Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20100-1007 ชื่อวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20100-1007 ชื่อวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

Published by si.kiatipan, 2020-05-27 00:45:36

Description: ใช้สำหรับประกอบการศึกษาในรายวิชา งานเครื่องมือกลเบื้องต้น

Keywords: machin,Safety

Search

Read the Text Version

1 แผนการจดั การเรียนรู้ รหัสวิชา 20100-1007 ชื่อวชิ า งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวชิ า ช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ า ช่างซอ่ มบารงุ . จัดทาโดย นายเกียรตพิ นั ธ์ สิงหะทุม วทิ ยาลัยเทคนคิ ปราจีนบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

2 คานา แผนการจัดการเรียนรู้ ฉบับน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิชา งานถอดประกอบ เครอ่ื งกลเบอ้ื งต้น ซง่ึ เปน็ รายวิชาทกี่ าหนดใหเ้ รยี น ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ มีท้ังหมด 5 หน่วย กิจกรรมการเรียนการสอนมีหลากหลายวิธี เช่น การบรรยาย การซักถาม การสาธิต การทากิจกรรมกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต การฝึกปฏิบัติ รายบคุ คล ซึ่งเปน็ ส่วนหน่ึงในการเรยี นรูแ้ บบมสี ว่ นรว่ มของนักเรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้มีการบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ด้วย ทางสาขาวิชาซ่อมบารุงอุตสาหกรรมหวังว่า แผนการสอนฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อครูอาจารย์ ผสู้ อนและนาไปสู่การเรียนรู้ เกดิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตรงตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู รอย่างแทจ้ ริง ลงช่ือ (นายเกยี รติพนั ธ์ สิงหะทมุ )

สารบัญ 3 ลกั ษณะรายวิชา หน้า รายการสอน 5 ตารางวิเคราะห์โครงสรา้ งเน้อื หาวิชากับความสอดคลอ้ งตรงตามสมรรถนะรายวิชา 6 การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประจาหนว่ ยการเรียนรู้ 7 ตารางวเิ คราะห์งาน 8 ใบรายการวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 9 กาหนดการสอน 13 กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 16 แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 เคร่อื งเลอ่ื ยกลและงานเล่ือยกล 18 แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 เครอื่ งเจียระไนลับคมตดั และงานลับเครื่องมือตัดตัด 19 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3 เคร่อื งเจาะและงานเจาะงานรมี เมอร์ งานตาปเกลยี ว 22 แผนการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4 เครื่องกลงึ และงานกลงึ 25 แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 5 เคร่อื งไสและงานไส 28 31

4 สว่ นท่ี 1 การวิเคราะหร์ ายวิชา

ลักษณะรายวิชา 5 รหัสและชื่อวชิ า 20100-1007งานเครื่องมือกลเบอื้ งตน้ 72ชว่ั โมง หนว่ ยกติ 1-3-2 เวลาเรยี นตอ่ ภาค 4 คาบ/สปั ดาห์ จดุ ประสงค์รายวชิ า 1. รู้และเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลักการทางาน การคานวณทีใ่ ชใ้ นงานเครอื่ งมอื กลพนื้ ฐาน 2. มีทักษะเกีย่ วกบั การ ตัด เจาะ กลึง ไส งานด้วยเคร่อื งมือกลเบือ้ งต้น 3. มีเจคติและกจิ นิสัยที่ดีในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ ปลอดภยั เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลามีความซ่ือสตั ย์ รับผดิ ชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั เก่ียวกับหลักการทางาน การบารงุ รกั ษา การปรับต้ัง การใช้งานเคร่ืองมือ กลพ้นื ฐานตามคู่มือ 2. คานวณค่าความเรว็ รอบ ความเรว็ ตัด อตั ราการปอ้ นงานเครอื่ งมือกลพ้นื ฐาน 3. ลับคมตดั งานกลึง งานไส และงานเจาะ ตามคู่มือ 4. ลบั มดี กลึงปาดหนา้ มีดกลงึ ปอก งานลับดอกสวา่ น งานกลงึ ปาดหนา้ กลึงปอก งานไสราบ และไส่บ่าฉาก ตามค่มู ือ 5. เจาะรู และรีมเมอร์ ตามแบบสง่ั งาน 6. กลึงข้นึ รูปชน้ิ งานโลหะตามแบบส่ังงาน 7. ไสปรับขนาดชิ้นงานโลหะตามแบบสงั่ งาน คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเคร่ืองมือกล ชนิด ส่วนประกอบ การทางาน การใช้งานและการบารุงรักษาเคร่ืองมือกลเบื้องต้น การคานวณค่าความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราการ ป้อน ปฏิบัติงานกลึงปาดหน้า กลึงปอก ไสราบ ไสบ่าฉาก เจาะรู และรีมเมอร์ งานลับคมตัดมีดกลึงปาด หนา้ มีดกลึงปอก ดอกสว่าน

รายการสอน 6 ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 1 เครอ่ื งเล่ือยกลและงานเล่อื ยกล 2 เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตดั และงานลับคมตัด 2 10 12 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ งานรีมเมอร์ งานตาปเกลยี ว 2 14 16 4 เคร่ืองกลึงและงานกลึง 2 10 12 5 เครื่องไสและงานไส 4 12 16 2 10 12 สอบปลายภาค 4 -4 รวม 72

7 ตารางวเิ คราะห์โครงสร้างเน้ือหาวชิ ากบั ความสอดคลอ้ งตรงตามสมรรถนะรายวชิ า หน่วย เน้อื หา(รายการสอน) จานวน สมรรถนะรายวิชา ที่ ชม. 1234567 1 เครอ่ื งเลื่อยกลและงานเลอื่ ยกล 12  2 เคร่อื งเจยี ระไนลบั คมตัดและงานลับคมตัด 16 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ งานรมี เมอร์ 12   งานตาปเกลยี ว 16  4 เครื่องกลงึ และงานกลงึ 12 5 เคร่ืองไสและงานไส    

8 การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประจาหน่วยการเรยี นรู้ แนวทางการประเมนิ หน่วย รายการสอน สมรรถนะ ทดสอบความรู้ ที่ ประเมินการป ิฏบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมินพฤติกรรม อ่ืน ๆ 1 เครื่องเลื่อยกลและงานเลอ่ื ยกล แสดงความรู้เกี่ยวกบั เคร่ืองเลื่อยกลและงาน     เล่ือยกล 2 เครื่องเจยี ระไนลบั คมตัดและ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เครื่องเจียระไนลบั คมตดั     งานลบั คมตดั และงานลับคมตัด 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ งานรมี เมอร์ แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั เครื่องเจาะและงานเจาะ     งานตาปเกลียว งานรีมเมอร์ งานตาปเกลียว 4 เครือ่ งกลึงและงานกลึง แสดงความรเู้ กี่ยวกับเครื่องกลึงและงานกลึง     5 เครื่องไสและงานไส แสดงความรู้เกี่ยวกับเคร่ืองไสและงานไส    

สาขาวชิ า : ซอ่ มบารุงอตุ สาหกรรม รหัสวิชา ช่อื วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน้ หวั ข้อเรือ่ ง(หนว่ ยเรียน) หัวข้อหลัก 1.เคร่อื งเล่ือยกลและงานเลอื่ ย 1.เคร่ืองเลื่อยกลแบบชัก 2.เครอ่ื งเลือ่ ยสายพาน 2.เครื่องเจียระไนลับคมตดั และงานลบั คมตดั 1. ชนิดของเครอ่ื งเลอ่ื ยเจียระไนลบั คมตดั 2.สว่ นประกอบทส่ี าคญั

9 ตารางวิเคราะหง์ าน หน้าท่ี แผ่นที่ : 20100-1007 หวั ข้อยอ่ ย ระดับ(IS) 1.1 ส่วนประกอบ R AT 1.2 เครอ่ื งมอื และอุปกรณท์ ีใ่ ช้กับเคร่ืองเลอื่ ยกล 1.3 ขน้ั ตอนการใช้  1.4 การบารุงรกั ษา  1.5 ความปลอดภยั ในการใช้  2.1 ชนดิ เครอ่ื งเล่ือยสายพาน  2.2 ส่วนประกอบทส่ี าคญั  2.3 ขนั้ ตอนการใช้ 2.4 การบารุงรักษา  2.5 ความปลอดภัยในการใช้  1.1 เคร่อื งเลอื่ ยเจยี ระไนแบบตง้ั โต๊ะ 1.2 เครอื่ งเล่ือยเจยี ระไนแบบต้ังพนื้  2.1 สวติ ชเ์ ปดิ -ปดิ  2.2 มอเตอร์  2.3 แทน่ รองรบั ชน้ิ งาน  2.4 กระจกนิรภัย  2.5ไฟส่องสว่าง  2.6 ฝาครอบลอ้ หนิ เจยี ระไน  2.7 ลอ้ หนิ เจียระไน     

สาขาวชิ า : ซอ่ มบารงุ อุตสาหกรรม รหสั วชิ า ชือ่ วิชา : งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ หัวขอ้ เรื่อง(หน่วยเรยี น) หวั ขอ้ หลกั 2.เครอ่ื งเจยี ระไนลับคมตดั และงาน 3. เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเจียระไนลบั คมตัด ลับคมตดั 3.เครื่องเจาะ และงานเจาะ งานรมี 4.การลบั เคร่อื งมอื ตดั เมอร์ งานตาปเกลียว 5.ขนั้ ตอนการใชเ้ ครื่องเจยี ระไนลบั คมตัด 6.การบารงุ รกั ษาเคร่ืองเจียระไนลบั คมตดั 7.ความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตดั 1.ชนิดและสว่ นประกอบเคร่ืองเจาะ 2.เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ทใ่ี ชก้ ับเคร่ืองเจาะ

10 ตารางวิเคราะหง์ าน หน้าที่ 20100-1007 แผ่นที่ : หวั ข้อย่อย ระดบั (IS) 3.1 ใบวัดมมุ R AT 3.2 เกจวัดมมุ เกลียวสามเหลย่ี ม 3.3 เกจเกลยี วสเี่ หลย่ี มคางหมู  3.4 เกจวัดมุมดอกสว่าน  4.1 การลับมดี กลึง  4.2 การลับมีดไส  4.3 การลบั ดอกสว่าน   1.1เคร่อื งเจาะตงั้ โตะ๊  1.2 เครือ่ งเจาะตั้งพื้น 1.3 เครอ่ื งเจาะแบบรศั มี  2.1ดอกสว่าน  2.2 ดอกรีมเมอร์  2.3 ปากกาจบั งาน 2.4 หวั จบั ดอกสว่าน  2.5 ปลอกเรียว  2.6ปลอกเรยี วลดระดบั  2.7เหล็กถอดดอกสวา่ น    

สาขาวิชา : ซอ่ มบารงุ อุตสาหกรรม รหัสวิชา ชื่อวชิ า : งานเคร่อื งมือกลเบือ้ งตน้ หวั ข้อเรื่อง(หนว่ ยเรยี น) หัวข้อหลัก 3.เคร่อื งเจาะ และงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาปเกลียว 3. ขั้นตอนการทางานของเคร่อื งเจาะ 4.เคร่ืองกลึงและงานกลงึ 4. การคานวณความเรว็ ในงานเจาะ 5. การบารงุ รักษาเครอื่ งเจาะ 6.ความปลอดภยั ในการใช้เคร่อื งเจาะ 1.ชนดิ ของเครือ่ งกลึง 2. การบอกขนาดและส่วนประกอบท่ีสาคญั 3. เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ท่ีใชก้ ับเคร่อื งกลึง 4. ข้นั ตอนการทางานของเครือ่ งกลึง 5. การคานวณความเร็วในงานกลงึ 6. การบารงุ รกั ษาเคร่ืองกลึง 7. ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองกลงึ

11 ตารางวิเคราะหง์ าน หน้าท่ี 2100-1008 แผ่นท่ี : หวั ข้อย่อย ระดบั (IS) R AT  4.1 ความเร็วตัด  4.2 ความเร็วรอบ  1.1 เคร่อื งกลึงยันศนู ย์  1.2 เคร่อื งกลึงเทอร์เรต  3.1 หวั จับ 3.2 จานพา  3.3 หนา้ จาน  3.4 กนั สะทา้ น  4.1 การกลงึ ปาดหนา้  4.2 การกลึงปอก 4.3 การกลงึ ขึน้ รูป  4.4 การกลงึ เกลียว  4.5 การกลงึ เรยี ว  5.1 ความเร็วตัด  5.2 ความเร็วรอบ     

สาขาวชิ า : ซ่อมบารงุ อุตสาหกรรม รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า : งานเครอื่ งมอื กลเบอื้ งตน้ หัวขอ้ เรอื่ ง(หน่วยเรยี น) หัวข้อหลกั 5.เคร่อื งไสและงานไส 1.ชนิดของเคร่อื งไส 2.ส่วนประกอบทีส่ าคญั ของเคร่ืองไส 3. เครือ่ งมือและอุปกรณท์ ่ีใช้กับเคร่ืองไส 4.การคานวณความเร็วในงานไส 5. ขัน้ ตอนการทางานของเครือ่ งไส 6. การบารุงรกั ษาเครอ่ื งไส 7. ความปลดิ ภยั ในการใชเ้ คร่ืองไส หมายเหตุ ระดับ(IS)ทางสตปิ ัญญา ระดบั (PS)ทางทักษะฝมี ือ ระดับความสามารถ R : ฟ้นื คนื ความรู้ I : เลียนแบบ IS : ทางสตปิ ัญญา A : ประยุกตค์ วามรู้ C: ทาถกู ต้อง PS : ทางทักษะฝีมือ T : สง่ ถา่ ยความรู้ A : ชานาญ

12 ตารางวิเคราะหง์ าน หน้าท่ี แผ่นท่ี : 20100-1007 หัวข้อยอ่ ย ระดับ(IS) 1.1เครอ่ื งไสนอน R AT 1.2 เคร่อื งไสตงั้ 1.3 เครื่องไสแครย่ าว  1.4 เครือ่ งไสเฟอื ง  3.1ปากกาจับงานไส  3.2 ด้ามจับมดี ไส  3.3 อุปกรณจ์ บั ยึดช้นิ งานไสแบบตา่ งๆ  4.1 ความเร็วตดั งานไส  4.2 การคานวณค่จู ังหวะชกั      

สาขาวชิ า : ซ่อมบารุงอตุ สาหกรรม ชื่อวิชา : งานเครอ่ื งมือกลเบือ้ งตน้ รหัสวิชา20100-1007 งาน : งานตัดเหล็กเพลากลมดว้ ยเคร่ืองเล่อื ยกลแบบชัก ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน ความรู้ Step of Operation Knowledge 1.เตรียมเครอื่ งมอื วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1.1 ชอื่ เครอื่ งเลือ่ ยกล 1.2 ส่วนประกอบและหน้าทขี่ องเคร่ืองเลอ่ื ยกล 1.3 ชือ่ และหน้าท่ีเครอ่ื งมือ 2.ตรวจสอบปากกาใหต้ ้ังฉากกับเครื่องเลื่อย 2.1 บอกสว่ นประกอบและหนา้ ทขี่ องเครือ่ งเลอ่ื ยกล 2.2 บอกเคร่อื งมือและอปุ กรณ์ท่ีใชก้ บั เคร่ืองเล่ือยกล 3.นาใบเลือ่ ยจบั ยดึ บนโครงเลื่อย 3.1 บอกสว่ นประกอบและหน้าทข่ี องเคร่อื งเลอ่ื ยกล 3.2 บอกเคร่อื งมอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชก้ บั เคร่ืองเลื่อยกล 4.จบั ชิ้นงานทจ่ี ะเลื่อยดว้ ยปากกาวัดความยาว 4.1 บอกเครอ่ื งมือและอุปกรณท์ ่ีใช้กับเครื่องเลอ่ื ยกล งานทจ่ี ะตัดด้วยฟตุ เหล็กหรอื เวอรเ์ นียร์ ขัน 4.2 อธบิ ายขนั้ ตอนการใชเ้ ครื่องเลอ่ื ยกล ปากกาจบั ยึดชิน้ งานให้แน่น 5.เปิดสวติ ช์เครื่องแล้วคอ่ ยๆวางโครงเลอ่ื ยลง 5.1 อธบิ ายข้ันตอนการใช้เครอ่ื งเลอื่ ยกล ตัดบนช้ินงาน 6.เกบ็ เครื่องมือทาความสะอาด 6.1 ตรวจสอบจานวนเครื่องมือ 6.2 ทาความสะอาดเคร่ืองมืออุปกรณ์

13 ตารางวิเคราะหง์ าน หน้าที่ แผ่นที่ : ระดับ(IS) ทกั ษะ ระดับ (PS) R AT Skill I CA  1.เตรียมเครอ่ื งมือ วัสดุและอุปกรณ์    ล 2.ตรวจสอบปากกาใหต้ ัง้ ฉากกบั เคร่อื งเล่อื ย  ล ล 3.นาใบเลือ่ ยจบั ยดึ บนโครงเลือ่ ย  ล ล 4.จับชนิ้ งานทีจ่ ะเลอื่ ยดว้ ยปากกาวัดความยาวงาน   ที่จะตัดด้วยฟุตเหล็กหรือเวอร์เนียร์ ขนั ปากกาจบั ยึดชิ้นงานใหแ้ น่น  5.เปดิ สวิตชเ์ ครอื่ งแล้วคอ่ ยๆวางโครงเลอื่ ยลงตดั  บนชน้ิ งาน  6.เกบ็ เครือ่ งมือทาความสะอาด  

14 ใบรายการวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม หน้าที่ รหสั 20100-1007วชิ า งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งต้น วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ระดบั วตั ถุประสงค์ ทฤษฎี  ทฤษฎีและปฏิบตั ิ รายการสอน ความรู้ ทักษะ 1.เคร่ืองเลอื่ ยกลและงานเลอ่ื ย 1. บอกชนิดของเคร่อื งเล่ือยกลได้ R AT ICA 2. บอกส่วนประกอบทส่ี าคญั เคร่ืองเลือ่ ยกลได้ 2.เครือ่ งเจยี ระไนลบั คมตัด และ 3. บอกเครอ่ื งมือและอุปกรณท์ ่ใี ชก้ ับเครื่องเล่อื ยกลได้  งานลบั เครอ่ื งมอื ตดั 4. อธบิ ายขัน้ ตอนการใชเ้ คร่อื งเลอื่ ยกลได้  5. บอกวธิ ีการบารุงรกั ษาเครื่องเลอ่ื ยกลได้  3.เครื่องเจาะ และงานเจาะ งาน 6. อธบิ ายความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องเลอ่ื ยกลได้ รีมเมอร์ งานตาปเกลยี ว 7. ตัดเหลก็ เพลากลมดว้ ยเครื่องเลอ่ื ยกลแบบชักไดถ้ กู ต้อง  8. ตัดเหล็กเหลยี่ มด้วยเครอ่ื งเล่ือยกลแบบชักไดถ้ กู ต้อง  1. บอกชนิดของเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตัดได้  2. บอกส่วนประกอบท่สี าคญั เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตดั ได้ 3. บอกเครอ่ื งมอื และอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเจยี ระไนลับคมตัดได้  4. อธิบายข้นั ตอนการทางานของเครื่องเจยี ระไนลบั คมตัดได้  5. บอกวธิ ีการบารงุ รกั ษาเครือ่ งเจยี ระไนลบั คมตัดได้ 6. อธิบายความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่อื งเจียระไนลับคมตัดได้   7. สามารถลับมดี กลึงปาดหนา้ ขวาได้  8. สามารถลับมดี กลึงปอกขวาได้  9. สามารถลบั มดี ไสผิวราบได้ 10. สามารถลบั มีดไสตกร่องบา่ ฉากได้  11. สามารถลบั ดอกสว่านได้   1. บอกชนดิ และส่วนประกอบของเครื่องเจาะได้   2. บอกเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ทใ่ี ชก้ บั เครอื่ งเจาะได้  3. อธิบายข้ันตอนการทางานของเคร่อื งเจาะได้  4. สามารถคานวณความเร็วในงานเจาะได้  5. บอกวธิ ีการบารงุ รักษาเครอ่ื งเจาะได้ 6. อธิบายความปลอดภัยในการใชเ้ ครอ่ื งเจาะได้   7. สามารถรา่ งแบบ เจาะรู ผายรบู า่ ฉาก และผายปากรูได้   8. สามารถตาปเกลียว คว้านละเอยี ดดว้ ยดอกรีมเมอรไ์ ด้     4. เคร่ืองกลึงและงานกลงึ 1. บอกชนดิ ของเคร่อื งกลึงได้  2. บอกขนาดและส่วนประกอบทส่ี าคญั ของเครอ่ื งกลงึ ได้  3. บอกเครอื่ งมือและอุปกรณ์ที่ใชก้ บั เคร่ืองกลงึ ได้  4. อธิบายขนั้ ตอนการทางานของเครอ่ื งกลงึ ได้ 5. สามารถคานวณความเร็วในงานกลึงได้  6. บอกวิธกี ารบารงุ รกั ษาเครือ่ งกลงึ ได้  7. อธบิ ายความปลอดภัยในการใชเ้ คร่อื งกลงึ ได้  8. สามารถกลงึ ปอกขวาได้  

ใบรายการวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 15 หน้าที่ รายการสอน รหสั 20100-1007วชิ า งานเครอื่ งมือกลเบื้องต้น ระดบั วตั ถุประสงค์ 4. เคร่ืองกลงึ และงานกลงึ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม ความรู้ ทักษะ 5. เครอื่ งไสและงานไส ทฤษฎี  ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ R AT ICA 9. สามารถกลึงตกร่องและกลงึ เกลียวสามเหลีย่ มได้ 1. บอกชนิดของเคร่อื งไสได้   2. บอกสว่ นประกอบท่ีสาคญั ของเครือ่ งไสได้   3. บอกเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ท่ีใชก้ ับเคร่อื งไสได้   4. อธิบายขั้นตอนการทางานของเคร่อื งไสได้ 5. สามารถคานวณความเรว็ ในงานไสได้  6. บอกวิธกี ารบารุงรักษาเครื่องไสได้  7. อธบิ ายความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่อื งไสได้  8. สามารถไสราบได้ 9. สามารถไสบ่าฉากได้ 

16 กาหนดการสอน ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ / รายการสอน สมรรถนะประจาหนว่ ย สัปดาห์ ช่วั โมง ที่ ที่ 1.เครอ่ื งเลอ่ื ยกลและงานเลื่อยกล แสดงความรเู้ กี่ยวกบั เครื่องเลอ่ื ยกลและงานเลื่อยกล 1-3 1-12 2.เครื่องเจียระไนลบั คมตัดและงานลับคมตดั แสดงความรเู้ กย่ี วกับเครอื่ งเจียระไนลับคมตัดและงานลบั คมตัด 4-7 13-28 8-11 29-40 3.เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ งานรีมเมอร์ แสดงความรู้เกี่ยวกับเครื่องเจาะและงานเจาะ งานรีมเมอร์ งานตาปเกลียว งานตาปเกลียว 4.เคร่ืองกลึงและงานกลงึ แสดงความรเู้ กย่ี วกับเครอ่ื งกลึงและงานกลึง 12-14 41-56 15-17 57-68 5.เครื่องไสและงานไส แสดงความร้เู ก่ียวกบั เครื่องไสและงานไส 18 69-72 สอบปลายภาค

17 ส่วนท่ี 2 แผนการจดั การเรียนรู้บูรณาการ และหนว่ ยการเรยี นรู้

18 กรอบการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการเป็นเร่ือง/ช้ินงาน/โครงการ และบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สมรรถนะดา้ นความมีเหตผุ ล สมรรถนะด้านความพอประมาณ สมรรถนะดา้ นความมภี มู ิคมุ้ กัน ใชเ้ ครอื่ งมือได้ถกู ต้องกบั การใช้เครือ่ งเลอื่ ยอย่างถูกวธิ จี ะ การปฏิบัติงานควรคานึงถงึ ความ ยืดอายขุ องเคร่อื งเลอื่ ยกลให้ ลักษณะงานทป่ี ฏิบตั ิ ยาวนานข้นึ ปลอดภยั เป็นหลกั เง่ือนไขดา้ นความร้แู ละทักษะ เครื่องเล่อื ยกล เง่ือนไขดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามรแู้ ละทกั ษะในการใช้ และงานเล่ือย คา่ นิยม คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ เครอื่ งเลื่อยกล คดิ ไตร่ตรองให้รอบคอบกอ่ น ตัดสินใจ ตระหนักถงึ ผลกระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ ม มคี วามซ่ือสัตย์และ ความรับผดิ ชอบต่องาน ผลกระทบเพ่ือความสมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ด้านสงั คม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นวฒั นธรรม ด้านสิง่ แวดลอ้ ม มี ค ว า ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง รู้จักวิธีการใช้เคร่ืองจักร หลังจากใช้งานเครื่องจักร ให้ความสาคัญกับการใช้ รอบคอบในการปฏิบัติงาน แ ล ะ ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า เสร็จแล้ว ต้องทาคว าม เครื่องจักรกล วัสดุอุปกรณ์ กับเคร่ืองจักรเพื่อไม่ให้เกิด เครื่องจักรท่ีถูกต้องเพื่อ สะอาดและบารุงรักษาทุก อ ย่ า ง ป ร ะ ห ยั ด คุ้ ม ค่ า อบุ ัตเิ หตกุ บั ตนเองและผู้อนื่ ไม่ให้เครื่องจักรเกิดการ ครัง้ เหมาะสมกับงาน ชารุดก่อนเวลา หมายเหตุ หากเปน็ การบูรณาการในหนว่ ยการเรยี นรหู้ น่วยใดหนว่ ยหนึง่ ให้นาแผนภูมนิ ไ้ี ปนาเสนอในหนว่ ยการเรยี นรู้น้นั

19 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 จานวน 12ช่ัวโมง สปั ดาห์ที่ 1-3 ชื่อวชิ า งานเครื่องมือกลเบอื้ งต้น ชือ่ หน่วย เคร่อื งเลอื่ ยกลและงานเล่ือย ชอื่ เร่อื ง เครอ่ื งเลอื่ ยกลและงานเล่ือย 1. สาระสาคญั ในการปฏบิ ัติงานด้วยเคร่ืองมือกล โดยทั่วไปจะมกี ารเลอ่ื ยชน้ิ งานเพื่อตัดแยกวัสดแุ ลว้ นาไปใชใ้ นการ แปรรูปหรอื เพ่ือให้สามารถจัดเก็บวัสดไุ ด้ง่าย ดังนัน้ งานเล่อื ยกลจึงมคี วามสาคญั มาก ผู้ปฏบิ ัตงิ านจงึ ควร ศึกษาเกยี่ วกับวธิ กี ารใช้เคร่ืองเล่ือยกลให้มีความร้แู ละความเขา้ ใจเป็นอยา่ งดีก่อน จงึ จะปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่าง ถกู ต้อง 2. สมรรถนะประจาหน่วย 2.1 แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเครื่องเลอื่ ยกลและงานเล่ือยกล 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 บอกชนิดของเครอ่ื งเล่ือยกลได้ 3.2 บอกหนา้ ที่ของสว่ นประกอบของเครื่องเล่ือยกลแบบชักได้ 3.3 บอกวิธกี ารทางานของเคร่อื งเลอื่ ยกลแบบชกั ได้ 3.4 บอกวิธีการใช้งานของเคร่ืองเลอื่ ยกลแบบชักได้ 3.5 บอกความปลอดภยั ในการใช้เครอ่ื งเล่ือยกลแบบชกั ได้ 3.6 บอกวิธกี ารบารงุ รักษาเครือ่ งเล่อื ยกลแบบชักได้ 3.7 เลอ่ื ยช้ินงานกลมดว้ ยเคร่ืองเล่ือยกลแบบชักได้ 3.8 เลอ่ื ยช้ินงานสีเ่ หลย่ี มเคร่ืองเลื่อยกลแบบชักได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความหมายของการเลอ่ื ย 4.2 ชนดิ ของเครื่องเล่อื ยกล 4.3 สว่ นประกอบของเคร่อื งเล่อื ยกลแบบชกั 4.4 เครือ่ งมอื และอปุ กรณท์ ีใ่ ชก้ บั เคร่ืองเล่ือยกลแบบชัก 4.5 หลักการทางานของเคร่ืองเลื่อยกลแบบชกั 4.6 ข้นั ตอนในการใช้งานเครือ่ งเล่อื ยกลแบบชกั 4.7 ความปลอดภยั ในการใช้เครื่องเล่ือยกลแบบชัก 4.8 การบารุงรักษาเครอื่ งเลื่อยกลแบบชัก

20 5. ขนั้ สนใจปัญหา (Motivation) เป็นข้ันการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการ เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันซึ่งในข้ันตอนนี้ครูจะใช้คาถามประกอบกับสื่อpower point หรืออุปกรณ์ของจริงในการนาเข้าสู่บทเรียน พร้อมทั้งบอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนของแผนการ เรยี น ข้นั ให้เนื้อหา (Information) 1. แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ผู้สอนนาเขา้ สู่บทเรยี นโดยใชค้ าถามนา ใหน้ กั เรียนตอบคาถามแสดงความคิดเห็น 3. ผู้สอนให้นักเรียนอ่านทาความเข้าใจเนอื้ หา และผู้สอนอธิบายเนื้อหาโดยใช้สื่อการสอน Power Point ประกอบการบรรยายเพอ่ื ให้นักเรยี นเข้าใจเนื้อหาสาระของการเรียนรู้ 4. ผสู้ อนอธิบายและสรุปเน้ือหา 5. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ขนั้ พยายาม (Application) 1.นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2.นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานตามใบสง่ั งาน ข้ันสาเร็จผล (Progress) 1.ใหค้ ะแนนตามผลงานแล้วแจ้งผเู้ รียน 2.ผูเ้ รยี นรว่ มกับผสู้ อนสรุปสาระสาคญั 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 สือ่ 1. ใชข้ องจรงิ ประกอบการบรรยายและสาธติ 2. ใบความรู้ 3. หนงั สอื /ตาราเรียน 4. สอื่ การสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ขอ้ มลู จากสถานประกอบการ 2. ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 1. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบหลังเรียนประจาหน่วย 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 2. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั ิงาน

21 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ 1. แบบทดสอบหลงั เรียนประจาหน่วย 2. แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี น 2. คะแนนจากแบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. คะแนนจากใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย (ถา้ มี) 9.1 ใหน้ กั เรียนสบื คน้ ข้อมลู เพม่ิ เติม หรือทบทวนเน้ือหาจากหนังสอื อ่านเสรมิ และเว็บไซตท์ ่หี อ้ งศนู ย์ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ในเวลาว่าง 10. เอกสารอา้ งองิ 10.1 อานาจ ทองแสน, งานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ , สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบุรี, ก.พ.2556 10.2สมบัติ ชิวหา, ทฤษฎเี คร่ืองมือกล, สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบรุ ี, ก.ค.2557 11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ 11.3แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา

22 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 2 จานวน16ชว่ั โมง สปั ดาห์ที่ 4-7 ชอ่ื วชิ า งานเครอื่ งมอื กลเบื้องต้น ชื่อหน่วย เครอ่ื งเจยี ระไนลับคมตัด และงานลับเคร่อื งมอื ตดั ชอ่ื เรอื่ ง เคร่ืองเจียระไนลับคมตัด และงานลบั เครือ่ งมือตดั 1. สาระสาคญั คมของเครื่องมือตัด เช่น มีดกลึง มีดไส ดอกสว่าน เป็นต้น เมื่อนามาทาการตัดเฉือนวัสดุจะเกิดการ เสียดสีกันระหว่างคมตัดกับเนื้อวัสดุช้ินงาน ทาให้เกิดความร้อนและมีอุณหภูมิสูง ส่งผลให้คมตัดเกิดการสึก หรอ ดงั น้นั ผ้ปู ฏบิ ัติงานจึงต้องศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการลับคมตัดให้ถูกต้อง ท้ังนี้เพ่ือให้เครื่องมือตัดท่ีใช้ งานแล้วสามารถนากลับมาใช้งานอีกคร้ัง 2. สมรรถนะประจาหน่วย 2.1 แสดงความรเู้ กยี่ วกับเคร่ืองเจยี ระไนและงานลับคมตดั 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 บอกชนิดของเครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดได้ 3.2 บอกหนา้ ท่ขี องสว่ นประกอบของเครอื่ งเจยี ระไนลับคมตดั ได้ 3.3 บอกวธิ กี ารทางานของเคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตัดได้ 3.4 บอกวธิ ีการใช้งานของเคร่อื งเจยี ระไนลบั คมตัดได้ 3.5 บอกวธิ กี ารบารงุ รักษาเครือ่ งเจียระไนลับคมตดั ได้ 3.6 บอกการใชเ้ ครื่องเจยี ระไนลับคมตัดเพื่อความปลอดภัยได้ 3.7 ลบั มีดกลงึ ปาดหน้าได้ 3.8 ลับมดี กลึงปอกได้ 3.9 ลับดอกสวา่ นได้ 3.10 ลับมดี ไสราบได้ 3.11 ลับมดี ไสบา่ ฉากได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ชนิดของเครอ่ื งเจียระไนลับคมตดั 4.2 ส่วนประกอบของเคร่อื งเจียระไนลบั คมตัด 4.3 เครอ่ื งมือวดั และตรวจสอบคมตัด 4.4 การทางานของเคร่ืองเจียระไนลับคมตัด 4.5 ข้นั ตอนในการใช้งานของเคร่อื งเจยี ระไนลบั คมตดั 4.6 ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งเจียระไนลับคมตัด 4.7 การบารุงรักษาเครือ่ งเจยี ระไนลับคมตดั 4.8 การลับมีดกลงึ ปาดหนา้ 4.9 การลบั มดี กลึงปอกขวา 4.6 การลบั มดี ไสราบ 4.7 การลับมีดไสบา่ ฉาก 4.8 การลับดอกสว่าน

23 5. ขนั้ สนใจปัญหา (Motivation) เป็นข้ันการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการ เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันซึ่งในข้ันตอนน้ีครูจะใช้คาถามประกอบกับส่ือpower point หรืออุปกรณ์ของจริงในการนาเข้าสู่บทเรียน พร้อมทั้งบอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนของแผนการ เรยี น ข้นั ให้เนื้อหา (Information) 1. แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ผู้สอนนาเขา้ สู่บทเรยี นโดยใชค้ าถามนา ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามแสดงความคิดเห็น 3. ผู้สอนให้นักเรียนอ่านทาความเข้าใจเนอื้ หา และผู้สอนอธิบายเนื้อหาโดยใช้ส่ือการสอน Power Point ประกอบการบรรยายเพอ่ื ให้นักเรยี นเข้าใจเนื้อหาสาระของการเรยี นรู้ 4. ผสู้ อนอธิบายและสรุปเน้ือหา 5. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ขนั้ พยายาม (Application) 1.นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2.นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานตามใบสง่ั งาน ข้ันสาเร็จผล (Progress) 1.ใหค้ ะแนนตามผลงานแล้วแจ้งผเู้ รียน 2.ผูเ้ รยี นรว่ มกับผสู้ อนสรุปสาระสาคญั 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 สือ่ 1. ใชข้ องจรงิ ประกอบการบรรยายและสาธติ 2. ใบความรู้ 3. หนงั สอื /ตาราเรียน 4. สอื่ การสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ขอ้ มลู จากสถานประกอบการ 2. ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 1. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบหลังเรียนประจาหน่วย 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 2. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั ิงาน

24 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ 1. แบบทดสอบหลงั เรียนประจาหน่วย 2. แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี น 2. คะแนนจากแบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. คะแนนจากใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย (ถา้ มี) 9.1 ใหน้ กั เรียนสบื คน้ ข้อมลู เพม่ิ เติม หรือทบทวนเน้ือหาจากหนังสอื อ่านเสรมิ และเว็บไซตท์ ่หี อ้ งศนู ย์ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ในเวลาว่าง 10. เอกสารอา้ งองิ 10.1 อานาจ ทองแสน, งานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ , สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบุรี, ก.พ.2556 10.2สมบัติ ชิวหา, ทฤษฎเี คร่ืองมือกล, สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบรุ ี, ก.ค.2557 11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ 11.3แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา

25 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3 จานวน 12ชัว่ โมง สัปดาห์ท่ี 8-11 ช่อื วิชา งานเคร่อื งมอื กลเบ้อื งตน้ ชอ่ื หน่วย เครอ่ื งเจาะ และงานเจาะ งานรีมเมอร์ งานตาปเกลยี ว ชื่อเรอ่ื ง เคร่ืองเจาะ และงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาปเกลยี ว 1. สาระสาคัญ งานเจาะเป็นกระบวนการขึ้นรูปท่ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อทาให้เกิดรูที่ช้ินงาน ซ่ึงการเจาะนี้อาจใช้ดอกสว่าน หมุนตัดลงในวัสดุช้ินงานหรือเครื่องมือตัดในลักษณะอื่นๆ เช่น ใช้ดอกเจาะเพื่อขยายปากรู เป็นต้น ดังน้ัน ก่อนจะปฏบิ ัตงิ านเจาะ จะต้องศึกษาเกี่ยวกับ ชนิด ส่วนประกอบ เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานเจาะ รวมท้ัง การบารุงรักษาและความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองเจาะให้เข้าใจก่อนจึงจะปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและ ปลอดภัย 2. สมรรถนะประจาหนว่ ย 2.1 แสดงความร้เู กี่ยวกบั เคร่ืองเจาะและงานเจาะ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จาแนกชนิดของเคร่ืองเจาะได้ 3.2 บอกหน้าที่ของส่วนประกอบของเคร่ืองเจาะได้ 3.3 บอกวิธีการทางานของเครื่องเจาะได้ 3.4 บอกวิธีการใช้งานของเครื่องเจาะได้ 3.5 บอกชอ่ื และหน้าท่ีของเคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ใชก้ บั เครื่องเจาะได้ 3.6 บอกความปลอดภยั ในการใช้เครื่องเจาะได้ 3.7 บอกวิธีการบารุงรักษาเคร่ืองเจาะได้ 3.8 คานวณคา่ ความเร็วรอบ ความเรว็ ตดั และอัตราการป้อนงานได้ 3.9 บอกความหมายของการควา้ นเรียบได้ 3.10 เจาะรูและควา้ นเรียบตามใบส่งั งานได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความหมายของการเจาะ 4.2 ชนิดของเครื่องเจาะ 4.3 หนา้ ที่และส่วนประกอบของเครื่องเจาะ 4.4 เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ในเจาะ 4.5 ความเรว็ รอบ ความเร็วตัด และอัตราการป้อนในงานเจาะ 4.6 หลกั การทางานดว้ ยเครอ่ื งเจาะ 4.7 ขั้นตอนในการใช้งานเคร่ืองเจาะ 4.8 ความปลอดภยั ในการใช้เครอื่ งเจาะ 4.9 การบารุงรกั ษาเครื่องเจาะ 4.10 การควา้ นเรยี บ

26 5. ขนั้ สนใจปัญหา (Motivation) เป็นข้ันการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการ เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันซึ่งในข้ันตอนนี้ครูจะใช้คาถามประกอบกับสื่อpower point หรืออุปกรณ์ของจริงในการนาเข้าสู่บทเรียน พร้อมทั้งบอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนของแผนการ เรยี น ข้นั ให้เนื้อหา (Information) 1. แจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ผู้สอนนาเขา้ สู่บทเรยี นโดยใชค้ าถามนา ใหน้ กั เรียนตอบคาถามแสดงความคิดเห็น 3. ผูส้ อนใหน้ ักเรียนอ่านทาความเข้าใจเนอื้ หา และผู้สอนอธิบายเนื้อหาโดยใช้สื่อการสอน Power Point ประกอบการบรรยายเพอ่ื ให้นักเรยี นเข้าใจเนื้อหาสาระของการเรียนรู้ 4. ผสู้ อนอธบิ ายและสรุปเน้ือหา 5. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ขนั้ พยายาม (Application) 1.นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2.นกั เรยี นลงมอื ปฏบิ ตั ิงานตามใบสง่ั งาน ข้ันสาเร็จผล (Progress) 1.ใหค้ ะแนนตามผลงานแล้วแจ้งผเู้ รียน 2.ผูเ้ รียนรว่ มกับผสู้ อนสรุปสาระสาคญั 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 สอื่ 1. ใช้ของจรงิ ประกอบการบรรยายและสาธติ 2. ใบความรู้ 3. หนังสอื /ตาราเรียน 4. สอื่ การสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ขอ้ มลู จากสถานประกอบการ 2. ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 1. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบหลังเรียนประจาหน่วย 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 2. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั ิงาน

27 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ 1. แบบทดสอบหลงั เรียนประจาหน่วย 2. แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี น 2. คะแนนจากแบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. คะแนนจากใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย (ถา้ มี) 9.1 ใหน้ กั เรียนสบื คน้ ข้อมลู เพม่ิ เติม หรือทบทวนเน้ือหาจากหนังสอื อ่านเสรมิ และเว็บไซตท์ ่หี อ้ งศนู ย์ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ในเวลาว่าง 10. เอกสารอา้ งองิ 10.1 อานาจ ทองแสน, งานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ , สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบุรี, ก.พ.2556 10.2สมบัติ ชิวหา, ทฤษฎเี คร่ืองมือกล, สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบรุ ี, ก.ค.2557 11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ 11.3แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา

28 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 จานวน 16ช่วั โมง สปั ดาหท์ ี่ 12-14 ชื่อวชิ า งานเครือ่ งมอื กลเบอื้ งตน้ ชื่อหน่วย เครื่องกลึงและงานกลงึ ชอื่ เร่อื ง เครอ่ื งกลึงและงานกลึง 1. สาระสาคญั งานกลึง เปน็ กระบวนการขนึ้ รูปโดยใหช้ ิน้ งานหมุนรอบแกน จากนั้นใช้มีดกลึงเคล่ือนท่ีตัดเฉือนเนื้อวัสดุ ชน้ิ งานออกตามแนวยาวหรือแนวขวาง สว่ นเครอื่ งมอื กลที่ใชใ้ นกระบวนการขนึ้ รปู นี้ เรยี กว่า เคร่อื งกลงึ 2. สมรรถนะประจาหนว่ ย 2.1 แสดงความรู้เกย่ี วกบั เครอ่ื งกลึงพืน้ ฐานและงานกลึง 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จาแนกชนิดของเครื่องกลึงได้ 3.2 บอกหน้าท่ีของสว่ นประกอบของเครื่องกลึงได้ 3.3 บอกวิธกี ารทางานของเครื่องกลึงได้ 3.4 บอกวธิ กี ารใช้งานของเคร่ืองกลงึ ได้ 3.5 บอกชอื่ และหน้าท่ีของเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชก้ ับเครื่องกลึงได้ 3.6 บอกความปลอดภัยในการใชเ้ คร่ืองกลึงได้ 3.7 บอกวธิ กี ารบารุงรักษาเคร่อื งกลึงได้ 3.8 คานวณคา่ ความเร็วรอบ ความเรว็ ตัด และอตั ราการป้อนงานได้ 3.9 กลงึ ปาดหนา้ ตามใบสั่งงานได้ 3.10 กลึงปอกผิวตามใบสั่งงานได้ 3.11 เจาะรยู ันศนู ย์บนเครอื่ งกลงึ ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความหมายของงานกลงึ 4.2 ชนิดของเคร่อื งกลงึ 4.3 ส่วนประกอบของเครอื่ งกลึง 4.4 เคร่อื งมือและอุปกรณ์ที่ใชก้ ับเครื่องกลึง 4.5 การคานวณความเรว็ รอบและอัตราการปอ้ นของงานกลึง 4.6 หลักการทางานของเคร่อื งกลงึ 4.7 ข้ันตอนในการใชง้ านเคร่ืองกลึง 4.8 การขึน้ รปู ชนิ้ งานด้วยเคร่อื งกลึงยันศูนย์ 4.9 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครือ่ งกลึง 4.10 การบารุงรักษาเครอ่ื งกลงึ

29 5. ขนั้ สนใจปัญหา (Motivation) เป็นข้ันการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการ เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันซึ่งในข้ันตอนนี้ครูจะใช้คาถามประกอบกับสื่อpower point หรืออุปกรณ์ของจริงในการนาเข้าสู่บทเรียน พร้อมทั้งบอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนของแผนการ เรยี น ข้นั ให้เนื้อหา (Information) 1. แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ผู้สอนนาเขา้ สู่บทเรยี นโดยใชค้ าถามนา ใหน้ กั เรียนตอบคาถามแสดงความคิดเห็น 3. ผู้สอนให้นักเรียนอ่านทาความเข้าใจเนอื้ หา และผู้สอนอธิบายเนื้อหาโดยใช้สื่อการสอน Power Point ประกอบการบรรยายเพอ่ื ให้นักเรยี นเข้าใจเนื้อหาสาระของการเรียนรู้ 4. ผสู้ อนอธิบายและสรุปเน้ือหา 5. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ขนั้ พยายาม (Application) 1.นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2.นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานตามใบสง่ั งาน ข้ันสาเร็จผล (Progress) 1.ใหค้ ะแนนตามผลงานแล้วแจ้งผเู้ รียน 2.ผูเ้ รยี นรว่ มกับผสู้ อนสรุปสาระสาคญั 6. ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 สือ่ 1. ใชข้ องจรงิ ประกอบการบรรยายและสาธติ 2. ใบความรู้ 3. หนงั สอื /ตาราเรียน 4. สอื่ การสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ขอ้ มลู จากสถานประกอบการ 2. ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ นต็ 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 1. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบหลังเรียนประจาหน่วย 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 2. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั ิงาน

