้ี ละมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคต์ ามลำดับ อนึ่ง การสรุประดับคุณภาพของการประเมนิ พฒั นาการเด็ก วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมและสะดวกไม่ ยุง่ ยากสำหรบั ผูส้ อน คือการใชฐ้ านนิยม (Mode) ในบางคร้ังพฤติกรรม หรอื สภาพทพ่ี ึงประสงค์หรือตัวบ่งช้ีนิยม มากว่า ๑ ฐานนิยม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา กล่าวคือ เมื่อมีระดับคุณภาพซ้ำมากกว่า ๑ ระดับ สถานศึกษาอาจตดั สนิ สรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการบนพ้ืนฐาน หลกั พัฒนาการและการเตรยี มความพรอ้ ม หาก เป็นภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมที่มีระดับคุณภาพต่ำกว่าเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ พฒั นาเด็กใหพ้ ร้อมมากข้นึ หากเป็นภาคเรยี นท่ี ๒ สถานศกึ ษาควรเลอื กตัดสนิ ใจใชฐ้ านนยิ มทม่ี รี ะดบั คุณภาพสูง กวา่ เพ่อื ตดั สนิ และการส่งต่อเดก็ ในระดบั ช้นั ที่สงู ขึ้น ๒.๓.๓ การเล่อื นชนั้ อนบุ าลและเกณฑ์การจบการศกึ ษาระดับปฐมวัย เมื่อสิ้นปีการศึกษา เด็กจะได้รับการเลื่อนชั้นโดยเด็กต้องได้รับการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอดการพัฒนาให้กับเด็กใน ระดับสูงขึ้นต่อไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่นับเป็นการศึกษา ภาคบงั คับ จงึ ไมม่ กี ารกำหนดเกณฑก์ ารจบช้ันอนุบาล การเทยี บโนการเรียน และเกณฑ์การเรียนซ้ำ ชั้น และหากเด็กมีแนวโน้มว่าจะมีปัญหาต่อการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการเพ่ือ พิจารณาปัญหา และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เช่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข สง่ เสรมิ ตำบล นักจติ วิทยา ฯลฯ เขา้ รว่ มดำเนนิ งานแกป้ ัญหาได้ อยา่ งไรก็ตาม ทักษะทนี่ ำไปส่คู วามพร้อมในการเรยี นรู้ที่สามารถใช้เป็นรอยเช่อื มต่อระหว่างช้ันอนุบาล กับช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ท่คี วรพจิ ารณามที กั ษะดงั นี้ ๑. ทักษะการชว่ ยเหลือตนเอง ไดแ้ ก่ ใช้ห้องนำ้ หอ้ งส้วมไดด้ ้วยตนเอง แต่งกายไดเ้ อง เก็บของเข้าท่ีเมื่อ เลน่ เสรจ็ และช่วยทำความสะอาด รจู้ ักรอ้ งขอใหช้ ่วยเมื่อจำเป็น ๒. ทกั ษะการใชก้ ล้ามเนอื้ ใหญ่ ไดแ้ ก่ วงิ่ ได้อย่างราบร่นื วง่ิ ก้าวกระโดดได้ กระดว้ ยสองขาพ้นจากพื้น ถอื จับ ขวา้ ง กระดอนลูกบอลได้ ๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก ได้แก่ ใช้มือหยิบจับอุปกรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมีแขน ขา และสว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย ตดั ตามรอยเส้นและรูปตา่ งๆ เขยี นตามแบบอย่างได้ ๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือ ได้แก่ พูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฟังและปฏิบัติตามคำชี้แจงงง่ายๆ ฟังเรื่องราว และคำคล้องจองต่างๆอย่างสนใจ เขา้ รว่ มฟังสนทนาอภิปรายในเร่ืองต่างๆ รู้จกั ผลดั กันพูดโต้ตอบ เล่าเรื่องและ ทบทวนเร่อื งราวหรอื ประสบการณ์ต่างๆ ตามลำดบั เหตกุ ารณ์เล่าเรอ่ื งจากหนังสอื ภาพอย่างเป็นเหตุเป็นผล อ่าน หรอื จดจำคำบางคำที่มีความหมายตอ่ ตนเอง เขยี นชอ่ื ตนเองได้ เขยี นคำทม่ี ีความหมายตอ่ ตนเอง ๕. ทกั ษะการคิด ได้แก่ แลกเปลย่ี นความคิดและใหเ้ หตุผลได้ จดจำภาพและวัสดทุ ีเ่ หมอื นและต่างกันได้ ใช้คำใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรู้สกึ ถามและตอบคำถามเก่ียวกับเร่ืองทฟี่ งั เปรียบเทียบจำนวนของวัตถุ ๒ กลุ่ม โดยใชค้ ำ “มากกวา่ ” “นอ้ ยกวา่ ” “เทา่ กัน” อธบิ ายเหตุการณ/์ เวลา ตามลำดบั อยา่ งถกู ต้อง รู้จกั เชื่อมโยง เวลากบั กจิ วตั รประจำวัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook