Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนที่ ๓ ทิศทางการบริหารจัดการศึกษา

ส่วนที่ ๓ ทิศทางการบริหารจัดการศึกษา

Published by Rawat Yukerd, 2021-08-04 08:52:26

Description: ส่วนที่ ๓ ทิศทางการบริหารจัดการศึกษา

Search

Read the Text Version

๑๘ ส่วนท่ี ๓ ทิศทางการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ๑. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาในหลวงรชั กาลที่ ๑๐ การศึกษาต้องมงุ่ สรา้ งพ้นื ฐานใหแ้ ก่ผู้เรยี น ๔ ด้าน ดังน้ี ๑. มที ัศนคติท่ถี กู ต้องตอ่ บา้ นเมอื ง ๑) ความรู้ความเข้าใจต่อชาติบา้ นเมือง ๒) ยึดมนั่ ในศาสนา ๓) มน่ั คงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๔) มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน ๒. มพี ้ืนฐานชีวิตท่ีมนั่ คง - มี ๑) รูจ้ ักแยกแยะสงิ่ ท่ีผดิ - ชอบ / ชว่ั - ดี ๒) ปฏิบตั ิแต่สงิ่ ทช่ี อบ สง่ิ ทดี่ ีงาม ๓) ปฏิเสธสิ่งทผี่ ิด สิ่งที่ชั่ว ๔) ช่วยกนั สรา้ งคนดีให้แกบ่ ้านเมอื ง ๓. มีงานทำ - มีอาชีพ ๑) การเล้ียงดลู ูกหลานในครอบครวั หรอื การฝึกฝนอบรมในสถานศกึ ษาตอ้ งมุ่งให้ เดก็ และเยาวชนรกั งาน ส้งู าน ทำจนงานสำเร็จ ๒) การฝึกฝนอบรมทัง้ ในหลักสูตรและนอกหลกั สูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผเู้ รยี น ทำงานเป็น และมงี านทำในท่ีสดุ ๓) ตอ้ งสนับสนนุ ผสู้ ำเร็จหลักสตู รมีอาชพี มีงานทำ จนสามารถเลยี้ งตวั เองและ ครอบครวั ๔. เปน็ พลเมอื งดี ๑) การเปน็ พลเมืองดี เปน็ หน้าท่ีของทกุ คน ๒) ครอบครัว - สถานศึกษา และสถานประกอบการต้องส่งเสริมใหท้ กุ คนมโี อกาส ทำหน้าที่เป็นพลเมอื งดี ๓) การเปน็ พลเมืองดี คือ \"เห็นอะไรทจี่ ะทำเพอ่ื บ้านเมืองได้กต็ ้องทำ\" เชน่ งานอาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทำดว้ ยความมีน้ำใจ และความเอ้ืออาทร ๒. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๔๐ ก ๖ เมษายน ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ ก่อนวัยเรียนจน จบการศกึ ษาภาคบังคบั อย่างมีคณุ ภาพโดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่งเพื่อพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ และภาคเอกชนเขา้ มีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม ให้มี การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ และจดั ให้มีการรว่ มมือกันระหว่างรฐั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และภาคเอกชนในการ

๑๙ จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมี คุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อย ต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการให้เป็นไปตาม แผนการศึกษาแหง่ ชาติด้วย การศกึ ษาทั้งปวงต้องม่งุ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มวี ินัย ภูมใิ จในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความ ถนดั ของตน และมคี วามรับผิดชอบต่อครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการใหเ้ ดก็ เลก็ ได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามวรรคสามรัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความ ถนดั ของตน ใหจ้ ดั ต้งั กองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหล่ือมล้ำในการศึกษาและ เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้ มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี ด้วย ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็น อิสระและกำหนดใหม้ กี ารใชจ้ ่ายเงนิ กองทุนเพื่อบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดังกล่าว ๓. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ฉบบั ย่อ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ กำหนดให้รัฐ พึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็น เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆให้ สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยให้เป็นไปตามท่ี กำ ห น ด ใน กฎ ห มาย ว่ าด ้ วยการ จั ดท ำ ย ุทธศาสต ร์ ชาติ แล ะต ่อมาได ้มี การต ราพร ะราชบ ัญญั ติ การจ ัดท ำ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยกำหนดใหม้ ีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ เพื่อรับผิดชอบในการ จัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ กำหนดวิธีการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ในการ ติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผล รวมทั้ง กำหนดมาตรการส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชนทุก ภาคส่วนดำเนินการใหส้ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ เพื่อให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ.๒๕๖๐ คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านต่าง ๆ รวม ๖ คณะเพื่อรับผิดชอบในการ ดำเนินการจดั ทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่ีกำหนด ตลอดจนได้จัดให้ มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง เพื่อประกอบการ จัดทำร่างยทุ ธศาสตร์ชาติตามที่กฎหมายกำหนด ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาติ ฉบับแรกของประเทศไทยตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศ ไทยมคี วามมนั่ คง ม่ังค่งั ย่งั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทกุ คน วิสัยทศั น์ เป้าหมาย และตวั ชว้ี ัด วิสัยทศั นป์ ระเทศคอื “ประเทศไทยมีความมน่ั คง ม่ังคงั่ ย่งั ยนื เปน็ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ ดว้ ยการ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดย ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และ มี

๒๐ คุณภาพสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตาม ยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบดว้ ย ๑) ความอยดู่ ีมสี ขุ ของคนไทยและสงั คมไทย ๒) ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพฒั นาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ ๓) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ ๔) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสังคม ๕) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม และความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ ๖) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถงึ การให้บรกิ ารของภาครฐั การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม และ ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการปรับสมดุลและ พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ๑. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมี ความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่นั คง ปลอดภยั เอกราช อธิปไตย และ มีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภยั คุกคามและภัยพบิ ัติได้ทุกรูปแบบ และทุก ระดับความรุนแรงควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่อาจจะ เกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และ องคก์ รทไี่ ม่ใชร่ ฐั รวมถงึ ประเทศเพอื่ นบา้ นและมติ รประเทศทวั่ โลกบนพ้นื ฐานของหลักธรรมาภบิ าล ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑) ความสุขของประชากรไทย (๒) ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ (๓) ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความมั่นคง (๔) บทบาทและการยอมรับในด้านความมั่นคงของไทย ในประชาคมระหว่างประเทศ และ (๕) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม โดยประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านความมั่นคง ประกอบด้วย ๕ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑. การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้างเสริมความสงบเรียบร้อยและสันติสุขให้เกิดขึ้นกับ ประเทศชาติบ้านเมือง โดย(๑)การพัฒนาและเสริมสร้างคนในทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็งมีความพร้อม ตระหนกั ในเรื่องความมน่ั คงและมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา(๒) การพัฒนาและเสริมสรา้ งความจงรักภักดีต่อ สถาบันหลักของชาติ (๓)การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เปน็ ประมขุ ที่มเี สถียรภาพและมธี รรมาภิบาล เหน็ แก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และ (๔)การพัฒนาและเสริมสร้างกลไก ทีส่ ามารถป้องกนั และขจัดสาเหตุของประเดน็ ปัญหาความมน่ั คงทีส่ ำคัญ ๒. การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคง เพือ่ แก้ไขปัญหาเดิม และป้องกันไม่ให้ ปญั หาใหม่เกิดขนึ้ โดย (๑) การแก้ไขปัญหาความมน่ั คงในปจั จุบัน (๒)การตดิ ตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาที่อาจอุบัติขึ้นใหม่ (๓)การสร้างความปลอดภัยและความสันติสุขอย่างถาวรในพื้นที่จังหวัดชายแดน

๒๑ ภาคใต้ และ(๔)การรักษาความมั่นคงและผลประโยชนท์ างทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทั้งทางบกและ ทางทะเล ๓. การพฒั นาศักยภาพของประเทศใหพ้ ร้อมเผชิญภยั คกุ คามทก่ี ระทบต่อความมัน่ คงของชาติ เพื่อยกระดับขีดความสามารถของกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคง โดย (๑)การพัฒนาระบบงานข่าว กรองแห่งชาติแบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ (๒)การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแห่งชาติ กองทัพและ หน่วยงานความม่ันคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ให้พร้อมป้องกันและรักษาอธปิ ไตยของประเทศ และ เผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ และ (๓)การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการ บรหิ ารจดั การภัยคกุ คามให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ๔. การบูรณาการความร่วมมือดา้ นความม่ันคงกับอาเซยี นและนานาชาติ รวมถึงองคก์ รภาครฐั และ ที่มิใช่ภาครัฐ เพื่อสร้างเสริมความสงบสุข สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้า ให้กับประเทศชาติ ภูมิภาคและโลก อย่างยั่งยืน โดย (๑)การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ(๒) การเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และ (๓)การร่วมมือทางการพัฒนากับ ประเทศเพอ่ื นบ้าน ภูมิภาคโลก รวมถงึ องค์กรภาครัฐและทม่ี ใิ ช่ภาครัฐ ๕.การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม เพื่อให้กลไกสำคัญต่าง ๆ ทำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้หลักธรรมาภิบาลและการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด โดย (๑) การพัฒนา กลไกใหพ้ ร้อมสำหรับการติดตาม เฝา้ ระวัง แจ้งเตือน ปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหาความม่ันคงแบบองค์รวม อย่าง เป็นรูปธรรม(๒) การบริหารจัดการความมั่นคงให้เอื้ออ านวยต่อการพัฒนาประเทศในมิติอื่น ๆ และ (๓) การพฒั นากลไกและองคก์ รขบั เคล่อื นยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ นความมั่นคง ๒. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่มี ุ่งเนน้ การยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐาน แนวคิด ๓ ประการ ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมอง กลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิตและจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ี หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับ เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพ่ือใหส้ อดรบั กบั บริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมยั ใหม่ (๒)“ปรับปัจจุบัน”เพื่อ ปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและ ขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ(๓) “สร้างคุณค่าใหม่ ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของ ผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับ รูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคตบนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการ ส่งเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาส ทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกนิ ดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของ คนช้ันกลางและลดความเหล่ือมล้ำของคนในประเทศได้ในคราวเดยี วกัน ตัวชี้วัด ประกอบด้วย(๑)รายได้ประชาชาติการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และ การกระจายรายได้ (๒) ผลติ ภาพการผลิตของประเทศ ทั้งในปัจจัยการผลิตและแรงงาน (๓)การลงทุนเพื่อการ วิจัยและพัฒนา และ(๔)ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง ความสามารถในการแขง่ ขัน ประกอบดว้ ย ๕ ประเดน็ ไดแ้ ก่

๒๒ ๑. การเกษตรสร้างมูลค่า ให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิต ทั้งเชิงปริมาณและมูลค่าและ ความหลากหลายของสินค้าเกษตร ประกอบด้วย (๑)เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น (๒)เกษตรปลอดภัย (๓) เกษตร ชวี ภาพ (๔) เกษตรแปรรปู และ (๕) เกษตรอจั ฉริยะ ๒. อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต โดยสร้างอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตที่ขับเคลื่อน ประเทศไทยไปสูป่ ระเทศที่พัฒนาแล้วดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยีแหง่ อนาคต ประกอบดว้ ย (๑)อุตสาหกรรม ชีวภาพ (๒)อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร (๓)อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูลและ ปัญญาประดิษฐ์ (๔) อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์ และ (๕) อุตสาหกรรมความมั่นคงของ ประเทศ ๓. สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว โดยการรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางที่สำคัญของ การท่องเที่ยวระดับโลกที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวทุกระดับและเพิ่มสัดส่วนของนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพสูง ประกอบด้วย (๑) ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม (๒) ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ (๓)ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทยแ์ ผนไทย (๔) ทอ่ งเทย่ี วสำราญทางนำ้ และ (๕) ท่องเท่ียวเชอ่ื มโยงภมู ิภาค ๔. โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ครอบคลุมถึงโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้าน โครงข่ายคมนาคม พน้ื ทแ่ี ละเมอื ง รวมถงึ เทคโนโลยี ตลอดจนโครงสรา้ งพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ โดย (๑) เชื่อมโยง โครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ (๒) สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (๓) เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ (๔) พฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานเทคโนโลยสี มยั ใหมแ่ ละ(๕)รักษาและเสรมิ สรา้ งเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ มหภาค ๕. พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ที่มี ทักษะและจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการที่มีความสามารถในการแข่งขันและมีอัตลักษณ์ชัดเจน โดย (๑) สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ (๒) สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน (๓) สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด (๔) สรา้ งโอกาสเขา้ ถึงขอ้ มลู และ (๕) ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถงึ บริการภาครัฐ ๓. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี สำคัญเพอื่ พฒั นาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยใหเ้ ปน็ คนดี เกง่ และมคี ุณภาพ โดยคนไทยมคี วามพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะทีด่ ีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและ ผู้อื่นมัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิด ที่ถูกต้อง มี ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสยั รักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอืน่ ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย (๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ (๓) การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทยโดย ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วย ๗ ประเด็น ไดแ้ ก่ ๑. การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมและ วัฒนธรรมที่พึงประสงค์ โดย (๑) การปลูกฝังคา่ นิยมและวัฒนธรรมผ่านการเลี้ยงดูในครอบครวั (๒) การบูรณา การเรื่องความซ่ือสัตย์ วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา(๓) การสร้างความ เขม้ แขง็ ในสถาบันทางศาสนา (๔) การปลกู ฝงั คา่ นยิ มและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน (๕) การสรา้ งคา่ นิยม และวัฒนธรรมที่พึงประสงค์จากภาคธุรกิจ (๖) การใช้สื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและ วฒั นธรรมของคนในสังคม และ(๗) การสง่ เสริม ให้คนไทยมจี ติ สาธารณะและมีความรบั ผิดชอบตอ่ ส่วนรวม

๒๓ ๒. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย ประกอบด้วย (๑) ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย เน้นการเตรียมความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ (๒) ช่วง วัยเรียน/วัยรุ่น ปลูกฝังความเป็นคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สอดรับกับศตวรรษที่ ๒๑ (๓) ช่วงวัย แรงงาน ยกระดับ ศกั ยภาพ ทกั ษะและสมรรถนะแรงงานสอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด และ (๔) ช่วงวยั ผู้สูงอายุ ส่งเสริม ให้ผ้สู งู อายเุ ป็นพลังในการขบั เคล่อื นประเทศ ๓. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ มุ่งเน้นผู้เรยี นให้มี ทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา โดย (๑) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนา ทักษะสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ (๒) การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ (๓) การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท (๔) การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต (๕) การสร้าง ความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาค เอเชยี อาคเนยแ์ ละประชาคมโลก (๖) การวางพืน้ ฐานระบบรองรบั การเรียนรโู้ ดยใชด้ จิ ิทัลแพลตฟอร์ม และ (๗) การสรา้ งระบบการศกึ ษาเพ่ือเปน็ เลิศทางวิชาการระดับนานาชาต ๔. การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย โดย (๑) การพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญา ผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อตั้งแต่ระดับปฐมวัย (๒) การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการท างาน และระบบสนับสนุน ที่เหมาะสมสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ ผ่านกลไกต่าง ๆ และ(๓) การดึงดูดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญต่างชาติและคนไทยที่มีความสามารถในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนา เทคโนโลยีและนวตั กรรมใหก้ บั ประเทศ ๕. การเสริมสร้างให้คนไทยมสี ุขภาวะท่ีดี ครอบคลุมท้ังดา้ นกาย ใจ สติปญั ญา และสงั คมโดย (๑) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (๒) การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ(๓) การสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมสี ุขภาวะที่ดี (๔) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้างสขุ ภาวะที่ดแี ละ (๕) การส่งเสริมให้ชมุ ชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดใี นทุกพื้นท่ี ๖. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (๑) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (๒) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (๓) การปลูกฝังและพัฒนา ทกั ษะนอกห้องเรียน และ (๔) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพอื่ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ ๗. การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดย (๑) การส่งเสริมการออกกำลังกาย และกฬี าข้นั พื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชวี ิต (๒) การสง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ (๓) การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ และ (๔) การพัฒนาบุคลากรด้านการกฬี าและนันทนาการเพ่อื รองรบั การเติบโตของอตุ สาหกรรมกีฬา ๔. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มเี ป้าหมายการพฒั นา ทส่ี ำคญั ท่ีให้ ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความ รับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการ จัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และ สภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ สังคมใหน้ านทส่ี ดุ โดยรฐั ให้หลกั ประกนั การเขา้ ถงึ บริการและสวสั ดกิ ารท่มี ีคณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและท่วั ถึง

๒๔ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑) ความแตกต่างของรายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐระหว่างกลุ่ม ประชากร (๒) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน (๓) ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็นศูนย์กลาง ความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี และ (๔) คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ โดยประเด็น ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบด้วย ๔ ประเดน็ ได้แก่ ๑. การลดความเหลือ่ มล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทกุ มิติ โดย (๑) ปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจฐานราก (๒) ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (๓) กระจายการถือครองท่ีดินและการเขา้ ถงึ ทรัพยากร(๔) เพิ่ม ผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัย ในการทำงาน(๕)สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัยทุกเพศภาวะและทุก กลมุ่ (๖) ลงทนุ ทางสงั คมแบบมุ่งเป้าเพ่ือช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาสโดยตรง (๗) สร้างความ เปน็ ธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษาโดยเฉพาะสา่ หรับผูม้ รี ายได้น้อยและกลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส และ (๘) สร้างความเป็นธรรมในการเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมอย่างท่ัวถงึ ๒. การกระจายศูนยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี โดย (๑) พฒั นาศูนย์กลาง ความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยีในภมู ิภาค (๒) กำหนดแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของแต่ละ กลุ่มจังหวัดในมิติต่าง ๆ (๓) จัดระบบเมืองที่เอื้อต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัยให้ สามารถตอบสนองต่อสังคมสงู วยั และแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองในอนาคต(๔) ปรับโครงสรา้ งและแก้ไข กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เพ่อื วางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลมุ่ จังหวัด (๕) สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และ (๖) การพัฒนากำลังแรงงานใน พน้ื ที่ ๓. การเสริมสร้างพลงั ทางสงั คม โดย (๑) สร้างสงั คมเข้มแข็งท่ีแบ่งปัน ไม่ทอดท้ิงกนั และมีคุณธรรม โดยสนับสนุนการรวมตัวและดึงพลังของภาคส่วนต่าง ๆ (๒) การรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ(๓) สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน (๔) ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม (๕) สนับสนุนการพัฒนาบนฐาน ทุนทางสงั คมและวฒั นธรรม และ (๖) สนับสนนุ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสรา้ งสรรค์ เพือ่ รองรับ สังคมยคุ ดิจิทัล ๔. การเพ่มิ ขดี ความสามารถของชุมชนท้องถน่ิ ในการพัฒนา การพึง่ ตนเองและการจัดการตนเอง โดย (๑) ส่งเสรมิ การปรบั พฤติกรรมในระดับครวั เรือน ให้มขี ีดความสามารถในการจดั การวางแผนชวี ติ สขุ ภาพ ครอบครวั การเงินและอาชพี (๒) เสรมิ สร้างศักยภาพของชุมชนในการพ่ึงตนเองและการพ่ึงพากันเอง(๓) สร้าง การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน และ (๔)สร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้กับ ชมุ ชน ๕. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการ พัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศ อย่าง บูรณาการ ใช้พื้นทีเ่ ป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้องได้เข้ามา มีส่วน รว่ มในแบบทางตรงให้มากท่สี ดุ เท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยเปน็ การดำเนนิ การบนพน้ื ฐานการเติบโตร่วมกนั ไม่ว่าจะ เปน็ ทางเศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ มและคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดลุ ท้ัง ๓ ดา้ นอันจะน าไปสู่ ความยงั่ ยืนเพ่อื คนรนุ่ ต่อไปอยา่ งแท้จรงิ

๒๕ ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑)พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (๒)สภาพแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู (๓)การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ (๔) ปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก มูลค่าเศรษฐกิจฐานชวี ภาพ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวติ ที่เป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย ๖ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดย (๑) เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐาน ชีวภาพให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน (๒) อนุรักษ์และฟื้นฟูความ หลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกำเนิด (๓) อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติท่ัว ประเทศ (๔) รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ (๕) ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ ยง่ั ยืน ๒. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล โดย(๑) เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐาน ชีวภาพทางทะเล (๒) ปรบั ปรุง ฟน้ื ฟู และสร้างใหมท่ รัพยากร ทางทะเลและชายฝ่งั ทง้ั ระบบ (๓) ฟน้ื ฟูชายหาด ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ชายฝั่งทะเลได้รับการป้องกันและแก้ไขทั้งระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบ บูรณาการอย่างเปน็ องคร์ วม และ (๔) พฒั นาและเพิ่มสดั สว่ นกิจกรรมทางทะเลที่เปน็ มติ รต่อส่งิ แวดล้อม ๓. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ โดย (๑) ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (๒) มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสยี และเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (๓)มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรตอ่ สภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของภาครฐั และภาคเอกชน และ (๔) พัฒนาและสร้างระบบรับมอื ปรบั ตัวต่อโรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอุบตั ิ ซำ้ ที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ ๔. พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมอื งที่เติบโต อย่างต่อเนื่อง โดย (๑) จัดทำแผนผังภมู ินเิ วศเพื่อการพัฒนา เมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตามศักยภาพ และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป็นเอกภาพ(๒) พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบทเกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผัง ภูมินิเวศอย่างยั่งยืน (๓) จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตร ทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และค่ามาตรฐานสากล (๔) สงวนรักษา อนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาปัตยกรรม และศลิ ปวฒั นธรรม อัตลักษณ์ และวถิ ชี ีวิตพนื้ ถน่ิ บนฐานธรรมชาติ และฐานวฒั นธรรมอยา่ งยั่งยืน (๕) พัฒนา เครือข่ายองค์กรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุ่มอาสาสมัคร ด้วยกลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน ท้องถิ่น และ (๖) เสริมสร้างระบบสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม และยกระดับความสามารถในการ ป้องกนั โรคอบุ ัตใิ หม่และอุบตั ซิ ้ำ ๕. พัฒนาความมั่นคงน้ำพลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดย (๑) พัฒนาการจัดการ น้ำเชิงลุ่มน้ทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ (๒) เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใช้น้ำ อย่างประหยัด รู้คุณค่า และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้ำให้ทัดเทียมกับระดับสากล (๓) พัฒนาความมั่นคง พลังงานของประเทศ และส่งเสริมการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (๔) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานโดยลดความเข้มข้นของการใช้พลังงาน และ (๕) พัฒนาความมั่นคงด้านการเกษตร และอาหารของ ประเทศและชมุ ชนในมิตปิ ริมาณ คณุ ภาพ ราคาและการเขา้ ถงึ อาหาร ๖. ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ โดย (๑) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ี พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีของ คนไทย (๒) พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดล้อม (๓) จัดโครงสร้างเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นร่วม ด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ และ (๔) พัฒนาและดำเนินโครงการ ท่ียกระดับกระบวน

๒๖ ทัศน์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม บนหลักของการมี สว่ นรว่ ม และธรรมาภบิ าล ๖.ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ มีเปา้ หมายการพฒั นาท่ี สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดย ภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ท่าหน้าที่ในการกำกับ หรือในการให้บริการ ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการท างานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ ส่วนรวม มีความทันสมัยและพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่าง คุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทกุ ภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังคา่ นิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการ ปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่ จำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากลมีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการ พฒั นา โดยกระบวนการยตุ ิธรรม มกี ารบรหิ ารท่ีมีประสิทธิภาพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลือกปฏิบัติ และการอำนวยความ ยุตธิ รรมตามหลกั นิติธรรม ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑)ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะ ของภาครัฐ (๒) ประสิทธิภาพของการบริการภาครัฐ (๓) ระดับความโปร่งใส การทุจริต ประพฤติมิชอบและ (๔) ความ เสมอภาคในกระบวนการยุตธิ รรม โดยประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหาร จดั การภาครัฐ ประกอบดว้ ย ๘ ประเด็น ไดแ้ ก่ ๑. ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส โดย (๑) การให้บริการสาธารณะของภาครัฐ ได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับ แนวหน้าของ ภูมิภาคและ (๒) ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมา ประยุกต์ใช้ ๒. ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยงการพัฒนา ในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นท่ี โดย (๑) ให้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคลือ่ นการพัฒนา ประเทศ (๒) ระบบการเงินการคลังประเทศสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ และ (๓) ระบบติดตาม ประเมินผลท่ีสะทอ้ นการบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติในทุกระดับ ๓. ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การพัฒนาประเทศ โดย (๑)ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม (๒)ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และ (๓)สง่ เสริมการกระจายอำนาจและสนับสนุนบทบาทชมุ ชนท้องถน่ิ ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นเปน็ หน่วยงาน ท่มี ีสมรรถนะสูง ต้งั อยูบ่ นหลกั ธรรมาภิบาล ๔. ภาครัฐมีความทันสมัย โดย (๑) องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับ บริบท การพัฒนา ประเทศ และ (๒) พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการปฏิบัติราชการให้ทนั สมัย ๕. บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกมีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ โดย (๑) ภาครัฐมีการบริหารกำลังคนที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม และ(๒) บคุ ลากรภาครัฐยึดคา่ นยิ มในการทำงานเพอื่ ประชาชน มีคุณธรรม และมีการพฒั นาตามเสน้ ทางความก้าวหน้า ในอาชีพ

๒๗ ๖. ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดย (๑) ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและประพฤติ มิชอบ (๒) บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซ่ือสัตย์สุจริต (๓) การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพ มคี วามเด็ดขาด เป็นธรรม และตรวจสอบได้ และ (๔) การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตอย่างเป็นระบบ แบบบรู ณาการ ๗. กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าทีจ่ ำเป็นโดย (๑) ภาครัฐจัดให้มี กฎหมายที่สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลง (๒) มีกฎหมายเท่าที่จำเป็น และ(๓) การบังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เท่าเทยี ม มกี ารเสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพการใช้กฎหมาย ๘. กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค โดย(๑) บุคลากรและหนว่ ยงานในกระบวนการยุตธิ รรมเคารพและยึดมัน่ ในหลักประชาธปิ ไตย เคารพศกั ดศ์ิ รคี วามเป็น มนษุ ย์ทพ่ี งึ ไดร้ ับการปฏิบัติอยา่ งเท่าเทียม (๒) ทกุ หนว่ ยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชงิ รุกร่วมกันใน ทุกขั้นตอนของการค้นหาความจริง (๓)หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมทั้งทางแพ่ง อาญา และปกครองมี เปา้ หมายและยทุ ธศาสตร์ร่วมกัน (๔) ส่งเสริมระบบยตุ ิธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชมุ ชน และการมสี ว่ นร่วม ของประชาชนในกระบวนการยตุ ธิ รรม และ (๕) พฒั นามาตรการอ่นื แทนโทษทางอาญา ทม่ี า:สำนกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ๔. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ ๕ ปี ซึ่งเป็น การแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี สู่การปฏิบตั อิ ยา่ งเป็นรูปธรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมและวางรากฐาน ในการยกระดับประเทศไทยใหเ้ ป็นประเทศที่พัฒนาแลว้ มีความมั่นคง มง่ั ค่งั ย่ังยนื ดว้ ยการพัฒนาตามปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) มีหลกั การทส่ี ำคญั คอื ๑) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ อย่าง สมเหตสุ มผล มคี วามพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซ่ึงเป็นเง่ือนไขที่ จำเป็นสำหรับการพฒั นาที่ยง่ั ยืนซ่งึ มงุ่ เน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ สงั คมไทย เปน็ สงั คมคณุ ภาพ มที ่ยี ืนและเปิดโอกาสให้กบั ทกุ คนในสังคมไดด้ ำเนินชีวติ ท่ดี มี ีความสุข และอย่รู ่วมกัน อย่างสมานฉันท์ ๒) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะที่ดี สำหรับคนไทยพัฒนา คนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีรับผิดชอบตอ่ สังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกชว่ งวัยและเตรยี มความพร้อมเขา้ สู่สังคมผู้สงู อายุอย่างมีคณุ ภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุ รักษ์ ฟื้นฟูใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอย่างเหมาะสม ๓) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี”มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็น ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มัน่ คง ม่ังคั่ง ย่ังยืน”

๒๘ ๔) ยดึ “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี ๒๕๗๙” ท่ีเปน็ เปา้ หมายในยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ๒๐ ปีมา เป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน ๕ ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ เปา้ หมายท่ียัง่ ยนื (SDGs) ๕) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ำและขับเคลื่อนการเจริญเติบโต จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมปิ ญั ญาและนวตั กรรม” ๖) ยึด “หลกั การนำไปสู่การปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดผลสัมฤทธิ์อยา่ งจริงจังใน ๕ ปีทต่ี ่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิที่ เป็นเป้าหมายระยะยาว” วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมที่ดีมี จิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะ ความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองไดต้ อ่ เนื่องตลอดชวี ิต ๒.เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร และบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพา ตนเองได้ ๓.เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งของฐาน การผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกิจฐานราก และสร้างความมัน่ คงทางพลงั งาน อาหาร และน้ำ ๔.เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุนการเติบโตที่ เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อมและการมีคณุ ภาพชีวติ ที่ดขี องประชาชน ๕.เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัยและมีการทำงานเชิงบูรณาการ ของภาคีการพัฒนา ๖.เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับการพัฒนา ยกระดับฐานการผลิตและบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม่ ๗.เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่างๆ ทั้งในระดับ อนภุ มู ิภาค ภมู ภิ าค และนานาชาตไิ ด้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธภิ าพ รวมทั้งใหป้ ระเทศไทยมีบทบาทนาและ สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและโลกเป้าหมายรวม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ประกอบด้วย ๑. คนไทยมคี ุณลกั ษณะเปน็ คนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวนิ ยั มีทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทัด ฐานที่ดีของสังคมมีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความ รับผิดชอบและทำประโยชนต์ ่อสว่ นรวม มีสขุ ภาพกายและใจทดี่ ี มีความเจริญงอกงามทางจติ วญิ ญาณมีวิถีชีวิต ทพี่ อเพยี ง และมคี วามเป็นไทย ๒. ความเหลือ่ มล้ำทางดา้ นรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกจิ ฐานรากมีความเข้มแข็ง ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่าง ท่ัวถึงและเป็นธรรม ๓. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแขง็ และแข่งขันได้ โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ปรบั ส่เู ศรษฐกจิ ฐาน บริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด เล็กท่เี ขม้ แข็งสามารถใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล ในการสร้างสรรคค์ ุณคา่ สินคา้ และบริการ มีระบบการ

๒๙ ผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ ชั้นสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการให้บริการ สู่ภูมิภาคเพือ่ ลดความเหล่ือมล้ำ โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ ๔. ทนุ ทางธรรมชาติและคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมสามารถสนบั สนนุ การเติบโตทเี่ ป็นมติ รกับ สิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ำยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย ๑๐ ยุทธศาสตร์ ๑. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ “คนไทยใฝ่ดี มี วนิ ยั สร้างสรรค์นวตั กรรม พึง่ พาตนเองได้อย่างยงั่ ยนื ” ๒. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้ำในสังคม “ไม่ทิ้งใคร ไว้ขา้ งหลัง สรา้ งสงั คมเปน็ ธรรมและเขม้ แขง็ ” ๓. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน “พัฒนาเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและทั่วถึง เพื่อมุ่งสู่การมีรายได้สูงอย่างมีเสถียรภาพ เป็นธรรม และยั่งยืน ด้วย นวตั กรรม” ๔. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตท่ีเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน “คนื สมดลุ สู่ธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยนื ” ๕. ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การเสริมสร้างความมัน่ คงแหง่ ชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สู่ ความม่งั ค่ังและย่งั ยนื “เสริมสรา้ งพนื้ ฐานท่ีมั่นคงในการพัฒนาประเทศ” ๖.ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิ ชอบและธรรมาภิบาลในสงั คมไทย “ประสทิ ธภิ าพ ทันสมัย โปร่งใส เป็นธรรม” ๗.ยุทธศาสตร์ที่ ๗ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ “โครงสร้าง พื้นฐานก้าวไกล พัฒนาไทยส่ทู ศวรรษหน้า” ๘ .ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๘ การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และน วัตกรรม “รุกไป ข้างหนา้ ดว้ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม” ๙.ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๙ การพฒั นาภาค เมืองและพื้นทเ่ี ศรษฐกิจ “กระจายความเจริญ สู่ภูมภิ าค อย่างสมดุล” ๑๐.ยุทธศาสตร์ที่ ๑๐ ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา “ใช้จุดเด่นให้ เป็นประโยชน์ ขยายความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศใหเ้ ขม้ ขน้ เพอื่ ใหเ้ กิดผลต่อการพัฒนาอย่างเต็มท่ี” ๕. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ เพ่ือใช้เป็น แผนยุทธศาสตร์ระยะยาว สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศได้น าไปใช้เป็นกรอบและ แนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้สำหรับพลเมืองทกุ ชว่ งวัยต้ังแต่แรกเกดิ จนตลอดชวี ิต โดยจุดมุ่งหมาย ที่สำคัญของแผน คือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการศึกษาเพื่อการมี งานทำและสร้างงานได้ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์รวมท้ังความเป็นพลวัตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถกา้ วข้ามกบั ดกั ประเทศที่มีรายได้ ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ได้ก าหนด สาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน ๕ ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาสทางการ

๓๐ ศึกษา(Access)ความเท่าเทียมทางการศึกษา(Equity)คุณภาพการศึกษา (Quality)ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บรบิ ทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ในระยะ ๑๕ ปีขา้ งหน้า ดงั นี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ ดำรงชีวิตอยา่ งเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑ วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือพฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ ๓.เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้จักสามัคคี และร่วมมือ ผนึกกำลงั มุง่ สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้ ำภายในประเทศ ลดลง ยทุ ธศาสตร์ ๑.การจัดการศกึ ษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ ๒.การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ๓.การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ ๔.การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา ๕.การจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ๖.การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา ปจั จยั และเง่ือนไขความสำเรจ็ การดำเนินการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ตามที่กำหนดไว้ในแผนการศึกษา แห่งชาติจะประสบผลสำเร็จตามที่ระบุไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาหน่วยงานทั้งระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติการ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาต้อง ยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนนิ งาน และมกี ารทบทวน ปรับปรงุ มาตรการ เปา้ หมายความสำเรจ็ ให้ทันต่อการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ในแตล่ ะพน้ื ท่ีเพือ่ การพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นในทกุ ช่วงวัยต้องดำเนินการ ดงั นี้ ๑.การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจและการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาสังคมในการ สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาในลักษณะต่างๆ อย่างกว้างขวาง มุ่งเน้นที่การจัดระบบการศึกษาที่มี ประสทิ ธภิ าพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมุ่งเน้นการพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนในทุกระดับ ๒.การสร้างความเขา้ ใจในเป้าหมายและยุทธศาสตร์การด าเนินงานของแผนฯ ของผู้ปฏิบตั ิ ทุกหน่วยงานทุกระดับ เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ มีการบริหารจัดการและการเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์และแนวทางการพฒั นาให้บรรลุเป้าหมายและวสิ ยั ทัศน์ของการจัดการศึกษามีคณะกรรมการกำกับ ดูแลแต่ละยุทธศาสตร์ให้เกิดการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบงบประมาณเป็นกลไกสนบั สนนุ ให้บรรลุผลอย่างเปน็ รูปธรรม ๓.การปรับเปลี่ยนกระบวนทศั น์ของการจดั การศึกษา จากการเปน็ ผู้จดั การศึกษาโดยรัฐมาเป็นการจัด การศึกษาโดยทุกภาคส่วนของสังคม ที่มุ่งการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง ( Inclusive Education) ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals)

๓๑ ๔.การจัดให้แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจัดการศึกษาของรัฐ ระบบ การจัดสรรงบประมาณประจำปีให้ยึดแผนงาน โครงการและเป้าหมายการพัฒนาที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาของแผนฯ เป็นหลักในการพิจารณา เพื่อให้การดำเนินงานพัฒนาการศึกษาเป็นไปใน ทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช่วงวัย และการพัฒนากำลังคนตามความต้องการของตลาดงาน และประเทศเพื่อการจดั การศกึ ษาบรรลุผลตามยุทธศาสตร์ ตวั ชว้ี ัดในช่วงเวลาทีก่ ำหนด ๕.การปรบั ระบบการบริหารจดั การภาครัฐให้เกิดประสิทธภิ าพ โดยปรับโครงสรา้ งการบริหารงานให้มี ความชัดเจนในดา้ นบทบาท หน้าทแี่ ละการกระจายอำนาจและการตัดสินใจจากส่วนกลาง ส่รู ะดบั ภูมิภาคและ สถานศึกษา รวมทั้งการปรับระบบการบริหารจัดการ และการบริหารงานบุคคลในแต่ละระดับให้ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เปน็ ไปอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนได้รับบริการการศึกษาท่ีมีมาตรฐาน อยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียม ๖.การสร้างระบบข้อมลู และสารสนเทศที่บูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงานต่อสาธารณชนจะเป็น กลไกในการสร้างการรับรู้ของผู้จัดการศึกษาและผู้เรียน เพื่อการปรับประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และ ความรับผิดชอบตอ่ ผเู้ รียน ผา่ นระบบการกำกบั ตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผล ๗.การปฏิรูประบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา เพื่อให้รัฐสามารถใช้เครื่องมือทางการเงินใน การกำกบั การดำเนินงานของสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติและนโยบายรัฐบาล ๖. นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เพื่อให้การดำเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย บรรลุเป้าหมาย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๖ เพื่อให้ส่วนราชการในสังกัด กร ะทร ว งศึ กษาธ ิ การ ย ึ ด เ ป ็ น กร อบ การ ด ำ เ น ิ น งาน ใน การ จ ั ด ท ำ แผ น แล ะงบ ป ร ะมาณร าย จ ่ าย ป ร ะ จ ำ ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ พร้อมท้งั ขับเคล่อื นการดำเนนิ งานด้านการศกึ ษาให้มคี ุณภาพ ประสทิ ธิภาพในทุกมิติ โดยใชจ้ ่ายงบประมาณอยา่ งคมุ้ ค่า เพอื่ ม่งุ เป้าหมาย คอื ผูเ้ รียนทุกช่วงวยั ดังน้ี หลักการตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมน่ั ดำเนินการภารกจิ หลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในฐานะหนว่ ยงานเจ้าภาพขับเคล่ือนทุกแผนย่อยในประเด็น ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู้ และ แผนย่อยที่ ๓ ในประเด็น ๑๑ ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนของนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคน ไทยทุกช่วงวัยและนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ นอกจากนี้ยังสนับสนุนการ ขับเคล่อื นแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาตปิ ระเดน็ อ่ืน ๆ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็น คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และ ผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังน้ี

๓๒ ๑. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจและ บุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่สามารถลด การใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการน าเทคโนโลยีดิจิทลั เข้ามาชว่ ย ทั้งการบริหารงานและการจัดการศึกษารองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั ๒. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/ โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนรวมท้ัง กระบวนการจัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติเชื่อมน่ั และร่วมสนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษามากยงิ่ ข้นึ ๓. ปรบั รือ้ และเปล่ียนแปลงระบบการบรหิ ารจัดการและพฒั นากำลังคนของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดย มุ่งบริหารจัดการอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้ ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ใหม้ ีความพรอ้ มในการปฏบิ ัตงิ านรองรับความเปน็ รัฐบาลดิจิทัล ๔. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด การศกึ ษาเพอื่ คณุ วฒุ ิ และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทส่ี ามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ จดุ เนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑. การพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๑.๑ การจดั การศกึ ษาเพ่อื คุณวฒุ ิ - จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทาง การจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ และการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผเู้ รยี น ทีส่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ - ส่งเสรมิ การพัฒนากรอบหลักสตู รระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความ ต้องการจำเปน็ ของกลุ่มเปา้ หมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบริบทของพื้นที่ - พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์ เฉพาะหน้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์ จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนการจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปิดโลกทัศน์ มมุ มองรว่ มกนั ของผเู้ รยี นและครูให้มากข้นึ - พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิต และสรา้ งอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล สุขภาวะและทศั นคตทิ ี่ดตี อ่ การดแู ลสขุ ภาพ ๑.๒ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับ ทักษะภาษาองั กฤษ (English for All) - ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร BUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์เพื่อ สง่ เสรมิ ประชาสมั พนั ธส์ ินค้าออนไลนร์ ะดบั ตำบล - ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพ่ือทักษะอาชพี และการมีงานทำ ในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บ ชายแดน และพื้นที่เกาะ แก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุม่ ชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว)

๓๓ - พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกึ ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตผุ ล เป็นขน้ั ตอน - พัฒนาครอู าชวี ศึกษาที่มคี วามร้แู ละความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands - on Experience) เพื่อให้มีทกั ษะและความเช่ียวชาญทางวชิ าการ โดยรว่ มมือกบั สถาบนั อุดมศึกษาช้ันนำของประเทศจัดหลักสูตร การพัฒนาแบบเข้มขน้ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย ๑ ปี - พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการให้มีความ พร้อมในการปฏิบัตงิ านรองรบั ความเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์พฒั นาสมรรถนะ บคุ ลากรระดับจังหวดั ทัว่ ประเทศ ๒. การพฒั นาการศกึ ษาเพื่อความม่ันคง - พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมน ำยุทธศาสตร์ พระราชทาน “เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา” เปน็ หลกั ในการดำเนนิ การ - เฝ้าระวงั ภัยทุกรูปแบบทีเ่ กดิ ขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์ - ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกับภาษาไทยเป็นสื่อการจัดการเรียนการสอนในพื้นที่ที่ใช้ ภาษาอย่างหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผ้ ู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะการสื่อสาร และใชภ้ าษาท่สี ามในการตอ่ ยอดการเรียนรูไ้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ - ปลูกฝงั ผเู้ รยี นให้มีหลักคิดที่ถูกต้องดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัย สุจรติ จติ อาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด ๓. การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั - สนบั สนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกำลงั แรงงานทมี่ คี ณุ ภาพ ตามความเปน็ เลิศ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบัน และอนาคต - สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาบริหารจดั การอยา่ งมีคุณภาพ และจดั การเรยี นการสอน ดว้ ยเคร่อื งมือปฏบิ ัตทิ ี่ทันสมัยและสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยี โดยเนน้ ให้ผูเ้ รียนมที กั ษะการวิเคราะหข์ ้อมลู (Data Analysis) และทกั ษะการสอื่ สารภาษาต่างประเทศ ๔. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา - พัฒนาแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั เพอื่ การเรยี นรู้ และใช้ดิจทิ ลั เปน็ เครือ่ งมือการเรยี นรู้ - การศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกิจและบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู - ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อลด ความเลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งพระราชบญั ญัติพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ๕. การจดั การศึกษาเพือ่ สรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม - เสริมสร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมที่พึง ประสงคด์ า้ นสง่ิ แวดล้อม - ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็น อาชีพ และสร้างรายได้

๓๔ ๖. การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การ - ปฏริ ปู องคก์ ารเพื่อลดความทบั ซ้อน เพมิ่ ประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงาน ทม่ี ีภารกจิ ใกล้เคียงกนั เช่น ดา้ นประชาสัมพนั ธ์ ดา้ นต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย เปน็ ตน้ - ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอปุ สรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงานโดยคำนงึ ถงึ ประโยชนข์ องผเู้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยรวม - สนับสนุนกิจกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการศึกษา (Big Data) - พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและพัฒนากำลงั คนของกระทรวงศึกษาธิการให้สอดคล้อง กบั การปฏิรูปองค์การ - สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้ อย่างอิสระและมีประสทิ ธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ - จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตบุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร - ส่งเสริมโครงการ ๑ ตำบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นใหเ้ ออื้ ตอ่ การเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ การขบั เคลือ่ นนโยบายและจุดเน้นสูก่ ารปฏิบตั ิ ๑. ให้สว่ นราชการ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศกึ ษา นำนโยบายและจุดเนน้ เปน็ กรอบแนวทางมาใช้ ในการวางแผนและจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยคำนึงถึงมาตรการ ๔ ข้อ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้ ดังนี้ (๑) งดดูงาน ต่างประเทศ ๑ ปียกเว้นกรณีที่มีความจำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อกระทรวงศึกษาธิการ (๒) ลดการจัดอบรม สัมมนาที่มีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (๓) ยกเลิกการจัดงาน Event และ (๔) ทบทวนงบประมาณที่มี ความซำ้ ซอ้ น ๒. ใหม้ ีคณะกรรมการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขับเคลอื่ นนโยบายและจุดเนน้ สู่การปฏิบตั ิ ระดับพืน้ ท่ี โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเปน็ ประธาน สำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค และสำนักตรวจ ราชการและติดตามประเมินผล สป.เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารและผู้ช่วยเลขานุการตามลำดบั โดยมบี ทบาทภารกิจใน การตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดบั ๓. กรณีมปี ญั หาในเชิงพน้ื ทหี่ รอื ขอ้ ขัดข้องในการปฏบิ ตั งิ าน ใหศ้ กึ ษา วิเคราะหข์ ้อมูล และดำเนินการ แก้ปัญหาในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการ ติดตามฯ ข้างตน้ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ตามลำดบั ๗. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ๗.๑ แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕ วสิ ยั ทัศน์ “สรา้ งคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตทยี่ ั่งยนื ” พนั ธกจิ ๑.จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ

๓๕ ๒. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีความสามารถ ความเป็นเลิศทางวชิ าการเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขัน ๓.พัฒนาศกั ยภาพและคณุ ภาพผู้เรียนให้มสี มรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะในศตวรรษที่ ๒๑ ๔.สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง ท่วั ถงึ และเท่าเทียม ๕.พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ ๖.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่ังยืน(Sustainable Development Goals:SDGs) ๗.ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยี ดจิ ทิ ัล(Digital Technology)เพอื่ พฒั นามุง่ สู่ Thailand ๔.๐ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๑.แผนปฏบิ ัติราชการ เร่อื งท่ี ๑ การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคงของสังคมของประเทศชาติ ๑.๑ เป้าหมาย ผู้เรียนมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มที ศั นคติที่ถูกต้องตอ่ บา้ นเมือง มหี ลักคิดท่ีถูกต้อง และเป็นพลเมอื งดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินัย รกั ษาศลี ธรรม ๒. แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๒ การจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ๒.๑ เป้าหมาย ผู้เรียนที่มคี วามสามารถพเิ ศษด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษาและ อน่ื ๆ ได้รับการพฒั นาอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ สร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ๓.แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรื่องที่ ๓ การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ๓.๑ เปา้ หมาย ๓.๑.๑ ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสรา้ งสรรค์นวตั กรรม มีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวยั มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี (Global Citizen) พรอ้ มก้าวสู่สากล นำไปส่กู ารสร้างความสารมารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๓.๑.๒ ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ ได้รบั การ พัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะวิชาชีพและสมรรถนะในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งมีจรรยาบรรณตามมาตรฐาน วชิ าชีพ ๔. แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๔ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มี มาตรฐานและลดความเหล่อื มล้ำทางการศึกษา ๔.๑ เป้าหมาย ผู้เรยี นทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ กลมุ่ ชาติพนั ธ์ กลุม่ ดอ้ ยโอกาส และกลุ่มทอี่ ยู่ในพ้ืนที่ ห่างไกลทุรกันดาร ได้รบั การศกึ ษาอยา่ งทัว่ ถึง เทา่ เทยี มและมีคณุ ภาพ

๓๖ ๕. แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดลอ้ ม ๕.๑ เป้าหมาย สถานศกึ ษาจดั การศึกษากเพื่อการบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาอย่างย่ังยนื (Sustainable Development Goals:SDGs) และสร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖.แผนปฏิบตั ริ าชการ เรื่องที่ ๖ การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา ๖.๑ เปา้ หมาย สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา สถานศึกษา มี สมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจัย เทคโนโลยีและ นวตั กรรมในการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษา ๗.๒ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔- ๒๕๖๕ ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐)และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กำหนดใหม้ กี ารพัฒนาเดก็ ตั้งแต่ระดบั ปฐมวัยใหม้ ีสมรรถนะและคุณลักษณะทีด่ ี สมวัยทุกดา้ นโดยการปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ี หลากหลายมเี ป้าหมายใหผ้ ู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รบั การศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะที่จำเป็นของโลก อนาคต สามารถแก้ปญั หา ปรับตวั สอื่ สาร และทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธผิ ล มวี นิ ยั มนี สิ ัยใฝ่เรียนรู้ อยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ รวมท้งั เป็นพลเมืองท่ีร้สู ิทธิและหน้าที่ มีความรบั ผดิ ชอบและมีจิตสาธารณะ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น “การศึกษาขั้นพ้ืนฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ ดงั น้ี ๑.ด้านความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ ที่ดี สามารถปรบั ตวั ต่อโรคอุบตั ใิ หม่ และโรคอุบตั ซิ ้ำ ๒. ดา้ นโอกาส ๒.๑ สนับสนุน ให้เด็กปฐมวยั ไดเ้ ขา้ เรยี นทุกคน มีพฒั นาการที่ดี ทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา ใหส้ มกบั วยั ๒.๒ ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพตรง ตามศกั ยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทงั้ ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นทมี่ คี วามสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ๒.๓ พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้ออกจาก ระบบการศึกษา รวมทง้ั ช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ไดร้ ับการศึกษาขนั้ พื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน ๒.๔ ส่งเสริมใหเ้ ด็กพิการและผ้ดู อ้ ยโอกาส ใหไ้ ด้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มีทกั ษะในการ

๓๗ ดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ดา้ นคณุ ภาพ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของโลกใน ศตวรรษท่ี ๒๑ อยา่ งครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยดึ มั่นการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มีทัศนคตทิ ่ถี กู ตอ้ งต่อบา้ นเมือง ๓.๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการ เลือกศึกษาต่อเพื่อการมงี านทำ ๓.๓ ปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นในแต่ละ ระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน สง่ เสริมการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาพหุปัญญา พฒั นาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรยี นทกุ ระดบั ๓.๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบตั ิหน้าที่ไดด้ ี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างตอ่ เนื่อง รวมทง้ั มีจติ วิญญาณความเปน็ ครู ๔. ดา้ นประสิทธิภาพ ๔.๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนบน ฐานขอ้ มูลสารสนเทศทีถ่ ูกตอ้ ง ทันสมยั และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น ๔.๒ พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนที่ สามารถดำรงอยไู่ ด้อย่างมคี ุณภาพ(Stand Alone) ใหม้ ีคุณภาพอย่างย่ังยนื สอดคลอ้ งกับบริบทของพ้ืนท่ี ๔.๓ บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ นอ้ ยกวา่ ๒๐ คน ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ สอดคลอ้ งกบั นโยบายโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน ๔.๔ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษาที่ตง้ั ในพนื้ ท่ีลกั ษณะพิเศษ ๔.๕ สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพิ่ม ความคล่องตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๔.๖ เพม่ิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๘. นโยบายสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสิงห์บรุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๘.๑ วิสัยทัศน์Vision “บรหิ ารจัดการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน ผเู้ รยี นมีทักษะสำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีคณุ ภาพชีวิต ที่ดีตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ๘.๒ พนั ธกจิ (Mission) ๑.จัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของสถาบันหลกั ของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๒.พัฒนาผู้เรียน ให้มีความสามารถ ความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขัน ๓.พัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรยี นให้มสี มรรถนะตามหลักสตู ร และคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑

๓๘ ๔.สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมล า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและเทา่ เทียม ๕.พัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมืออาชีพ ๖.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ๗.พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ สง่ เสริมให้ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา และส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาโดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology)เพอ่ื พฒั นามุง่ สู่ Thailand ๔.๐ ๘.๓ เปา้ หมาย (Goals) ๑.ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มที ัศนคติทถ่ี ูกต้องตอ่ บา้ นเมือง มีหลกั คดิ ท่ีถกู ตอ้ ง และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ยั รักษาศลี ธรรม ๒.ผ้เู รียนท่มี คี วามสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและ อืน่ ๆ ไดร้ บั การพฒั นาอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ๓.ผู้เรยี น เปน็ บคุ คลแห่งการเรียน รู้ คดิ รเิ รม่ิ และสร้างสรรคน์ วัตกรรม มคี วามรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ ตามหลักสูตร และคุณ ลักษณ ะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัยมีความสามารถใน การพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี (Global Citizen) พร้อมก้าวส่สู ากล นำไปสกู่ ารสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๔.ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพตาม สมรรถนะวิชาชพี และสมรรถนะในศตวรรษท่ี ๒๑ และมจี รรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี ๕. ผเู้ รยี นท่มี คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกาส ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถงึ เท่าเทียม และ มคี ณุ ภาพ ๖.สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพสอดคลอ้ งกับเปา้ หมายการพฒั นาอย่างย่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๗. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด มีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการ กำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบใช้ งานวิจยั เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการขบั เคล่ือนคุณภาพการศกึ ษา ๘.๔ กลยทุ ธ์ (Strategies) กลยทุ ธท์ ่ี ๑ จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คง กลยทุ ธท์ ี่ ๒ จัดการศกึ ษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขัน กลยทุ ธท์ ่ี ๓ พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ กลยุทธ์ที่ ๔ สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษาที่มคี ุณภาพ มมี าตรฐาน และลด ความเหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา กลยุทธ์ที่ ๕ จัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยทุ ธท์ ี่ ๖ พัฒนาระบบการบริหารจดั การ

๓๙ กลยทุ ธ์ท่ี ๑ จัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคง เปา้ หมาย ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มีทัศนคตทิ ีถ่ กู ตอ้ งตอ่ บ้านเมือง มีหลักคิดทถ่ี กู ต้อง และเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น ซื่อสัตย์ สุจริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ัย รักษาศลี ธรรม เปา้ ประสงค์ ๑. ผ้เู รยี นทุกคนที่มีพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ ม่นั การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข ๒. ผเู้ รยี นทุกคนมีทัศนคติทด่ี ตี อ่ บ้านเมอื ง มหี ลักคดิ ท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น และสังคมโดยรวม ซ่ือสตั ย์ สุจริต มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั และรักษาศีลธรรม ๓. ผเู้ รียนทกุ คนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมคี วามพรอ้ มสามารถรับมอื กบั ภยั คุกคาม ทุกรปู แบบที่มี ผลกระทบต่อความมั่นคง เชน่ ภยั จากยาเสพติด ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ และ ทรพั ย์สิน การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เปน็ ต้น กลยุทธ์ท่ี ๒ จัดการศึกษาเพอื่ สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั เป้าหมาย ผเู้ รยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษาและอืน่ ๆ ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เป้าประสงค์ ๑. ผเู้ รียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ มคี วามเปน็ เลศิ มีทักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ผูเ้ รยี นทกุ ระดับมคี วามเปน็ เลศิ ตามความถนัดและความสนใจ นำไปสู่การพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ เปน็ นกั คดิ เป็นผสู้ ร้างนวัตกรรม เปน็ นวัตกร ๓. ผเู้ รียนได้รบั โอกาสเข้าสู่เวทกี ำรแขง่ ขนั ระดับชาติ กลยทุ ธ์ที่ ๓ พฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ เปา้ หมาย ๑.ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวตั กรรม มีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ ตามหลกั สตู ร และคณุ ลักษณะของผ้เู รียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะทเ่ี หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการ พึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี (Global Citizen) พรอ้ มกา้ วสูส่ ากล นำไปสู่การสร้างความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ๒.ผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ ได้รับการพัฒนาศักยภาพตาม สมรรถนะวชิ าชพี และสมรรถนะในศตวรรษที่ ๒๑ และมจี รรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าประสงค์ ๑.หลักสตู รปฐมวัยและหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มกี ารพัฒนา ท่สี อดคล้องกบั แนวโนม้ การพฒั นาของประเทศ ๒.ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาตามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร และมที กั ษะความสามารถท่ีสอดคลอ้ งกับ

๔๐ ทกั ษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีความยดื หยุน่ ทางดา้ นความคดิ สามารถทำงานรว่ มกับผู้อนื่ ได้ ภายใต้สังคมท่ี เปน็ พหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพ้ืนฐานการเรียนรู้เพ่ือการวางแผนชวี ิต ทเ่ี หมาะสมในแต่ละช่วงวัยและนำไป ปฏบิ ตั ิได้ ๓.ผูเ้ รียนไดร้ บั การพฒั นาให้มคี วามรู้และทกั ษะนำไปสู่การพฒั นานวัตกรรม ๔.ผเู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมงี านทำมีทกั ษะอาชีพ ทส่ี อดคล้องกับความต้องการของประเทศ ๕.ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาใหม้ ีศักยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหม้ สี ขุ ภาวะท่ดี ี สามารถ ดำรงชีวิตอย่างมคี วามสุขทง้ั ด้านร่างกายและจติ ใจ ๖.ครู เปลีย่ นบทบาทจาก “ครผู ูส้ อน” เปน็ “Coach” ผู้ใหค้ ำปรึกษาข้อเสนอแนะ การเรยี นร้หู รือ ผ้อู ำนวยการการเรยี นรู้ ๗. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการและการ จดั การเรียนการสอน และการปฏบิ ตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ กลยทุ ธ์ที่ ๔ สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาท่มี คี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลือ่ มลำ้ ทางการศกึ ษา เปา้ หมาย ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมี คณุ ภาพ เป้าประสงค์ ๑.สถานศึกษาจัดการศกึ ษาเพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยนื (Global Goals for Sustainable Development) ๒.สถานศกึ ษากบั องค์กรปกครองท้องถน่ิ ภาคเอกชน และหน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ในระดับพ้นื ท่ี รว่ มมือในการจัดการศกึ ษา ๓.สถานศึกษามีคุณภาพ และมีมาตรฐานตามบริบทของพ้นื ท่ี ๔.งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลอ้ ง กับสภาพ ข้อเทจ็ จริง โดยคำนึงถึงความจำเปน็ ตามสภาพพื้นทภ่ี ูมศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และท่ีตั้ง ของสถานศกึ ษา ๕.งบประมาณเพ่อื เป็นค่าใช้จ่าย และงบลงทนุ แก่สถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพื่อให้ สถานศึกษา บรหิ ารงานจดั การศกึ ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ ๖.นำเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology)มาเป็นเคร่ืองมอื ให้ผู้เรียนได้มีโอกาส เข้าถึงบริการ ด้ำนการศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กลยุทธท์ ่ี ๕ จดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม เป้าหมาย สถานศึกษาจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)และสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป้าประสงค์ นักเรยี นทกุ คนไดร้ บั การส่งเสรมิ ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และมคี วามตระหนักในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม

๔๑ กลยทุ ธท์ ี่ ๖ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา เป้าหมาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด มีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และการรายงานผลอย่างเปน็ ระบบใช้งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขบั เคลือ่ นคุณภาพการศึกษา เปา้ ประสงค์ ๑.สถานศกึ ษา หรือกลมุ่ สถานศกึ ษา มีความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา ครอบคลมุ ด้านการบรหิ ารวชิ าการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล และดา้ นการบรหิ ารงานท่วั ไป ๒.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯ เป็นหน่วยงานให้มีความทันสมัย บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภบิ าล มคี วามโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ๓. สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษา พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ๘.๔ นโยบาย ๔ มี ๕ ตอ้ ง ๔ มี ไดแ้ ก่ ๑. สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานของสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๑ การบริหารจดั การองค์การสคู่ วามเป็นเลศิ เปน็ การบรหิ ารจัดการทีด่ ใี หเ้ ขต พนื้ ทมี่ คี วามเขม้ แขง็ มาตรฐานท่ี ๒ การบริหารและการจดั การศึกษาทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เกีย่ วข้องกบั งาน ๔ ดา้ น โดย ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพรวมถึงการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๓ สมั ฤทธ์ผิ ลการบริหารและการจดั การศกึ ษาเปน็ ผลทเี่ กิดจากการดำเนนิ งาน รวม ๑๔ ตวั ช้ีวัด ๕๖ ประเดน็ การพิจารณา ๒. สถานศึกษามีคุณภาพ (ใน ๔ ดา้ น) ๒.๑ มกี ายภาพ ส่ิงแวดล้อม ภมู ทิ ัศน์ท้ังภายใน ภายนอกทีด่ ี มบี รรยากาศที่เอ้ือต่อ การเรยี นรู้ โรงเรยี นรม่ ร่นื สวยงาม ปลอดภัย “น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน” ๒.๒ มคี ุณภาพ ทงั้ คณุ ภาพผู้บรหิ าร คุณภาพครู และคณุ ภาพผู้เรียน ๒.๓ มีประสิทธภิ าพ ในการบรหิ ารจัดการทั้งดา้ นวิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงาน บคุ คล และบรหิ ารงานทวั่ ไป ๒.๔ มีสมั พันธภาพ การมีปฏสิ ัมพันธท์ ดี่ ี ทั้งภายใน ภายนอก และเครอื ข่ายการมีสว่ นร่วม ๓. ครมู ีคณุ ภาพ(๔ ดา้ น) ๓.๑ มคี วามรอบรู้ มีความรูค้ วามสามารถ ๓.๒ มีเทคนิค กลวิธสี อนท่ีดี ๓.๓ มีจรรยาบรรณวชิ าชพี ท้ังต่อตนเอง และต่อผรู้ บั บรกิ าร(ศษิ ย)์ ๓.๔ มคี วามมุ่งมน่ั พัฒนา ศกึ ษาค้นควา้ พฒั นาการเรยี นการสอน คดิ ค้นนวัตกรรม ตา่ งๆ อย่างสมำ่ เสมอ ๔.นักเรยี นมีคุณภาพ ไดแ้ ก่ ๔.๑ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานตวั บ่งชี ของหลกั สูตร ๔.๒ มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทด่ี ี