30 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ 1. แบบทดสอบหลงั เรียนประจาหน่วย 2. แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรยี น 2. คะแนนจากแบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. คะแนนจากใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน 9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย (ถา้ มี) 9.1 ใหน้ กั เรียนสบื คน้ ข้อมลู เพม่ิ เติม หรือทบทวนเน้ือหาจากหนังสอื อ่านเสรมิ และเว็บไซตท์ ่หี อ้ งศนู ย์ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ในเวลาว่าง 10. เอกสารอา้ งองิ 10.1 อานาจ ทองแสน, งานเครือ่ งมือกลเบื้องตน้ , สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบุรี, ก.พ.2556 10.2สมบัติ ชิวหา, ทฤษฎเี คร่ืองมือกล, สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบรุ ี, ก.ค.2557 11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ 11.3แนวทางแกป้ ัญหาและหรือพัฒนา

31 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 5 จานวน 12ชวั่ โมง สปั ดาหท์ ่ี 15-17 ช่อื วิชา งานเคร่อื งมอื กลเบื้องตน้ ชื่อหน่วย เครอ่ื งไสและงานไส ชือ่ เรื่อง เคร่ืองไสและงานไส 1. สาระสาคัญ เครื่องไสเป็นเครื่องมือกลอีกชนิดหนึ่งท่ีส่วนใหญ่มีการเคล่ือนท่ีในแนวเส้นตรงและการเคล่ือนท่ีไป -กลับ เรียกวา่ ค่จู ังหวะไส ลักษณะการขึ้นรปู ด้วยการไส เชน่ การไสบ่าฉาก การไสมุมเอียง ร่องบาก ร่องหางเหย่ียว และการไสร่องล่ิม เปน็ ต้น 2. สมรรถนะประจาหนว่ ย 2.1 แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เครื่องไสและงานไส 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จาแนกชนิดของเครื่องไสได้ 3.2 บอกหน้าที่ของสว่ นประกอบของเครื่องไสได้ 3.3 บอกวิธีการทางานของเครื่องไสได้ 3.4 บอกวิธีการใชง้ านของเครื่องไสได้ 3.5 บอกช่อื และหน้าที่ของเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใช้กับเคร่ืองไสได้ 3.6 บอกความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องไสได้ 3.7 บอกวธิ กี ารบารุงรักษาเครอ่ื งไสได้ 3.8 ไสราบตามใบสงั่ งานได้ 3.9 ไสบ่าฉากตามใบสง่ั งานได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ชนิดของเครอ่ื งไส 4.2 สว่ นประกอบของเครอ่ื งไส 4.3 เครื่องมอื และอปุ กรณ์ทีใ่ ชก้ ับเครื่องไส 4.4 การคานวณในงานไส 4.5 หลกั การทางานของเคร่อื งไส 4.6 ขนั้ ตอนในการใช้งานเคร่อื งไส 4.7 การไสราบและการไสบา่ ฉากดว้ ยเคร่ืองไสนอน 4.8 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองกดั 4.9 การบารงุ รกั ษาเคร่อื งกัด 5. ขนั้ สนใจปัญหา (Motivation) เป็นขั้นการสร้างความสนใจโดยเร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นอยากคิดอยากทาโดยการ เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกันซึ่งในขั้นตอนน้ีครูจะใช้คาถามประกอบกับสื่อpower point หรืออปุ กรณ์ของจรงิ ในการนาเข้าสบู่ ทเรียน พรอ้ มทัง้ บอกจุดประสงค์ในการเรียนการสอนของแผนการ

32 ข้นั ให้เนอื้ หา (Information) 1. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ หน้ กั เรียนทราบ 2. ผสู้ อนนาเขา้ สู่บทเรียนโดยใชค้ าถามนา ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามแสดงความคิดเหน็ 3. ผสู้ อนให้นักเรียนอ่านทาความเขา้ ใจเน้ือหา และผู้สอนอธิบายเนื้อหาโดยใช้ส่ือการสอน Power Point ประกอบการบรรยายเพอ่ื ให้นกั เรียนเขา้ ใจเน้ือหาสาระของการเรยี นรู้ 4. ผู้สอนอธิบายและสรปุ เนอ้ื หา 5. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน ขั้นพยายาม (Application) 1.นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2.นกั เรยี นลงมอื ปฏบิ ตั งิ านตามใบสั่งงาน ขั้นสาเร็จผล (Progress) 1.ให้คะแนนตามผลงานแล้วแจ้งผู้เรยี น 2.ผเู้ รียนรว่ มกับผูส้ อนสรุปสาระสาคญั 6. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 6.1 สื่อ 1. ใชข้ องจริงประกอบการบรรยายและสาธิต 2. ใบความรู้ 3. หนังสอื /ตาราเรยี น 4. สื่อการสอน 5. ใบงาน 6. ใบมอบหมายงาน 6.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1. ข้อมูลจากสถานประกอบการ 2. ขอ้ มูลทางอนิ เทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรยี นรู้ 7.1 หลักฐานความรู้ 1. ผลคะแนนจากการประเมินแบบทดสอบหลงั เรยี นประจาหนว่ ย 7.2 หลกั ฐานการปฏิบัติงาน 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 2. ผลคะแนนจากการประเมินการปฏิบตั งิ าน 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 8.1 เคร่อื งมือประเมิน 1. แบบทดสอบหลงั เรยี นประจาหนว่ ย 2. แบบประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน

33 2. คะแนนจากแบบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. คะแนนจากใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย (ถ้ามี) 9.1 ใหน้ ักเรียนสบื ค้นข้อมูลเพิม่ เติม หรือทบทวนเน้ือหาจากหนงั สืออา่ นเสรมิ และเวบ็ ไซต์ท่หี อ้ งศูนย์ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ในเวลาวา่ ง 10. เอกสารอ้างอิง 10.1 อานาจ ทองแสน, งานเครอ่ื งมือกลเบอ้ื งตน้ , สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบรุ ,ี ก.พ.2556 10.2สมบตั ิ ชวิ หา, ทฤษฎเี คร่ืองมือกล, สานักพิมพเ์ มืองไทย: นนทบุรี, ก.ค.2557 11. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ปัญหาอปุ สรรคทพ่ี บ 11.3แนวทางแก้ปัญหาและหรอื พัฒนา