๔๒ ๔.๓ มีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสตู ร ความตอ้ งการของสังคม หรอื ตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๔.๔ มสี มรรถนะในศตวรรษที่ ๒๑ ๕ ต้อง ไดแ้ ก่ ๑. ตอ้ งมกี ารวางแผนทีด่ ี(Plan) มกี ารวเิ คราะห์ สังเคราะหบ์ รบิ ทโดยรวมของตนเอง เพือ่ ใช้ ในการกำหนดแนวทางพัฒนา ๒. ตอ้ งมเี ป้าหมาย(Objective) มกี ารกำหนดเปา้ หมายในการขบั เคลื่อนสคู่ วามสำเร็จ ๓. ต้องมรี ะบบ(System) มขี ั้นตอนการดำเนินงานการขับเคลื่อนคุณภาพ ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งกระบวนการทำงาน การเชื่อมตอ่ ให้ไปสู่เปา้ หมายที่วางไว้ ๔. ตอ้ งมีส่วนรว่ ม(Participation)ผู้เกยี่ วข้องทุกฝา่ ย เขา้ มามีส่วนรว่ มในการดำเนนิ งาน รว่ มคดิ ร่วมตดั สนิ ใจ ร่วมแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ๕. ตอ้ งมกี ารประเมินผล(Evaluation)มีการวัดประเมินผลการทำงานอยา่ งต่อเน่ือง เพอ่ื เหน็ ภาพความสำเรจ็ หรือปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ๙. ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส จากการศึกษาวิเคราะห์พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะเวลา ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ทิศทางและนโยบาย การดำเนินงานกระทรวงศึกษาธิการ/สพฐ. ทิศทางและนโยบายการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี และสรุปประเมินสถานภาพของโรงเรียน การสังเคราะห์สภาพแวดล้อมและ ศักยภาพ (SWOT) ในการจัด การศึกษาที่ผ่านมาสามารถนำข้อมูลมากำหนดทิศทางวางแผนเพื่อจัด ทำแผนพัฒนาการศึกษาของ โรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส ดังนี้ วิสยั ทศั น์ โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สร้างโอกาสทางการศึกษามุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐาน สืบสานหลักคิดและดำเนนิ ชวี ติ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกจิ ๑. สร้างโอกาสใหผ้ ้เู รียนทกุ คนได้รบั การศกึ ษาอยา่ งมีคุณภาพ ๒. พัฒนาและส่งเสรมิ คุณภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานการศึกษาในทกุ ดา้ น ๓. ปลกู ฝังหลกั คดิ และส่งเสริมให้ผูเ้ รียนดำเนินชวี ติ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ สามารถ จัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ๕. พฒั นาการบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพและมสี ว่ นรว่ มบนหลักธรรมาภบิ าล

๔๓ เปา้ ประสงค์ ๑. ผู้เรียนทกุ คนไดเ้ ขา้ รบั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ ๒. ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ๓. ผเู้ รยี นสามารถดำเนนิ ชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเป็นมอื อาชีพ สามารถจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ๕. โรงเรยี นบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพและมสี ่วนร่วมบนหลกั ธรรมาภิบาล กลยทุ ธ์ ๑. สร้างโอกาสทางการศกึ ษาให้ผเู้ รียนทุกคน ๒. พัฒนาและส่งเสรมิ คณุ ภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศกึ ษา ๓. เสรมิ สร้างการนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชีวติ ๔. สง่ เสริม สนบั สนุนและพฒั นาศกั ยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชพี ๕. พฒั นาการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพและมสี ว่ นร่วมบนหลกั ธรรมาภบิ าล เอกลกั ษณ์ของโรงเรียน “สามัคคี มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู”้ อตั ลักษณข์ องโรงเรียน “แม่ครัวหัวป่านอ้ ยอ่านออก เขียนได้เหมาะสมวัย” จุดเนน้ การดำเนนิ งานของโรงเรยี น สว่ นท่ี ๑ จุดเน้นด้านผ้เู รยี น ๑.๑ นกั เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ดังน้ี ๑.๑.๑ นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสตปิ ญั ญาทส่ี มดุล เหมาะสมกบั วัย และเรียนรูอ้ ยา่ งมีความสขุ ๑.๑.๒ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ มีความสามารถในการอา่ นออก เขียนได้ ๑.๑.๓ นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ มีความสามารถด้านภาษา ดา้ นคำนวณ และ ดา้ นการใชเ้ หตผุ ลทีเ่ หมาะสม ๑.๑.๔ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ และ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นจาก การทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) กล่มุ สาระหลกั เพ่มิ ขนึ้ เฉลี่ยไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๓ ๑.๑.๕ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ไดศ้ ึกษาตอ่ ในระดบั ท่สี ูงขน้ึ ๑.๑.๖ นักเรียนมีทักษะชีวิต ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และทักษะ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เหมาะสม ตามชว่ งวัย ๑.๒ นกั เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รักความเป็นไทย หา่ งไกลยาเสพติด มคี ณุ ลักษณะ และ ทักษะทางสงั คมทเ่ี หมาะสม

๔๔ ๑.๒.๑ นักเรียนระดบั กอ่ นประถมและประถมศึกษา ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ดี และอยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้ ๑.๓ นักเรียนที่มคี วามต้องการพเิ ศษได้รับการส่งเสริม สนบั สนุนและพัฒนาเต็มศักยภาพ เปน็ รายบคุ คล ดว้ ยรปู แบบท่หี ลากหลาย ๑.๓.๑ เด็กทกุ คนไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพเปน็ รายบคุ คลด้วยรปู แบบทหี่ ลากหลาย ตามหลกั วิชา ๑.๓.๒ นักเรียนที่มคี วามสามารถพเิ ศษ ไดร้ บั การส่งเสรมิ ใหม้ คี วามเปน็ เลิศ ดา้ นวิชาการ กฬี า ดนตรีและศิลปะ ๑.๓.๓ เดก็ กลมุ่ ทีต่ อ้ งการการค้มุ ครองและช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ ไดร้ ับ การคมุ้ ครองและช่วยเหลือเยยี วยาด้วยรปู แบบที่หลากหลาย สว่ นท่ี ๒ จดุ เน้นดา้ นครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๒.๑ ครูไดร้ บั การพฒั นาองคค์ วามรู้ และทักษะในการสือ่ สารมสี มรรถนะในการสอน อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ๒.๑.๑ ครไู ด้รบั การพฒั นาวิธกี ารจัดการเรยี นการสอน การสอนคิดแบบตา่ งๆ และ การวัดประเมนิ ผล ใหส้ ามารถพัฒนาและประเมนิ ผลนักเรียนให้มีคณุ ภาพตามศักยภาพเปน็ รายบุคคล ๒.๑.๒ ครสู ามารถยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา โดยประยกุ ตใ์ ช้ระบบ สารสนเทศ และการสอื่ สารอยา่ งเหมาะสม ๒.๑.๓ ครูได้รับการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และครูทั้งในโรงเรยี น ระหว่างโรงเรยี น หรอื ภาคสว่ นอื่น ๆ ตามความพรอ้ มของ โรงเรียน ๒.๑.๔ ครสู ร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้ การมีสว่ นร่วมจากผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้อง และทกุ ภาคส่วนใหเ้ กดิ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ๒.๑.๕ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มจี ิตวิญญาณของความเป็นครู การเป็นครูมอื อาชีพ และยึดม่นั ในจรรยาบรรณของวิชาชพี นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๒.๒ ผู้บริหารสถานศึกษา มีความสามารถในการบรหิ ารงานทุกด้านใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และ เกิดประสิทธผิ ล ๒.๓ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มขี วญั กำลังใจในการทำงาน ๒.๔ องค์กร คณะบคุ คลและผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ทีเ่ กยี่ วข้อง วางแผนและสรรหาครู และ บุคลากรทางการศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของโรงเรยี น และสังคม ส่วนที่ ๓ จดุ เนน้ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ๓.๑ โรงเรียนบรหิ ารจัดการโดยมงุ่ เนน้ การกระจายอำนาจ การมสี ว่ นรว่ ม และมี ความรบั ผิดชอบตอ่ ผลการดำเนนิ งาน ๓.๑.๑ โรงเรยี นบริหารจัดการอยา่ งมีคุณภาพ โดยใช้มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพ ภายใน ๓.๑.๒ โรงเรียนจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ร่วมกบั ผปู้ กครอง ชมุ ชน และ องค์กร อืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ๓.๑.๓ โรงเรยี นพฒั นาระบบ กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ การบริหารจดั การ งบประมาณทม่ี ีประสทิ ธิภาพ อย่างจริงจัง และต่อเน่ือง

๔๕ ๓.๑.๔ โรงเรยี นเชิดชเู กยี รตินกั เรียน ท่ีมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขนึ้ และจัดใหม้ ี ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ลดอตั ราการออกกลางคัน พฤติกรรมเส่ยี ง อย่างจรงิ จงั และตอ่ เนอื่ ง ๓.๒ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานทุกระดบั ส่งเสริม การมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓.๒.๑ ประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษากับหนว่ ยงานต้น สังกดั ๓.๒.๒ รับการสนบั สนุนงบประมาณและทรัพยากรในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook