Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ม.ปลาย

ภาษาไทย ม.ปลาย

Published by รัตน์สุดา จันทะนะ, 2020-10-03 13:42:07

Description: ภาษาไทย ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนอื้ หาทีต่ อ งรู รายวิชาภาษาไทย ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รหสั พท31001 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนา ย หนังสอื เรยี นนี้จดั พมิ พด ว ยเงินงบประมาณแผนดินเพอ่ื การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธ์ิเปนของสาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คาํ นํา หนา คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนือ้ หาทต่ี องรู บทท่ี 1 การฟง การดู 1 3 เรอ่ื งท่ี 1 การเลอื กสอื่ ในการฟง และการพูด 9 เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหว ิจารณเรอ่ื งทฟ่ี ง และดู 12 เรอื่ งท่ี 3 มารยาทในการฟงและการดู กิจกรรมทายบท 13 บทท่ี 2 การพดู 13 เรอ่ื งท่ี 1 มารยาทในการพดู 15 เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะการพดู ทีด่ ี 27 เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ กจิ กรรมทา ยบท 28 บทที่ 3 การอาน 28 เรอ่ื งท่ี 1 ความสําคญั ของการอาน 29 เรอ่ื งท่ี 2 วิจารณญาณในการอาน 31 เร่อื งท่ี 3 การอา นแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความหรอื สรปุ ความ 32 เรื่องที่ 4 มารยาทและนสิ ยั รักการอาน กจิ กรรมทายบท 34 บทที่ 4 การเขยี น 35 เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขียนประเภทตา ง ๆ 40 เรอ่ื งท่ี 2 หลักการแตง คาํ ประพนั ธ 43 เร่อื งท่ี 3 มารยาทและนสิ ยั รักการเขยี น กจิ กรรมทา ยบท

สารบัญ (ตอ ) 5 บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา หนา เร่อื งที่ 1 ธรรมชาติของภาษา เรอ่ื งท่ี 2 ถอ ยคําสํานวน คําพังเพย สุภาษิต 45 เรอ่ื งท่ี 3 ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย 47 เร่ืองท่ี 4 คําสุภาพและคาํ ราชาศพั ท 48 เรอื่ งที่ 5 เคร่อื งหมายวรรคตอน 50 กจิ กรรมทา ยบท 54 57 บทที่ 6 วรรณคดี วรรณกรรม เรื่องที่ 1 วรรณคดี วรรณกรรม 59 เรอ่ื งท่ี 2 วรรณกรรมทองถิ่น 60 เรื่องที่ 3 วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม 63 บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี 65 เรอ่ื งท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย 66 เรอ่ื งที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี เรอื่ งที่ 3 การเพิ่มพูนความรแู ละประสบการณทางดา นภาษาไทย 67 เพ่อื การประกอบอาชพี 68 84 เฉลยกจิ กรรมทายบท 85 บรรณานกุ รม คณะผูจัดทาํ

6 คาํ แนะนาํ การใชเ อกสารสรุปเน้ือหาทีต่ อ งรู หนังสือสรุปเนื้อหารายวชิ าภาษาไทยเลมนี้ เปนการสรุปเนื้อหาจากหนงั สอื เรยี นสาระ ความรูพ้ืนฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท 31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544) เพ่ือให ผูเ รยี น กศน. ไดศ ึกษาทาํ ความเขาใจและเรียนรูในเน้ือหาสาระของรายวิชาภาษาไทยทสี่ ําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถทาํ ความเขาใจของเนือ้ หาไดดีย่ิงขึน้ ในการศึกษาหนังสอื สรุปเน้อื หารายวิชาภาษาไทยเลมนี้ ผเู รียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาภาษาไทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จากหนังสือเรียนสาระ ความรูพนื้ ฐาน หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขาใจกอน 2. ศกึ ษาเนอ้ื หาสาระของหนังสือสรปุ เนื้อหารายวชิ าภาษาไทยใหเขาใจอยางละเอยี ดทลี ะ บทจนครบ 7 บท 3. หากตองการศกึ ษารายละเอียดเนือ้ หาสาระรายวิชาภาษาไทยเพอื่ เพิ่มเตมิ ความรู ผเู รยี น กศน. สามารถศกึ ษาคน ควาไดจากสือ่ อ่ืน ๆ หองสมดุ อนิ เทอรเนต็ หรือครูผูสอน

1 บทท่ี 1 การฟง การดู เรอื่ งท่ี 1 การเลือกสอื่ ในการฟงและการดู สื่อควรจะรูจกั ประเภทเพ่อื แยกแยะในการนําไปใชป ระโยชน ซ่ึงอาจสรปุ ประเภทการ แยกแยะประเภทของสอื่ ในการนาํ ไปใชป ระโยชน มีดงั นี้ 1. สอ่ื โฆษณา สอ่ื ประเภทน้ีผฟู ง ตองรูจ ดุ มงุ หมาย เพราะสวนใหญจ ะเปนการสื่อให คลอยตาม อาจไมส มเหตุสมผล ผูฟงตองพิจารณาไตรต รองกอ นซอื้ หรือกอนตัดสนิ ใจ 2. สอ่ื เพ่อื ความบันเทิง เชน เพลง , เรือ่ งเลา ซ่งึ อาจมกี ารแสดงประกอบดวย เชน นวนทิ าน นิยาย หรอื สอื่ ประเภทละคร สอื่ เหลาน้ผี ูรับสารตอ งระมดั ระวงั ใชว ิจารณญาณ ประกอบการตัดสินใจกอนทจี่ ะซ้อื หรือทําตาม ปจ จุบันรายการโทรทัศนจะมีการแนะนาํ วาแตล ะ รายการเหมาะกับกลุมเปาหมายใด เพราะเชื่อกันวา ถา ผใู ดขาดความคดิ ในเชงิ สรางสรรคแลว สือ่ บนั เทิงอาจสง ผลรา ยตอ สงั คมได เชน ผดู เู อาตวั อยางการจ้ี , ปลน , การขมขนื กระทาํ ชาํ เรา และแมแ ตการ ฆา ตัวตาย โดยเอาอยางจากละครท่ีดูกเ็ คยมีมาแลว 3. ขา วสาร สือ่ ประเภทนผ้ี รู บั สารตอ งมคี วามพรอ มพอสมควร เพราะควรตอ งรูจัก แหลง ขาว ผนู ําเสนอขาว การจบั ประเด็น ความมเี หตุมผี ล รจู กั เปรียบเทียบเนอ้ื หาจากทมี่ าของ ขา วหลาย ๆ แหง เปนตน 4. ปาฐกฐา เนอ้ื หาประเภทนผ้ี รู บั สารตอ งฟง อยางมสี มาธิเพ่อื จับประเด็นสําคัญใหไ ด และ กอ นตัดสนิ ใจเชอ่ื หรือนําขอ มลู สวนใดไปใชประโยชนต อ งมคี วามรูพ้นื ฐานในเรอ่ื งน้ัน ๆ อยูบ า ง 5. สุนทรพจน ส่ือประเภทนีส้ ว นใหญจ ะไมยาว และมใี จความท่ีเขา ใจงา ย ชดั เจน แตผูฟง จะตองรูจักกลั่นกรองสิง่ ที่ดีไปเปน แนวทางในการปฏิบัติ หลักการฟงและการดอู ยางสรา งสรรค 1. ตองเขาใจความหมาย หลกั เบอ้ื งตน ของการจับใจความของสารทีฟ่ งและดนู ้ัน ตอ ง เขาใจความหมายของคาํ สํานวนประโยคและขอ ความทบี่ รรยายหรืออธิบาย 2. ตอ งเขาใจลกั ษณะของขอความ ขอความแตละขอความตองมใี จความสําคญั ของเรือ่ ง และใจความสาํ คัญของเรอ่ื งจะอยูท่ีประโยคสําคญั ซ่ึงเรยี กวา ประโยคใจความ จะปรากฏอยูใ น ตอนใดตอนหน่งึ ของขอความ โดยปกติจะปรากฏอยใู นตอนตน ตอนกลาง และตอนทา ย หรอื อยตู อนตนและตอนทายของขอความผูร ับสารตองรจู ักสงั เกต และเขา ใจการปรากฏของประโยค ใจความในตอนตา ง ๆ ของขอความ จึงจะชวยใหจ ับใจความไดด ียิ่งข้ึน

2 3. ตอ งเขาใจในลกั ษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คือขอความทีเ่ ปน ความคดิ หลกั ซึ่งมักจะมีเนื้อหาตรงกบั หัวขอ เรื่อง เชน เร่ือง “สุนขั ” ความคดิ หลกั คือ สนุ ัขเปนสตั วเ ลีย้ ง ทร่ี ัก เจา ของ ในการฟง เรอ่ื งราวจากการพดู บางทไี มม หี ัวขอ แตจ ะพดู ตามลาํ ดับของเนื้อหา ดังน้ันการ จบั ใจความสาํ คญั ตอ งฟง ใหต ลอดเร่อื งแลวจับใจความวา พดู ถึงเร่ืองอะไร คือจบั ประเดน็ หวั เรอื่ ง และเรื่องเปนอยา งไร คอื สาระสําคญั หรอื ใจความสาํ คัญของเรอ่ื งนั่นเอง 4. ตอ งรจู กั ประเภทของสาร สารทฟี่ ง และดูมหี ลายประเภท ตองรูจกั และแยกประเภท สรปุ ของสารไดว า เปนสารประเภทขอ เท็จจริง ขอ คิดเห็นหรอื เปนคาํ ทักทายปราศรัย ขาว ละคร สารคดี จะไดจับประเด็นหรือใจความสาํ คัญไดง า ย 5. ตองตคี วามในสารไดตรงตามเจตนาของผสู ง สาร ผสู ง สารมเี จตนาที่จะสงสารตาง ๆ กนั บางคนตอ งการใหความรู บางคนตองการโนมนา วใจ และบางคนอาจจะตอ งการสงสารเพอื่ สอ่ื ความหมายอ่นื ๆ ผฟู ง และดูตอ งจบั เจตนาใหไ ด เพอ่ื จะไดจ บั สารและใจความสาํ คญั ได 6. ต้ังใจฟง และดใู หต ลอดเรอื่ ง พยายามทําความเขาใจใหตลอดเรอ่ื ง ยิ่งเรือ่ งยาวสลับ ซับซอ นย่ิงตอ งตั้งใจเปน พิเศษและพยายามจบั ประเด็นหัวเรอ่ื ง กรยิ าอาการ ภาพและเครอื่ งหมาย อื่น ๆ ดว ยความตงั้ ใจ 7. สรุปใจความสาํ คญั ข้ันสุดทายของการฟงและดูเพ่อื จบั ใจความสําคัญก็คอื สรปุ ใหได วา เรื่องอะไร ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน เมื่อไร อยางไรและทําไม หรือบางเรือ่ งอาจจะสรปุ ไดไมค รบ ทง้ั หมด ท้ังนี้ยอมข้ึนกบั สารทฟ่ี ง จะมใี จความสาํ คญั ครบถวนมากนอยเพียงใด วจิ ารณญาณในการฟง และการดู พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของ วิจารณญาณไวว า ปญ ญาท่ี สามารถรูหรือใหเหตุผลทถ่ี ูกตอ ง คาํ นี้มาจากคาํ วา วิจารณ ซง่ึ แปลวา การคิดใครค รวญโดย ใชเหตผุ ลและคําวา ญาณ ซ่ึงแปลวา ปญ ญาหรอื ความรใู นขัน้ สงู วจิ ารณญาณในการฟง และการดู คอื การรบั สารใหเ ขา ใจเนอ้ื หาสาระโดยอาศยั ความรู ความคดิ เหตผุ ล และประสบการณประกอบการใชป ญญาคดิ ใครครวญแลวสามารถนําไปใชได อยางเหมาะสม การฟง และการดูใหเ กิดวิจารณญาณนน้ั มขี ้นั ตอนในการพฒั นาเปน ลําดบั บางทีก็อาจเปนไป อยางรวดเรว็ บางทกี ต็ องอาศัยเวลา ทัง้ นี้ยอ มขน้ึ อยูกบั พ้นื ฐานความรู ประสบการณของบคุ คล และความยงุ ยากซับซอนของเร่ืองหรือสารที่ฟง และดู

3 ขัน้ ตอนการฟง และการดอู ยา งมวี จิ ารณญาณมีดังน้ี 1. ฟงและดใู หเขาใจเรอื่ ง เมือ่ ฟงเรอื่ งใดก็ตามผฟู ง จะตองตงั้ ใจฟงเรือ่ งน้ันใหเขา ใจ ตลอดเร่ือง ใหรูวาเน้ือเรอ่ื งเปน อยา งไร มีสาระสําคญั อะไรบาง พยายามทาํ ความเขาใจ รายละเอยี ดทัง้ หมด 2. วเิ คราะหเรื่อง จะตองพิจารณาวาเปนเร่ืองประเภทใด เปน ขาว บทความ เรอื่ งส้ัน นิทาน นวนิยาย บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอยแกว หรอื รอยกรอง เปนเร่อื งจริงหรือแต งขนึ้ ตอ งวิเคราะหล ักษณะของตวั ละคร และกลวิธใี นการเสนอสารของผสู งสารใหเขาใจ 3. วนิ ิจฉยั เรื่อง คือ การพจิ ารณาเรอ่ื งทฟ่ี งวา เปนขอเท็จจรงิ ความรสู ึกความคิดเหน็ และผสู ง สารหรือผูพูดผแู สดงมีเจตนาอยา งไรในการพดู การแสดง อาจจะมีเจตนาท่ีจะโนม นา วใจ หรือแสดงความคิดเห็น เปน เรือ่ งทีม่ เี หตมุ ีผล มหี ลกั ฐานนาเช่ือถอื หรือไมแ ละมคี ณุ คา มปี ระโย ชนเ พยี งใด เรื่องท่ี 2 การวิเคราะหวิจารณเ ร่อื งที่ฟงและดู ความหมายของการวเิ คราะห การวนิ ิจและการวิจารณ การวิเคราะห หมายถงึ การที่ผฟู งและผดู ูรับสารแลวพจิ ารณาองคป ระกอบออกเปน สวน ๆ นํามาแยกประเภท ลักษณะ สาระสาํ คญั ของสาร กลวิธีการเสนอและเจตนาของ ผสู งสาร การวินจิ หมายถงึ การพจิ ารณาสารดว ยความเอาใจใส ฟงและดอู ยางไตรตรองพิจารณา หาเหตุผลแยกแยะขอดีขอเสยี คณุ คาของสาร ตีความหมายและพิจารณาสํานวน ภาษา ตลอดจน น้าํ เสยี งและการแสดงของผสู ง สาร พยายามทาํ ความเขาใจความหมายที่แทจ ริงเพ่ือใหไดป ระโยชน ตามวตั ถุประสงคของผวู นิ ิจ การวิจารณ หมายถงึ การพจิ ารณาเทคนิคหรอื กลวธิ ที ่ีแสดงออกมานน้ั ใหเห็นวา นา คดิ นาสนใจ นาติดตาม มีชนั้ เชิงยอกยอ นหรอื ตรงไปตรงมา องคประกอบใดมีคณุ คา นาชมเชย องคป ระกอบใดนา ทว งตงิ หรือบกพรองอยางไร การวิจารณสิง่ ใดก็ตามจึงตองใชความรมู เี หตมุ ีผล มหี ลักเกณฑและมคี วามรอบคอบดว ย ตามปกตแิ ลว เมื่อจะวจิ ารณส่งิ ใด จะตองผา นขั้นตอนและกระบวนการของการวเิ คราะหสาร วินิจสาร และประเมินคาสาร ใหชัดเจนเสียกอ นแลว จึงวิจารณแ สดงความเห็น ออกมาอยาง มีเหตมุ ผี ลใหนา คิด นา ฟงและเปนคาํ วิจารณท่ีเชือ่ ถอื ได และการวิจารณแสดงความคิดเห็นท่จี ะ ทําไดอ ยา งมีเหตุมีผลนาเชื่อถือนัน้ ผรู ับสารจะตอ งรหู ลักเกณฑก ารวิจารณแสดงความคดิ เหน็ ตาม

4 ชนิดของสาร เพราะสารแตล ะชนิด ยอมมีองคประกอบเฉพาะตวั เชน ถาเปนขาวตองพจิ ารณา ความถูกตองตามความเปนจรงิ แตถ า เปน ละครจะดคู วามสมจรงิ และพจิ ารณาโครงเร่ือง เน้อื เรื่อง ฉาก ตัวละคร ภาษาที่ใช บทบาทการแสดง ฯลฯ นอกจากรูหลักเกณฑแ ลวจะตอ งอาศยั การ ฝก ฝนบอย ๆ และอานตวั อยางงานวิจารณของผูอน่ื ท่เี ชย่ี วชาญใหมาก กจ็ ะชวยใหก ารวิจารณ ดีมเี หตุผลและนาเช่ือถือ หลักการวจิ ารณและแสดงความคดิ เหน็ สารประเภทตา ง ๆ สารท่ีไดรับจากการฟง มีมากมาย แตท่ีไดรบั เปนประจําในชวี ติ ประจําวัน ไดแ ก 1. ขาวและสารประชาสมั พนั ธ 2. ละคร 3. การสนทนา คาํ สมั ภาษณบคุ คล 4. คําปราศรัย คําบรรยาย คาํ กลาวอภิปราย คําใหโอวาท 5. งานประพนั ธร อยกรองประเภทตา ง ๆ หลกั เกณฑก ารวิจารณส ารทีไ่ ดร บั ตามชนดิ ของสาร 1. ขา วและสารประชาสัมพนั ธ สารประเภทนผ้ี ูรับสารจะไดรับจากการฟงและการดู วิทยุ โทรทศั น ซึ่งจะเสนอขา วจากหนว ยงานประชาสมั พนั ธข องภาครฐั และเอกชน รูปแบบของ การเสนอขา ว โดยท่ัวไปจะประกอบดว ย หัวขอขา ว เนื้อและสรปุ ขาว โดยจะเรม่ิ ตน ดว ย หัวขอ ขาว ที่สาํ คญั แลว ถงึ จะเสนอรายละเอียดของขาวและตอนทา ยกอนจบ จะสรุปขาว หรือบางครงั้ จะ เสนอลกั ษณะการสรุปขาวประจาํ สัปดาหเ ปน รายการหน่ึงโดยเฉพาะ สว นสารประชาสมั พนั ธอ าจ มรี ูปแบบทแ่ี ปลกออกไปหลายรูปแบบ เชน เสนอสาระในรูปแบบของขา ว ประกาศแจง ความหรือ โฆษณาแบบตา ง ๆ ในการวิจารณ ควรพิจารณาตามหลักเกณฑ ดงั นี้ 1.1 แหลงขา วที่มาของขา วและสารประชาสัมพนั ธ ผวู จิ ารณจะตอ งดูวา แหลง ของขาวหรือสารประชาสัมพันธนนั้ มาจากไหนจากหนวยงานใด เปนหนว ยงานของรฐั หรอื เอกชน หนว ยงานหรอื สถาบันน้นั นาเช่อื ถือมากนอ ยเพยี งใด 1.2 เนอ้ื หาของขาวและสารประชาสมั พนั ธ ผูร ับสารตอ งพจิ ารณาวา สารน้ันมเี น้อื หา สมบรู ณห รือไม คือ เม่ือถามดวยคําถามวา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน เมือ่ ไร อยางไรแลวผฟู ง สามารถ หาคําตอบไดค รบถวน และสามารถสรปุ สาระสาํ คญั ไดดว ย 1.3 พิจารณาทบทวนวา เนื้อหาของขาวและสารประชาสัมพันธท น่ี ําเสนอเปน ความจรงิ ทงั้ หมด หรือมีการแสดงความรูสึก ความคิดเห็นของผสู งสารแทรกมาดวย

5 1.4 พิจารณาภาษาท่ีใชทั้งความถูกตองของการใชภ าษา ศลิ ปภาษาและดา น วรรณศิลป 2. ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟง และดูไดจ ากละครวิทยุ และโทรทศั นเ สยี เปน สว นใหญ สว นละครเวทนี น้ั มโี อกาสไดด ไู ดฟ ง นอ ยมาก ซึง่ หลกั การวจิ ารณละครมแี นวทางดังน้ี 2.1 ดคู วามสมจรงิ ของผแู สดงตามบทบาทที่ไดรับวา ใชน ํ้าเสียงสมจรงิ ตามอารมณ ความรูสกึ ของตวั ละครนัน้ ๆ มากนอ ยเพียงใด 2.2 พจิ ารณาโครงเรอื่ ง แกนของเรื่องวา มโี ครงเรอื่ งเปน อยา งไร สรปุ สาระสาํ คญั หรอื แกน ของเร่ืองใหได 2.3 ฉากและตวั ละคร มฉี ากเหมาะสมสอดคลองกบั เนื้อเรอ่ื ง เหมาะสมกับบรรยากาศ และตัวละครแตละตวั มลี กั ษณะเดนหรือใหอ ะไรกบั ผฟู ง และผดู ู 2.4 ภาษาทีใ่ ชถกู ตอ งเหมาะสมตามหลกั การใชภ าษา ศิลปศกึ ษาและดานวรรณศลิ ป 3. การสนทนาและคําสัมภาษณบ ุคคล การสนทนาและคําสัมภาษณบ ุคคลในวิทยุและ โทรทศั นเปน สารท่ีไดฟง และดูกันเปนประจํา ผูรว มสนทนาและใหสัมภาษณก็เปน คนหลากหลายระดับ และอาชพี การสนทนาและการวิจารณม ีหลักในการพิจารณา ดังน้ี 3.1 การสนทนาในชีวติ ประจําวนั ก. การสนทนา เปน เร่อื งอะไรและมีสาระสําคญั วาอยางไร ข. สาระสําคัญของการสนทนาทีส่ รปุ ไดเปนความจริงและนา เช่ือถอื เพยี งใด ค. ผรู วมสนทนามคี วามรแู ละมีความสนใจในเรอ่ื งที่สนทนามากนอ ยเพียงใด ง. ภาษาที่ใชใ นการสนทนามีความถูกตอ ง ตามหลักการใชภ าษามีความเหมาะสม และสละสลวยทําใหเ ขาใจเรื่องไดชัดเจนเพียงใด ทั้งน้ําเสียงและลีลาการพูดแฝงเจตนาของผูพูด และนา ฟง หรือไม 3.2 คาํ สัมภาษณบ คุ คล มหี ลักเกณฑการพิจารณาและวจิ ารณดังนี้ ก. ผสู ัมภาษณเปน ผูมคี วามรแู ละประสบการณในเรื่องที่สัมภาษณม ากนอยเพียงใด เพราะผสู ัมภาษณท่ีมคี วามรูแ ละประสบการณใ นเรอื่ งที่จะสัมภาษณเปน อยา งดีจะถามไดสาระเนื้อ เรอ่ื งดี จงึ ตอ งดูความเหมาะสมของผสู ัมภาษณกับเรื่องที่สมั ภาษณด ว ย ข. ผใู หก ารสมั ภาษณเหมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนาที่ อาชีพ และพิจารณาจากคําตอบท่ีใหส ัมภาษณวามีเนื้อหาสาระและตอบโตตรงประเด็นคําถามหรือไม อยา งไร

6 ค. สาระของคําถามและคําตอบในแตล ะขอตรงประเด็นหรือไม มีสาระเปน ประโยชนต อสังคมมากนอ ยเพยี งใด ง. ลักษณะของการสัมภาษณ เปนการสัมภาษณท างวิชาการ หรือการสัมภาษณ เพอ่ื ความบันเทิง เพราะถาเปนการสมั ภาษณท างวิชาการยอ มจะตอ งใชหลกั เกณฑใ นการพิจารณา ครบถว น แตห ากเปนการสมั ภาษณเพื่อความบันเทิงน้ันงา ยตอการวิจารณวาดีหรือไมดี เพราะใช สามญั สํานึกและประสบการณพจิ ารณาก็เพยี งพอแลว จ. ภาษาที่ใชเ ขาใจงา ยชัดเจน เหมาะสมเพียงใด ผูสัมภาษณและผูใ หส ัมภาษณม ี ความจรงิ ใจในการถามและการตอบมากนอยเพยี งใด 4. คําปราศรัย คาํ บรรยาย คํากลา วอภิปราย คําใหโ อวาท 4.1 คาํ ปราศรยั มหี ลกั เกณฑก ารพจิ ารณาและวิจารณดังนี้ ก. สาระสาํ คัญเหมาะสมกบั โอกาสท่ปี ราศรยั หรือไม โดยพจิ ารณาเนือ้ หา สาระ เวลา และโอกาสวาสอดคลองเหมาะสมกนั หรือไม ข. สาระสาํ คญั และความคิดเปน ประโยชนต อผฟู งหรือไม ค. ผกู ลา วปราศรัยใชภ าษาไดดีถูกตอง เหมาะสมสละสลวย คมคายหรือไม อยางไร 4.2 คําบรรยาย มหี ลกั เกณฑการพิจารณาและวิจารณด ังน้ี ก. หวั ขอ และเนอื้ เร่ืองเหมาะสมกับสถานการณและผฟู ง มากนอยเพียงใด ข. สาระสาํ คญั ของเรอื่ งท่บี รรยายมีประโยชนตอ ผูฟ งและสงั คมมีส่ิงใดท่ีนา จะ นาํ ไปใชใหเ กดิ ประโยชน ค. ผูบ รรยายมคี วามรแู ละประสบการณ ในเร่ืองท่ีบรรยายมากนอ ยเพียงใด มีความนา เชอื่ ถอื หรอื ไม ง. ภาษาทใ่ี ชใ นการบรรยาย ถูกตองตามหลักการใชภาษา เขา ใจงา ยชดั เจนหรอื ไม 4.3 คํากลาวอภปิ ราย การอภิปรายเปนวิธกี ารระดมความคิดเห็นและแนวทางในการแกปญ หา ซ่ึงเรา จะไดฟ ง กันเปน ประจําโดยเฉพาะจากรายการโทรทัศน การวเิ คราะหว ิจารณค วรพจิ ารณาโดยใช หลักการดังน้ี

7 ก. ประเดน็ ปญหาทจี่ ะอภิปราย ขอบขา ยของปญหาเปน อยางไร มีขอบกพรอ ง อยา งไร ข. ประเดน็ ปญ หาทนี่ ํามาอภปิ ราย นาสนใจมากนอ ยเพียงใดและมคี วาม สอดคลองเหมาะสมกับสถานการณห รอื ไม ค. ผูอภปิ รายมีคณุ วฒุ ิ ประสบการณม สี วนเกี่ยวขอ งกับประเดน็ อภปิ รายอยางไร และมีความนา เชื่อถือมากนอยเพียงใด ง. ผอู ภิปรายไดศกึ ษาคน ควา และรวบรวมขอ มลู ความรูมาชี้แจงประกอบได มากนอยเพยี งพอเหมาะสมและนาเชอ่ื ถอื หรอื ไม จ. ผอู ภปิ รายรับฟงความคดิ เหน็ ของผรู วมอภปิ รายหรือไม มีการผกู ขาดความคดิ และการพดู เพียงคนเดียวหรอื ไม ฉ. ผอู ภปิ รายใหขอ คดิ และแนวทางอยา งมเี หตผุ ลมขี อมูลหลกั ฐานหรือไม ใชอารมณใ นการพดู อภปิ รายหรือไม ช. ภาษาท่ีใชใ นการอภปิ รายถูกตองตามหลักการใชภาษา กระชับรัดกมุ ชดั เจน เขา ใจงา ยหรอื ไม ซ. ผฟู ง อภปิ รายไดศ กึ ษารายละเอยี ดตามหวั ขออภิปรายมาลว งหนาบา งหรอื ไม หากมีการศกึ ษามาลวงหนา จะทาํ ใหวเิ คราะหวจิ ารณไ ดดีขึ้น อนง่ึ เมือ่ ไดเ รียนรวู ิธกี ารฟงและการดูมาแลวหลายประการ ควรจะไดรูหลกั การ ฟงและการดทู ีด่ ี พรอ มทัง้ คณุ สมบตั ขิ องผูฟ งและผูดูทดี่ ี หลกั การฟง และการดทู ด่ี ี มีหลกั การดงั นี้ 1. ฟง และดใู หต รงตามความมุงหมาย การฟงแตละครั้งจะตองมจี ุดมงุ หมายในการฟง และการดู ซง่ึ อาจจะมีจดุ มงุ หมายอยา งใดอยา งหนึ่งโดยเฉพาะหรอื มจี ดุ มงุ หมายหลายอยาง พรอมกันกไ็ ด จะตอ งเลอื กฟง และดใู หต รงกบั จดุ มุง หมายท่ไี ดต ง้ั ไวและพยายามที่จะใหการฟงและ การดูแตละคร้ังไดร ับผลตามจดุ มงุ หมายที่กําหนด 2. มคี วามพรอมในการฟง และการดู การฟง และการดจู ะไดผลจะตองมีความพรอมทัง้ รางกายจิตใจและสติปญญา คอื ตอ งมสี ขุ ภาพดีทงั้ รางกาย และจติ ใจไมเ หนด็ เหนอื่ ยไมเจบ็ ปวย และไมม จี ิตใจเศราหมอง กระวนกระวายการฟงและการดจู ึงจะไดผ ลดี และตอ งมพี น้ื ฐานความรู ในเร่ืองน้ันดพี อสมควร หากไมมีพื้นฐานทางความรู สติปญ ญากย็ อมจะฟงและดูไมรเู ร่ืองและไมเ ขา ใจ

8 3. มสี มาธใิ นการฟง และการดู ถาหากไมม ีสมาธิ ขาดความตงั้ ใจยอ มจะฟงและดูไมรเู รื่อง การรับรูและเขา ใจจะไมเกดิ ดังนั้นจะตองมคี วามสนใจ มคี วามตงั้ ใจและมสี มาธิในการฟง และ การดู 4. มคี วามกระตือรือรน ผทู ่ีมองเห็นคณุ คา และประโยชนของเร่อื งนั้นมคี วามพรอมท่ีจะ รับรูและทาํ ความเขาใจจากการฟงและการดนู ั้น ยอ มมปี ระสทิ ธิภาพในการฟง และการดูสูง 5. ฟงและดูโดยไมมอี คติ ในการฟงจะตองทาํ ใจเปน กลางไมม ีอคติตอ ผูพดู ตอเรื่องที่พดู หากไมชอบเร่อื ง ไมศรทั ธาผพู ดู ก็จะทาํ ใหไ มพรอ มที่จะรบั รแู ละเขา ใจในเร่ืองน้นั จะทําใหการฟง และการดูไมป ระสบผลสําเรจ็ 6. การจดบนั ทกึ และสรปุ สาระสาํ คัญ ในการฟงและการดเู พ่อื ความรูมคี วามจาํ เปน ท่ี ตอ งบันทกึ สรปุ สาระสาํ คญั ทจี่ ะนาํ ไปใชนาํ ไปปฏบิ ตั ิ คณุ สมบตั ขิ องผฟู ง และดทู ดี่ ี ควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. สามารถปฏบิ ัตติ ามหลกั การฟงและการดทู ี่ดไี ด โดยมจี ดุ มุงหมาย มคี วามพรอ มใน การฟงและการดูมีความตงั้ ใจและกระตอื รือรน ไมมีอคติและรูจ กั สรปุ สาระสาํ คัญของเรือ่ งท่ีฟง และดูน้ันได 2. รจู ักเลอื กฟง และดใู นส่งิ ท่ีเปน ประโยชน การเลือกฟงและดใู นเร่อื งท่จี ะเปน ประโยชน ตอ อาชีพ ชีวิตความเปนอยูแ ละความรับผดิ ชอบในสงั คม แลวเลอื กนาํ ไปใชใหเกดิ ประโยชนในการ พัฒนาอาชพี พฒั นาคุณภาพชีวิตและพฒั นาสงั คม 3. มีมารยาทในการฟงและการดู มารยาทในการฟง และการดูเปน ส่ิงทจ่ี ะชว ยสราง บรรยากาศท่ีดใี นการฟง และการดู เปน มารยาทของการอยรู ว มกนั ในสงั คมอยางหน่งึ หากผฟู ง และดูไมมมี ารยาท การอยูรวมกันในขณะทีฟ่ งและดู ยอมไมปกติสขุ มีบรรยากาศท่ีไมเหมาะสม และไมเอ้อื ตอความสําเรจ็ ตัวอยา งเชน ขณะทฟ่ี งและดูการบรรยายถา มีใครพดู คยุ กนั เสียงดังหรอื กระทําการทส่ี รา งความไมสงบรบกวนผอู ่นื บรรยากาศในการฟง และการดูนนั้ ยอ มไมด ี เกดิ ความ ราํ คาญตอเพ่อื นทน่ี ่งั อยูใกลจ ะไดร ับการตําหนิวา ไมมีมารยาท ขาดสมบัติผดู ี แตถาเปน ผูมี มารยาท ยอมไดรบั การ ยกยอ งจากบคุ คลอ่นื ทาํ ใหก ารรบั สารดว ยการฟงและการดูประสบความ สาํ เร็จโดยงา ย และมารยาท ในการฟง และการดูนนั้ ยังมีเนื้อหารายละเอียดทต่ี อ งศึกษาเปนการ เฉพาะในโอกาสตอ ไป

9 เร่อื งที่ 3 มารยาทในการฟง และการดู การฟง และการดจู ะสัมฤทธิผ์ ลน้นั ผูฟ ง ตอ งคํานงึ ถึงมารยาทในสังคมดวย ย่งิ เปน การฟง และการดูในทสี่ าธารณะยิง่ ตองรักษามารยาทอยางเครงครัด เพราะมารยาทเปน เคร่อื งกาํ กับ พฤติกรรมของคนในสังคม ควบคุมใหคนในสังคมประพฤติตนใหเรียบรอ ยงดงาม อันแสดงถึง ความเปน ผูดแี ละเปน คนท่ีพัฒนาแลว การฟง และการดูในโอกาสตา ง ๆ เปน พฤตกิ รรมทางสังคม ยกเวน การฟงและการดูจากส่ือ ตามลาํ พงั แตในบางครงั้ การฟง และการดูบทเรยี นจากสอ่ื ทางไกลก็มีการฟงและการดูกนั เปนกลุม รว มกบั บุคคลอื่นดวย จําเปน ตองรักษามารยาท เพอื่ มิใหเปนการรบกวนสมาธขิ องผอู ่ืนการรักษา มารยาทในขณะท่ีฟงและดเู ปนการแสดงถงึ การมสี มั มาคารวะตอ ผพู ูดหรอื ผแู สดง หรอื ตอ เพอ่ื น ผฟู งดวยกนั ตอสถานท่ผี ูมีมารยาทยงั จะไดร ับยกยอ งวาเปนผมู ีวฒั นธรรมดีงามอกี ดวย มารยาทในการฟงและการดูในโอกาสตา ง ๆ มดี ังน้ี 1. การฟงและการดูเฉพาะหนา ผใู หญ เมอื่ ฟงและดูเฉพาะหนาผูใ หญไ มว า จะอยูแ ตล าํ พังหรอื มีผูอนื่ รวมอยูดวยกต็ าม จะตอง สํารวมกริ ิยาอาการใหความสนใจดวยการสบตากับผพู ูด ผูทส่ี อ่ื สารใหกันและกนั ทราบ ถา เปน การสนทนาไมควรชิงพดู กอ นทีค่ ูสนทนาจะพดู จบ หรือถา มีปญ หาขอ สงสัยจะถาม ควรใหผ ูพ ูด จบกระแสความกอ นแลวจึงถาม หากมเี พื่อนรวมฟงและดูอยูดว ยตองไมกระทําการใดอนั จะ เปนการรบกวนผอู ่นื 2. การฟงและการดใู นท่ปี ระชมุ การประชมุ จะมีประธานในทป่ี ระชมุ เปนผนู าํ และควบคุมใหการประชุมดําเนินไปดว ยดี ผูเ ขา รวมประชุมตอ งใหค วามเคารพตอ ประธาน ในขณะทผี่ ูอืน่ พดู เราตองตงั้ ใจฟงและดู หากมี สาระสาํ คญั กอ็ าจจดบันทกึ ไวเ พอื่ จะไดน าํ ไปปฏิบัติ หรือเปนขอมูลในการอภปิ รายแสดงความ คดิ เห็น ไมควรพดู กระซบิ กบั คนขางเคียง ไมควรพดู แซงขึน้ หรือแสดงความไมพอใจใหเหน็ ควร ฟง และดจู นจบแลวจงึ ใหสญั ญาณขออนญุ าตพดู ดว ยการยกมอื หรอื ขออนุญาต ไมค วรทํากิจธุระ สว นตวั และส่ิงอ่นื ใดที่จะเปนการรบกวนทป่ี ระชุม 3. การฟงและการดใู นที่สาธารณะ การฟงและการดใู นที่สาธารณะเปนการฟงและการดูทีม่ คี นจาํ นวนมากในสถานทที่ ่ีเปน หอ งโถง กวาง และในสถานทีท่ ่เี ปนลานกวาง อาจจะมหี ลงั คาหรอื ไมมีก็ได ขณะทีฟ่ งและดู ไมควรกระทาํ การใด ๆ ที่จะกอ ความราํ คาญ สรางความวุนวายใหแกบ ุคคลทช่ี มหรือฟง รว มอยูดว ย ขอควรระวัง มดี งั นี้

10 3.1 รักษาความสงบ ไมใ ชเสียงพดู คยุ และกระทําการใด ๆ ทเี่ ปนเรอ่ื งรบกวน ผูอนื่ และไมค วรนําเด็กเลก็ ๆ ท่ีไรเ ดียงสาเขา ไปดหู รือฟงดว ยเพราะอาจจะรองหรอื ทาํ เสยี งรบกวน ผูอ ่นื ได 3.2 ไมค วรนาํ อาหารของขบเคยี้ ว ของที่มกี ล่ินแรงเขาไปในสถานทนี่ ้ัน เพราะ เวลาแกห ออาหาร รบั ประทานของขบเคย้ี วก็จะเกิดเสยี งดังรบกวนผอู ืน่ และของที่มีกลิ่นแรงกจ็ ะ สงกล่ินรบกวน ผอู ่นื ดวย 3.3 ไมเดินเขาออกบอ ย เพราะในสถานท่นี นั้ จะมืด เวลาเดนิ อาจจะเหยียบ หรอื เบยี ดผรู ว มฟง ดวย หากจาํ เปนควรเลือกท่นี งั่ ที่สะดวกตอการเดินเขาออก เชน น่งั ใกลท างเดนิ เปน ตน 3.4 ไมค วรแสดงกริ ิยาอาการที่ไมเหมาะไมควรระหวางเพ่อื นตางเพศใน โรงมหรสพ เพราะเปนเรื่องสว นบคุ คลขัดตอ วฒั นธรรมประเพณีไทย 3.5 ไมควรสงเสียงดังเกนิ ไปเมื่อชอบใจเปนพเิ ศษในเรอ่ื งที่ดหู รอื ฟง เชน ถงึ ตอน ท่ชี อบใจเปนพเิ ศษก็จะหัวเราะเสียงดัง ปรบมอื หรอื เปา ปาก ซึ่งจะเปน การสรา งความราํ คาญและ รบกวนผอู ่นื 3.6 ไมแ สดงอาการกิริยาท่ีไมส มควร เชน การโยกตัว การเตน และแสดงทาทาง ตาง ๆ เกนิ พอดี กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นฝก ปฏบิ ตั ิตามลักษณะการฟง ทีด่ ใี นโอกาสทเี่ หมาะสม เชน การฟง รายงานกลมุ , การฟง พระเทศนแ ลว นํามาอภิปรายกันในกลุมทั้งผเู ปนวิทยากรผรู ว มฟงและเน้อื หาตามหัวขอที่ ผูเรียนนําเสนอและตกลงกนั ในกลมุ กจิ กรรมที่ 2 1. จงสรุปมารยาทในการฟงและดวู ามีอะไรบาง 2. ใหผ เู รียนฝก ปฏิบตั ิตามมารยาทในการฟงและดโู ดยแบง กลุมจดั กจิ กรรมในหองเรยี น การนําความรูจ ากการฟงและการดไู ปใช การฟง และการดเู ปนการรับสารทางหน่งึ ที่เราสามารถจะรับรเู รอ่ื งราวตา ง ๆ ไดเปน อยา งดี และละเอียด เพราะไดฟ งเร่ืองราวจากเสียงพดู และยงั ไดมองเหน็ ภาพเร่ืองราวเหตุการณและ วัตถุส่งิ ของตลอดทัง้ กริยาอาการตา ง ๆ อีกดวย สงิ่ ที่ไดรบั จากการฟงและการดูจงึ เปน ขอมูล ความรูท่ีคอ นขา งจะละเอียดลึกซึ้ง จงึ สามารถท่ีจะนําไปใชใ นชวี ิตประจําวันไดอ ยา งดี เชน

11 1. ใชถา ยทอดความรูเรอ่ื งราวดวยการพูด การอานและการเขยี น เชน การรายงาน การบรรยาย การบอกกลา วเลา เร่อื ง การอานขา ว อานประกาศ บทความ และการเขียนบทความ เขยี นเร่ืองยอ เรียงความ จดหมาย ฯลฯ เพอื่ ถายทอดเรือ่ งราวท่ีไดฟ งและดู ตลอดท้ังการเห็น ตวั อยางในการถา ยทอดดวยวิธตี า ง ๆ มาใชใ นการถา ยทอดไดอ ีกดวย 2. ใชในการวิเคราะห วจิ ารณ แสดงความคดิ เหน็ การฟงและการดูจะชวยใหเ ราไดค วาม รู ไดข อมลู ขอ เท็จจรงิ หลักฐาน เหตุผล ตวั อยา งแนวคดิ ท่ีจะใชประกอบการวเิ คราะห วิจารณ แสดงความคิดเหน็ ตอ ทป่ี ระชมุ ตอ สาธารณชนดวย การพดู การเขยี นไดเ ปน อยางดี 3. ใชใ นการแกป ญหา การแกป ญ หาทุกประเภท ทกุ ปญหาจะสําเร็จลุลวงไปดว ยดี จะตอง อาศยั ความรู ประสบการณ แนวทางแกปญหาอ่นื ทเ่ี คยแกไขมาแลว และขอมูลทางวชิ าการประกอบ ในการตัดสินใจ เลอื กวธิ ีแกป ญหาที่เกดิ ข้ึนจึงจะสามารถแกปญ หาไดส ําเร็จดวยดี 4. ใชในการประกอบอาชีพ การไดฟง ไดเ หน็ ตวั อยา งเร่อื งราวตา ง ๆ จะทําใหไดรบั ความรู และขอมูลเกยี่ วกบั อาชพี ตาง ๆ จะทาํ ใหเรามองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชพี ชวยใหตดั สินใจ ประกอบอาชีพและยงั เปนขอมูลท่ีจะสงเสรมิ ใหบคุ คลที่มอี าชพี อยแู ลว ไดพัฒนาอาชีพของตนเอง ใหเจรญิ กาวหนา อีกดวย 5. ใชใ นการศึกษาเลาเรียน นกั เรียน ผเู รียน ท่กี าํ ลังศกึ ษาอยยู อมสามารถนาํ ความรู ประสบการณจ ากการฟงและการดูมาชวยใหม ีความรูความเขาใจในวชิ าทีเ่ รยี นทําใหการเรียน ประสบความสําเรจ็ ตามความตอ งการของตนเอง 6. ใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินชีวิตในสงั คม ความรูที่ไดจ ากการฟงและการดูจะสามารถ นําไปใชเปนแนวปฏิบตั ิของแตล ะคนท้ังในดา นสขุ ภาพอนามัย การปฏิบัติตนในสงั คมเกยี่ วกบั วฒั นธรรมประเพณี การกนิ อยูหลบั นอน การอยรู ว มกันในสังคมอยางเปน สุข ทัง้ หมดเปน เรื่อง ท่ีจะตองศึกษาหาความรดู ูตัวอยา ง ดูแนวปฏบิ ตั ิระเบียบ กฎเกณฑของสงั คมดวยการฟงและ การดูท้ังสิ้น ทกี่ ลาวมาเปน สว นหน่งึ ยังมีอกี มากมายหลายอยา งทีเ่ ราตอ งนําความรูจ ากการฟง และ การดไู ปใชใ นการดําเนนิ ชีวติ

12 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1 ใหแบงกลุมผูเรียนสรุปหลักการเลือกส่ือในการฟงและการดู กลุมนําเสนอ จากนน้ั ผสู อนสรปุ เพม่ิ เติม และผูแทนผเู รียนจดบันทกึ (รวม 3 คะแนน) กจิ กรรมที่ 2 แบงกลมุ ผเู รยี นฟง เรอ่ื ง “เสนอรฐั ออกกฎหมายหามดื่มสรุ าที่สาธารณะ” จากการฟงของผเู รยี นคนฟงและทํากิจกรรมกลมุ ดงั นี้ (รวม 7 คะแนน) 1. วิจารณความสมเหตสุ มผล และความเปน ไปไดข องเรื่องนี้ (3 คะแนน) 2. วิเคราะหความคิดเห็นและขอเท็จจริงของเร่ืองโดยครูผูสอนถามแตละกลุม และครูผูสอนสรปุ สาระสาํ คัญในขอ 1 และ 2 (4 คะแนน) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผเู รยี นเขยี น “การปฏบิ ัติตน เปนผมู มี ารยาทในการฟง และด”ู เปนงาน รายบุคคลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน)

13 บทท่ี 2 การพูด เรอ่ื งที่ 1 มารยาทในการพดู 1. ใชคําพดู สุภาพเหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคลใหเกียรติกบั ผทู ี่เราพดู ดวย รจู ักใช คาํ ท่แี สดงถึงความมีมารยาท เชน คําขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผูอ ่ืนทําคณุ ตอเรา และกลา วขอโทษ ขออภยั เสียใจในโอกาสที่กระทาํ การลว งเกนิ ผอู ่นื 2. ไมพดู จาเยาะเยย ถากถาง ดูหมน่ิ เหยยี ดหยาม เสียดสผี อู ่ืน ไมพ ดู จายกตนขมทา น พูดช้ีจดุ บกพรอ ง หรอื ปมดอ ยของผอู นื่ ใหเกดิ ความอบั อาย 3. ไมผกู ขาดการพูดและความคดิ แตเ พียงผูเดยี ว ใหโอกาสผอู ่นื ไดพูดบางไมพ ดู ตดั บท ในระหวางผูอ น่ื กาํ ลังพดู ควรคอยใหผอู ืน่ พูดจนหมดกระบวนความแลวจงึ พดู ตอ 4. เมอ่ื จะพดู คดั คานหรือโตแ ยง ควรจะเหมาะสมกบั โอกาสและมีเหตุผลเพยี งพอไมใ ช อารมณค วรใชคําพูดทนี่ ุมนวล ไมใ หเสียบรรยากาศของการพดู คุยกัน 5. การพดู เพื่อสรางบรรยากาศ ใหเ กิดอารมณขนั ควรจะเปน เร่ืองตลกขบขันที่สุภาพ ไมหยาบโลนหรือพูดลักษณะสองแงสามงา ม 6. ไมพดู ตเิ ตยี น กลาวหาหรอื นนิ ทาผูอ่นื ตอ หนา ชุมชน หรือในขณะท่ีผูท่ีเราพดู ถงึ ไมไ ด อยูดวย 7. ควรพดู ดวยนํ้าเสยี งนุม นวลชวนฟง ไมใชน ํา้ เสียงหวนๆ หรือดดุ นั วางอาํ นาจเหนอื ผฟู ง รูจกั ใชคาํ คะ ครับ นะคะ นะครบั หนอ ย เถดิ จะ นะ เสริมการพูดใหส ภุ าพไพเราะนาฟง เร่อื งท่ี 2 ลักษณะการพดู ที่ดี การพดู การพูดเปนการสื่อสารอีกประเภทหนงึ่ ทใ่ี ชก นั อยูในชีวิตประจาํ วัน ในการพดู ควรตระหนกั ถงึ วัฒนธรรมในการใชภ าษา คอื ตองเปน ผมู มี ารยาทในการพูด มคี ณุ ธรรมในการพดู และปฏิบัติ ตามลกั ษณะการพดู ที่ดี จึงจะสื่อกบั ผฟู ง ไดต ามที่ตองการ การพูดของแตล ะบคุ คลในแตล ะครงั้ จะดหี รอื ไมดอี ยา งไรนัน้ เรามีเกณฑท ี่จะพิจารณา ถาเปนการพดู ทีด่ ีจะมีลักษณะดังตอไปนี้

14 1. ตอ งมเี น้ือหาดี เนอื้ หาทด่ี ีตองตรงตามจุดมงุ หมายของผูพูด พดู เพอื่ อะไร เพ่ือความรู ความคดิ เพือ่ ความบันเทงิ เพอ่ื จูงใจโนม นา วใจ เน้ือหาจะตอ งตรงตามเจตนารมณข องผพู ูดและ เนื้อหานนั้ ตองมีความยากงา ยเหมาะกับผูฟง มีการลาํ ดับเหตกุ ารณ ความคดิ ท่ีดมี ีระเบยี บ ไมวกวน จงึ จะเรียกวา มีเนอ้ื หาดี 2. ตอ งมีวธิ ีการถา ยทอดดี ผูพดู จะตองมีวธิ ีการถา ยทอดความรูค วามคดิ หรอื ส่ิงท่ีตอ งการ ถายทอดใหผฟู งเขาใจงา ยเกิดความเชอ่ื ถอื และประทบั ใจ ผพู ูดตองมศี ิลปะในการใชถ อยคาํ ภาษา และการใชน้าํ เสยี ง มีการแสดงกริ ยิ าทาทางประกอบในการแสดงออกทางสหี นา แววตาไดอยา ง สอดคลอ งเหมาะสม การพดู จงึ จะเกิดประสทิ ธผิ ล 3. มีบุคลกิ ภาพดี ผพู ูดจะตอ งแสดงออกทางกายและทางใจไดเ หมาะสมกบั โอกาสของ การพูด อันประกอบดว ย รปู รา งหนาตา ซง่ึ เราไมส ามารถที่จะปรบั เปลยี่ นอะไรไดมากนัก แตก็ ตอ งทําใหด ูดีที่สดุ การแตงกายและกริยาทาทาง ในสว นน้ีเราสามารถที่จะสรา งภาพใหดีไดไมยาก จึงเปน สว นที่จะชว ยในการสรา งบคุ ลิกภาพท่ดี ีไดม าก สว นทางจติ ใจน้นั เราตองสรางความเชือ่ มน่ั ในตวั เองใหส ูง มคี วามจริงใจและมีความคิดรเิ ริ่ม ผพู ดู ที่มบี คุ ลิกภาพทีด่ ี จงึ ดงึ ดูดใจใหผูฟง เชอื่ มั่น ศรัทธาและประทับใจไดงาย การสรางบคุ ลกิ ภาพที่ดเี ปนคณุ ลกั ษณะสาํ คญั อยา งหนงึ่ ของการพูด การพดู ที่ใชส อ่ื สารในชวี ิตประจําวันนั้นมีลักษณะแตกตา งกนั ทั้งนี้ขึน้ อยูกับโอกาส สถานท่ี กาลเทศะและบุคคลที่เราพดู ถาพูดเปนทางการ เชน การพดู ในทปี่ ระชมุ สมั มนา การพูด รายงานความกา วหนาของการปฏบิ ตั ิงานใหผ ูบังคบั บญั ชาทราบ ผูพดู ยอ มตองใชภ าษาลกั ษณะหนง่ึ แตใ นโอกาสทไ่ี มเปนทางการ เชน การพูดในวงสนทนาของเพื่อนทส่ี นิทสนมกัน การพูดให คาํ ปรกึ ษาของครู กศน. กับผเู รยี น ผนู าํ หมบู านชี้แจงรายละเอียดของการประชุมใหคนในชุมชน ทราบ กย็ อมจะใชภาษาอีกอยางหนงึ่ หรอื ถาเราพูดกับบคุ คลที่รูจักคนุ เคยกันมาเปน อยา งดกี ็ใช ภาษาพดู ลกั ษณะหน่งึ แตถาพูดกบั บคุ คลที่เราเพ่งิ รจู กั ยงั ไมคุน เคยกจ็ ะใชภาษาอกี ลักษณะหนงึ่ การพดู ที่ดี อาจแบง ไดเปน 3 ลกั ษณะคือ 1. การพูดแบบเปน ทางการ เปน การพูดที่ผพู ูดจะตองระมัดระวังในเรอ่ื งของรปู แบบ วิธีการ ความถูกตองเหมาะสมของการใชถอยคํา การพูดลักษณะนจ้ี ะใชในโอกาสท่ีเปน พธิ ีการ มีรปู แบบวิธกี ารและขั้นตอนในการพูดเปนการพูดในทปี่ ระชุมทม่ี ีระเบยี บวาระ การกลา วตอ นรบั การกลา วตอบ การกลา วอวยพร การกลา วใหโ อวาท การแสดงปาฐกถา เปน ตน 2. การพดู แบบก่ึงทางการ เปน การพดู ที่ผพู ูดตองพิถีพิถนั ในการใชถ อยคํานอยลง กวาลกั ษณะการพูดแบบเปน ทางการ จะใชใ นการสนทนาพูดคยุ กันระหวา งผูทยี่ ังไมค ุน เคยสนทิ สนมกนั มากนัก หรอื ในกลมุ ของบุคคลตา งเพศ ตางวัยกนั การพดู ในที่ชมุ ชนกจ็ ะมีการใชก ารพูด

15 ในลักษณะนี้ดว ย เชน การแนะนําบคุ คลในที่ประชุม การพดู อภปิ ราย การแนะนาํ วิทยากรบุคคล สาํ คญั เหลา น้ี เปน ตน 3. การพดู แบบไมเปนทางการ เปน การพดู ที่ใชส ื่อสารกบั ผทู ่เี ราสนทิ สนมคุนเคยกนั มาก ๆ เชน การพดู คยุ กันของสมาชกิ ในครอบครวั การพดู กนั ในกลุม ของเพือ่ นสนิท หรือพูดกบั กลมุ คน ที่เปน กนั เอง การพูดในลักษณะนี้จะใชกนั มากในชวี ติ ประจาํ วัน เรือ่ งท่ี 3 การพูดในโอกาสตา ง ๆ การแนะนําตนเอง การแนะนาํ ตนเองมีความจาํ เปน และมีความสาํ คญั ตอ การดําเนินชวี ิตประจาํ วนั ของคนเรา เปน อยางย่ิงเพราะในแตละวันเราจะมโี อกาสพบปะสังสรรค ตดิ ตอประสานงานกับบุคคลอนื่ ๆ อยูเสมอ การแนะนําสรางความรูจ ักคนุ เคยกันจงึ ตองเกิดขน้ึ เสมอ แตก ารแนะนําดว ยการบอกชอ่ื สถานภาพอยางตรงไปตรงมาเปน ธรรมเนียมของชาวตะวันตก สวนคนไทยนยิ มใชการแนะนําดวยการใหความชวยเหลือใหบริการเปน เบ้อื งตน เชน หยบิ ของใหรินน้ํา ตักอาหาร เม่อื มโี อกาสอันควรก็จะทักทายปราศรัยและเร่มิ การสนทนาในเรอ่ื ง ท่ี เห็นวา จะพดู คยุ กนั ได แตก ็มีบางคร้งั บางโอกาสทีฝ่ า ยใดฝา ยหนง่ึ ไมยอมรับรูแ สดงอาการเฉย เมยไมตอบสนอง จนทาํ ใหอกี ฝา ยหนึ่งอดึ อดั เกอเขินหมดความพยายามผลสุดทายกเ็ ลิกราไป ซึง่ เหตุการณล ักษณะนี้เปน สภาพการณทีไ่ มพึงปรารถนา และคงไมม ใี ครตอ งการใหเ กิดขึน้ กับ ตัวเอง ดังนนั้ ผเู รียนจงึ ตอ งเขา ใจและฝกฝนการแนะนําตนเองเพราะเปน สงิ่ ทมี่ ีประโยชนต อการ ดาํ เนินชีวิตและจําเปน ตอ งใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน มแี นวทางการแนะนาํ ตนเอง ดงั นี้ 1. สรางเหตขุ องความคนุ เคย กอนท่จี ะแนะนาํ ตวั มักจะมีการหาจุดเรม่ิ ตนของการ แนะนําตัวดวยการสนทนาส้นั ๆ หรือทกั ทายดวยถอยคําที่จะนําไปสคู วามคุนเคย เชน วันแรก ของการพบกลมุ ของ ผูเรียน เม่อื ผเู รียนมาแตเชา มเี พอื่ นใหมม าคอยอยูค นเดยี วหรือสองคน อาจจะมผี เู รยี นคนใดคนหน่ึงกลา วปรารภขึ้นมา “ดิฉนั ก็นึกวาจะไมม เี พื่อน เดนิ เขามาคร้งั แรก มองไมเห็นมใี ครเลย” ตอจากน้นั ก็จะมีการสนทนากันตอ อีกเลก็ นอ ย เม่อื เกดิ ความรูส กึ คุน เคย มีมิตรไมตรีตอ กันก็จะมกี ารแนะนาํ ตวั ใหร ูจ ักซงึ่ กันและกนั ตอไป ในบางครง้ั อาจจะมีการทกั ทายดว ยคําถามที่เหมาะสมกับเหตุการณ เชน ในเหตกุ ารณ ทีก่ ลา วมา คอื ผูเ รยี นมาพบกนั ณ สถานท่ีพบกลมุ เปน วันแรกนั้นคนท่มี าถึงกอ นอาจจะถาม ข้นึ กอ นวา “เพ่ิงมาถึงหรือคะ” “หรือมาคนเดยี วหรอื คะ” หรือไมค นทีม่ าทหี ลังอาจจะถาม ขนึ้ กอนวา “มาถงึ นานหรอื ยงั ครับ” หรือ “ยงั ไมม ีใครมาเลยหรอื ครบั ” แลว อกี ฝายหนึง่ ก็จะ

16 ตอบคาํ ถามแลว ก็มกี ารสนทนาซักถามกนั ตอ จนเกิดความรูสกึ คนุ เคยแลวจึงมกี ารแนะนาํ ตัวให รจู ักซ่ึงกนั และกันตอไป 2. บอกช่ือสกุลและขอ มูลทสี่ ําคญั เมือ่ ทกั ทายหรือกลาวในเชิงปรารภ จนรสู ึกวา เพ่อื นใหมห รือคสู นทนามอี ัธยาศัยไมตรีทด่ี บี า งแลวก็อาจจะมีผหู น่งึ ผใู ดเปนฝา ยแนะนาํ ตนเอง ดวยการบอกช่ือ ชอ่ื สกลุ และขอมลู ที่สาํ คัญตอเนื่อง เชน กลาวขึ้นวา “ผมณฐั สชุ น คนเย่ยี ม มาพบ กลมุ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายกลมุ อาจารยส ุภรณครับ” เพื่อนทสี่ นทนาดว ยก็จะแนะนําตนเอง ตามมาวา “ดิฉัน สุวมิ ล นนทวฒั นาคะ มาพบกลมุ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายเหมอื นกันคะ แตอ ยูก ลมุ อาจารยน พรตั นค ะ เรยี นแผนการเรยี น ก. คะ” จากนัน้ กจ็ ะมกี ารสนทนากนั ตอ ในเรอ่ื งการเรยี นหรือเรอื่ งอ่ืน ๆ ที่มีความสนใจตรงกนั ตอไปอีก จะเห็นไดวา การแนะนําตนเองในการพบปะสนทนากนั ในทส่ี าธารณะตามปกติท่ัวไป มกั จะมกี ารสรางเหตุของความคุน เคยดวยการสนทนาซกั ถามกนั เล็ก ๆ นอย ๆ กอน แลว จงึ จะ มีการแนะนําตนเองมใิ ชเ รมิ่ แรกก็จะแนะนาํ ตนเองขน้ึ มา บางครง้ั อาจจะไมมกี ารตอบสนองจาก อีกฝายหนง่ึ ได จึงควรคาํ นึงถงึ เรอ่ื งนด้ี ว ย กจิ กรรมที่ 1 1. ใหผ ูเรยี นจับคกู บั เพอ่ื นในกลมุ แลวสมมตสิ ถานการณวา ทง้ั คพู บกนั บนรถประจาํ ทาง หรือที่สถานอี นามัยประจําตําบลหรือสถานท่ีอน่ื ๆ ที่เห็นวา เหมาะสม ฝก ทักทายปราศรยั กัน และกนั ใหเพ่ือนผเู รียนในกลมุ ฟง แลวใหเพ่ือนชว ยวจิ ารณก ารใชภ าษาและการสรางบรรยากาศ วาถกู ตองเหมาะสมเพียงใด 2. ใหผ ูเรียนแนะนําตนเองในวนั พบกลมุ คร้ังแรกหรือเมื่อมีโอกาสไปรวมประชมุ กลุม ยอ ย ในวิชาตา ง ๆ และยังไมรูจ ักกับเพอื่ นในกลมุ โดยใหป ฏบิ ัติตามหลักการและวิธกี ารแนะนําตนเอง ท่เี รยี นมาแลว 3. เมอ่ื มีโอกาสท่ีจะทักทายปราศรัย หรอื แนะนําตนเองใหผเู รียนไดฝ ก ปฏบิ ตั ิจรงิ ตาม หลกั การและวิธกี ารทไี่ ดศ กึ ษามาแลว และสงั เกตผลหากมขี อบกพรอ งผดิ พลาดใหปรบั ปรุงแกไข ใหถ กู ตอ ง 4. ใหผ ูเ รยี นออกมาเลาเหตุการณใ ดกไ็ ดห นา หอ งและใหผ ฟู ง วจิ ารณในหัวขอ เนื้อหา วิธีการถา ยทอด และบคุ ลิกภาพของผพู ูดวา เขาหลักเกณฑใ นการเปน นักพูดท่ดี ีหรือไม การพูดตอชมุ ชน 1. เปน วธิ ที ี่สะดวกรวดเรว็ ทีจ่ ะเผยแพรความคดิ เห็นของบุคคลตอสาธารณชนไดอยาง กวา งขวาง ความคดิ เห็นน้ีอาจเปนไดทงั้ ในทางสนบั สนุน และคัดคา น

17 2. เปน วธิ กี ารหนงึ่ ในการถา ยทอดวฒั นธรรมการปลูกฝงคุณธรรม การเผยแพร ความรู และวิทยาการใหม ๆ สปู ระชาชน เชน เรอ่ื งเก่ยี วกบั วัฒนธรรมพืน้ บา น ปาฐกถาธรรม การเผยแพรความรทู างการเกษตร การอตุ สาหกรรม เปนตน 3. เปน วถิ ที างที่ทําใหม นษุ ยส ามารถชีแ้ นะการแกปญหาส่ิงแวดลอม ปญหาการจราจร ปญ หาทางดานเศรษฐกจิ เปน ตน นอกจากการพูดตอชุมชนโดยการประชมุ รวมกนั หรือการพูดในทีส่ าธารณะ เชน การหาเสียง การพูดโฆษณาสินคาตาง ๆ แลว ยังมีการพดู อกี วธิ หี น่ึง ซึ่งเปนการพดู ผา นสือ่ มวลชน โดยผาน ทางโทรทัศนหรือวทิ ยุ ผเู รยี นเคยเหน็ เคยฟง วธิ กี ารพดู เชน นี้มาบา งแลว อาทิ การพดู สมั ภาษณ การเปน พธิ กี ร การสนทนา การโฆษณา การเลา เรื่อง เปน ตน การพดู โดยผา นสื่อมวลชน จะมีผฟู ง หรอื ผชู มทั่วประเทศ ผดู าํ เนนิ รายการจะตอ งคํานงึ ถึง วิธกี ารพดู ดังนี้ 1. วธิ ีการพดู ท่นี าสนใจ เราใจ สนุกสนาน 2. ภาษาทใี่ ชตอ งสภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล กระชบั เขาใจงา ย 3. ใหเกียรติแกผ ูทีก่ ําลังพูดดวยหรือผทู ่ีกลา วถึง 4. ไมพูดกาวรา ว หรอื เสยี ดสีผูอ่ืน การเตรียมการพูดตอ หนา ชุมชน การพูดตอ หนา ชุมชนนนั้ ผูฟงสว นมากก็ต้ังความหวังไวว า จะไดรบั ความรูห รอื ประโยชน จากการฟง ผพู ดู จึงตอ งเตรียมตัวเปนอยางดี เพราะการเตรยี มตวั จะชวยใหผูพดู มคี วามมั่นใจ กลาที่จะแสดงความคิด ความเหน็ การพดู ดวยความมน่ั ใจยอ มจะทําใหผฟู งเกิดความเชอื่ ถือ ประทบั ใจในการพดู ผพู ูดแตละคนอาจใชว ิธกี ารเตรยี มตวั ไดต าง ๆ กนั ดงั น้ี 1. การกาํ หนดจุดมุงหมายของการพูด ผพู ดู ควรกาํ หนดใหชัดเจนทั้งจดุ มุงหมายทว่ั ไป และจดุ มุง หมายเฉพาะเรอื่ ง เชน การใหเลา ประสบการณเก่ยี วกับการทาํ งาน จุดมุงหมายทวั่ ไป คือ ใหความรู จุดมงุ หมายเฉพาะ คือ วิธีการทํางานและอปุ สรรคตา ง ๆ ทีไ่ ดพ บ 2. การวเิ คราะหผ ฟู ง กอ นที่จะพดู ทุกคร้งั ผพู ดู ควรจะไดพจิ ารณาผฟู ง อยา งละเอยี ดวา ผฟู ง สว นใหญสนใจหรือชอบเก่ียวกับเรื่องใด โดยผพู ดู ควรเตรียมขอมลู และการใชภาษาใหเหมาะกับ เพศวัย สถานภาพทางสังคม (โสดหรือมีคูสมรสแลว) อาชพี พนื้ ความรู ความสนใจตลอดจน ทศั นคติของกลุม ผฟู ง

18 3. การกําหนดขอบเขตของเรือ่ งที่จะพูด ผพู ดู ตอ งมเี วลาเตรยี มตวั ในการพูด ผพู ูดจึงควร พิจารณาเรือ่ งทจี่ ะพดู วา ตนเองมคี วามรูในเรอื่ งน้ัน ๆ เพยี งใด หากไมม คี วามรเู พียงพอกค็ วรหา ความรูเพ่มิ เตมิ และกําหนดขอบเขตของเรอ่ื งใหเหมาะกบั ผฟู ง เชน เปน เด็กเลก็ เปนวยั รุน หรอื เปนผใู หญ เปน ตน 4. การรวบรวมเน้อื หาทจ่ี ะพูด การพูดใหผูอนื่ ฟง ผพู ูดตอ งเตรียมรวบรวมเนอื้ หาใหดี เพื่อผูฟ งจะไดร ับประโยชนมากทสี่ ุด การรวบรวมเน้อื หาอาจทาํ ไดโดยการศกึ ษา คนควา การไตถ าม ผูรู การสัมภาษณ และอาจใชอ ุปกรณชวย เพ่ือใหผ ูฟงเขา ใจไดงายขน้ึ 5. การทาํ เคา โครงลําดบั เร่อื งท่จี ะพดู เพือ่ ใหการพูดเปน ไปตามลาํ ดบั ขัน้ ตอนไมสับสน ผูพดู ควรทําโครงเรอ่ื ง ลาํ ดับหวั ขอใหดี เพอ่ื กนั การหลงลมื และชว ยใหเกิดความมนั่ ใจในการพูด 6. การฝกซอมการพดู ผพู ดู ควรหาเวลาฝก ซอมการพดู ของตนเสียกอน เมอื่ ถึงเวลาพูด จะไดพดู ดว ยความมน่ั ใจ ในการฝกซอ มน้ันควรคํานึงถึงบคุ ลกิ ลกั ษณะ ทา ยืนหรือน่งั กริ ิยาอาการ การใชเ สยี ง การใชส ายตา ถา มีผฟู งอาจจะชว ยตชิ มการพดู ในขณะฝก ซอ มได กจิ กรรมที่ 2 1. ใหผูเรยี นฟง การสนทนาทางโทรทัศน รายการท่สี นใจและเปน รายการเดียวกัน เชน รายการสนทนาปญหาบา นเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เม่อื ฟง แลวใหผเู รียนบนั ทึกการพดู ของผดู ําเนินรายการ และผูรวมสนทนา วา มวี ธิ ีการพดู อยา งไร ภาษาท่ีใชเหมาะสมหรือไม มีการพูดกา วรา วหรือเสียดสผี อู ่ืนบางหรือไม ฯลฯ แลวนาํ มาสนทนาแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นกัน ในวันพบกลมุ หรือตัดตอขอ ความจากสอื่ สง่ิ พมิ พม าอา นและใหว ิจารณขอความนั้น ๆ กไ็ ด 2. ใหผ เู รยี นสงั เกตการพูดใหขา วของบคุ คลสาํ คญั และนักการเมอื งแตล ะคนทางสถานวี ิทยุ และโทรทศั น แลว พิจารณาวา การใหข า ว หรือการแสดงความคิดเห็นนนั้ ควรเช่ือหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด แลวนาํ มาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกนั เมอ่ื มีโอกาสพบปะกันหรือในวนั พบกลมุ ผเู รียน อาจจะฟง การพดู แสดงทรรศนะของนกั การเมืองจากเทปบันทกึ เสยี งแลว นาํ มาสนทนากนั กไ็ ด 3. สมมติเหตกุ ารณใ หผเู รียนออกมาสนทนากนั ทางโทรศัพท ใหเ พอ่ื น ๆ วิจารณ การพดู แสดงความคดิ เหน็ การพูดแสดงความคิดเห็นเปนลักษณะการพูดทจี่ ะใชในการปรึกษาหารือกันในกลมุ ยอ ย เพอื่ หาแนวทางในการแกปญหา เชน ปญหาการเรยี น ปญหาในการดาํ เนินชีวติ ปญ หาของชุมชนพ้นื ฐาน การแสดงความคดิ เห็นเปนการใชทักษะการฟง การอาน การพดู และการคิดใหสัมพนั ธกัน ตอ งอาศยั การฝก ฝนใหเกดิ ความชํานาญ เพราะการพดู แสดงความคดิ เหน็ ตอ งใช ท้งั ความรู ความคดิ เหตผุ ลหรอื หลักการ ทฤษฎีตา ง ๆ หลายอยา งประกอบกนั ความคดิ นน้ั จะถกู ตอง

19 เหมาะสม มคี ุณคา นาเชือ่ ถอื การพูดแสดงความคดิ เห็นจึงตองใชความรอบคอบ ใหเ หตุผล มีใจเปน กลาง บริสทุ ธ์ใิ จ ไมม ีอคติ มีการฝกฝนจนเกดิ ความชํานาญรับผิดชอบในสิ่งท่ีพูด นี่เปน หลกั ของการพูด แสดงความคิดเห็น การพดู ในท่ีประชมุ ผูเรียนทราบมาแลว วา การประชุมมีหลายประเภทหลายลักษณะทง้ั การประชมุ กลมุ ยอย การประชุมกลมุ ใหญ การประชมุ เชงิ วชิ าการ การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร ฯลฯ แตบคุ คลที่มี บทบาทท่ีจะตอ งพดู ในที่ประชมุ ทีส่ ําคญั น้ันมีเพยี ง 2 ฝาย คือ ประธานในท่ีประชมุ และผเู ขารวม ประชมุ บคุ คลทง้ั 2 ฝา ยน้ีจะตอ งรจู กั หนาท่ีและมารยาทของการพดู ในที่ประชมุ มฉิ ะนั้นการ ประชมุ กจ็ ะไมเรียบรอ ยและไมบ รรลุผลตามวตั ถุประสงค ประธานในทป่ี ระชมุ จะตองปฏบิ ตั ิตามหนา ทแี่ ละมารยาทในการพูดดังน้ี 1. แจง ใหทราบถงึ วตั ถปุ ระสงค ปญหาหรอื ประเด็นที่นาคิดของการประชุมใหสมาชกิ ไดท ราบและพิจารณากอนดาํ เนนิ การประชุม 2. พูดตามหวั ขอหรือวาระการประชุมอยางส้นั ๆ ไดเนื้อหาสาระและอยาถอื โอกาสของ การเปนประธานผูกขาดการพดู แตเ พียงผเู ดียว 3. ใหโ อกาสแกผ เู ขารวมประชุมแสดงความคิดเห็นไดอยา งเสรี กวา งขวางเปนอสิ ระและ ทั่วถงึ ประธานคอยสรุปความคดิ เห็น ขอ เสนอตา ง ๆ ใหกระชับ ตรงประเด็นและเปนคนสดุ ทาย 4. ใชค าํ พูดสรา งบรรยากาศที่ดี มคี วามเปนกันเองเพ่ือใหผูเขา รว มประชมุ กลา แสดง ความคิดเห็น และเพ่ือใหการประชมุ เปนไปดว ยความราบร่ืน 5. ควบคมุ การประชุมใหเ ปนไปตามระเบียบวาระและรักษาเวลาในการประชมุ ใหเ ปน ไป ตามกาํ หนด หากผเู ขา รว มประชุมพูดแสดงความคดิ เหน็ มากจนเกนิ เวลาหรือพูดไมตรงประเด็น ประธานตอ งเตอื นใหพูดรวบรดั และพูดใหต รงประเด็น ผเู ขา รวมประชมุ จะตองปฏบิ ตั ิตามหนาที่และมารยาทในการพูดดังน้ี 1. พดู แสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายอยา งมีเหตุผล ยอมรบั ฟงความคิดเหน็ ของบุคคลอ่นื พดู ดว ยใจเปนกลางไมใชอ ารมณห รอื นาํ ความขัดแยงสว นตัวกับผเู ขารวมประชุมมาเกี่ยวขอ งกับ การพดู และแสดงความคิดเห็นในท่ีประชมุ 2. เขาประชมุ ใหตรงเวลาและรกั ษาเวลาในการพูด ตามท่ปี ระธานกําหนดให 3. พดู ใหไดใ จความ กระชับ และกาํ กับความคิดใหเ ปนไปตามข้ันตอนมีการโยงความคิดเห็น ดว ยหรือขดั แยง ใหส มั พนั ธต อ เนอ่ื งและสอดคลอง ไมควรพดู วกวนจนจับประเด็นไมไ ด

20 4. ไมควรผกู ขาดการพูดแตผเู ดียว หรอื แสดงความคดิ เห็นของตนเองเพื่อแสดงความรอบรู เมื่อเหน็ วาประเด็นใดท่ีมีแนวทางท่ีดีและถกู ตอ งแลวกค็ วรงดเวนการแสดงความคดิ เห็น มิฉะน้ัน จะทําใหผ ูเขา รวมประชุมเกิดความเบอื่ หนาย 5. ควรรักษามารยาทในการพูดในทปี่ ระชุม อยา งเชน ใชภ าษาสุภาพ ไมพดู กาวรา ว มกี าร ขออนุญาตตอ ประธานเมือ่ ตองการพูด ไมแ สดงกิรยิ าทไ่ี มสภุ าพในทป่ี ระชุม เปน ตน กจิ กรรมที่ 3 ใหผ เู รยี นแสดงบทบาทสมมติพดู แสดงความคิดเหน็ ในที่ประชุมตามหัวขอที่ครูกาํ หนด และบางคนแสดงบทบาทของผูเ ขา รวมประชมุ สรปุ ทายมีการอภปิ รายรว มกันถงึ ขอ ดี ขอดอย ตามท่ีแสดงออก การพดู รายงาน การพดู รายงาน หมายถงึ การพูดเพ่ือนาํ เสนอเรือ่ งราว ขอ มูลขอ เทจ็ จรงิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน สถานการณ ความกา วหนาของการดาํ เนินงานหรือผลของการศกึ ษาคนควา ตอ กลมุ หรอื ท่ีประชุม เชน การรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามโครงการของหนวยงานหรือองคกรที่รบั ผิดชอบ รายงาน สถานการณแ ละความกา วหนา ของหนว ยงาน รายงานผลการทดลองหรือศึกษาคน ควาของผูเรียน เปนตน การพดู รายงานท่ีผเู รยี นจําเปนตองใชในชวี ิตประจําวนั คอื การพูดรายงานผลการทดลอง และการศึกษาคน ควา เพอื่ เสนอตอครูและเพ่ือนในกลมุ ซ่งึ มกั จะเรยี กวาการรายงานหนาชน้ั ดังนน้ั ผเู รียนจะตองทราบถงึ หลักและวธิ กี ารพูดรายงานพรอ มท้ังหม่นั ฝกฝนใหเกดิ ทักษะซึ่ง มแี นวปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1. เรียบเรียงเนอ้ื หาท่ีจะรายงานตามลาํ ดับความสาํ คญั ไดส าระกระชับและชดั เจน 2. พิจารณาเน้อื หาใหเหมาะสมกบั สภาพและพนื้ ฐานความรขู องกลุมผฟู ง 3. พจิ ารณาเนื้อหาทีร่ ายงานใหเ หมาะสมกับเวลาที่กาํ หนด 4. ควรใชภ าษาในการเสนอเน้อื หาใหเ หมาะสมกับระดบั ของผฟู ง ใชภ าษาทีส่ ่ือสารเขา ใจงาย ไมใ ชศพั ทเทคนคิ หรอื ศพั ททางวชิ าการทีย่ ากจะทาํ ใหผ ูฟงไมเขาใจ 5. มกี ารยกตวั อยางสถติ ิ เอกสารและอปุ กรณประกอบการรายงานในเนื้อหาบางตอน เพ่อื ใหผ ฟู ง เขา ใจงา ยและชดั เจน 6. ควรเปดโอกาสใหผฟู ง ไดซักถามขอสงสัย เพ่ือผรู ายงานจะไดอ ธบิ าย 7. หากการรายงานมีเน้ือหาสาระมากเกนิ เวลาทม่ี อี ยู ควรมีการพมิ พเ อกสารแจกลวงหนา เพ่อื ผูรายงานจะไดชี้แจงเฉพาะสวนที่สําคัญเทา นน้ั สวนรายละเอียดจะดูไดจากเอกสาร

21 การพดู บรรยายความรสู ึก การพูดบรรยายความรูส ึก เปน ลกั ษณะการถายทอดความรู อารมณความรูส กึ หรือความคดิ เห็น ในเรือ่ งใดเรอื่ งหน่ึง โดยผพู ูดมจี ุดประสงคเ พ่อื โนม นาวใจใหผ ูฟง คลอ ยตามหรือเช่ือในเร่ืองนัน้ ๆ การพดู บรรยายความรสู กึ นึกคดิ ออกมาใหผูฟ ง เชอื่ และเห็นคลอ ยตามนั้น จําเปนตองใชศ ลิ ปะใน การพดู ศลิ ปะในการใชน้ําเสยี งและการแสดงกริ ยิ าทา ทางประกอบไดอยา งเหมาะสม ตลอดจน การเลอื กใชถอยคําในการพูดและการใชก ลวธิ ีในการบรรยายความรูสกึ เชน การพูดแสดงความ ยนิ ดี การพูดแสดงความขอบคณุ การกลา วแสดงความเสยี ใจ การเลา เหตุการณทีต่ น่ื เตน เราใจ และการพดู ปลอบใจ เปนตน การพดู อธบิ าย เปน การพูดชี้แจงรายละเอยี ดเปนการพดู อธบิ ายวิธหี นึง่ ทม่ี จี ดุ ประสงคส าํ คัญ เพื่ออธิบาย หรือช้ีแจงเรือ่ งราวตาง ๆ ที่มผี ตู ิดใจสงสยั ใหเ ขาใจในรายละเอยี ดอยางแจมแจงชดั เจนทั้งผชู ้ีแจง อาจเปน คน ๆ เดยี วหรอื เปน คณะก็ได และผฟู ง อาจจะเปนคน ๆ เดยี วหรอื กลุมคนก็ได การพูด ชแ้ี จงรายละเอียดมีข้ันตอนและวิธกี ารดังนี้ 1. ตองศกึ ษาทําความเขาใจปญ หา ขอ สงสยั เหตกุ ารณความตองการและสถานการณ ของบุคคล กลุมบุคคลทจี่ ะช้ีแจงเปน อยางดี 2. พดู เทา ความถึงปญ หา ขอสงสยั ความตอ งการของผูฟง คาํ ชี้แจงเพื่อเปนหลกั ฐานทจ่ี ะ นาํ เขาสกู ารชแ้ี จงรายละเอียด 3. เร่ิมช้ีแจงรายละเอียดหรือเนอื้ เรอื่ งทเี่ ปน เหตผุ ลสําคัญเปนขอ เทจ็ จริงหรอื เปนวิธีปฏิบตั ิ ทีถ่ ูกตอ งเหมาะสม โดยใชภาษาใหเ หมาะสมกับกาลเทศะ บคุ คลและสถานการณใ นขณะนัน้ อธิบายใหผูฟงเขาใจในรายละเอียดใหแจมแจง ชัดเจน 4. มีการสรปุ ในสาระสําคญั แนวปฏิบัติหรอื ขอตกลงใหชดั เจนยิง่ ขึ้น กิจกรรมที่ 4 ใหผ เู รียนฝกการพูดบรรยายความรูส ึกตอ เพอ่ื นหรอื บุคคลทเ่ี ก่ยี วของในโอกาสอนั ควร ซง่ึ อาจจะเปนการพดู แสดงความยนิ ดี แสดงความเสยี ใจหรอื การพูดเพอ่ื ปลอบใจโดยปฏบิ ัตติ าม หลกั และวิธีการพูดบรรยายความรูสกึ ใหค รบถว นแลว ใหประเมนิ การพูดของตนเองดวย

22 การโตว าที ความหมายและความสาํ คัญของการโตวาที การโตวาที คอื การอภิปรายแบบหน่งึ ซงึ่ ประกอบดว ยผมู คี วามเหน็ ตรงขา มกันในเร่อื ง ใดเรอ่ื งหน่งึ มจี ํานวนเทากัน ต้ังแต 2 - 4 คน ผลดั กนั พดู แสดงความคดิ เห็น เพอ่ื จงู ใจใหผ ฟู งเหน็ คลอยตามกับเหตผุ ลและความคดิ ของฝายตน ซ่งึ เรยี กวา ฝายเสนอ ฝา ยหนง่ึ และฝายคา นอกี ฝายหนึ่ง มีการกําหนดเวลาใหแตละฝายพดู ผพู ูดแตล ะคนจะหาเหตผุ ลมาหกั ลางฝายตรงขามและหาเหตุผล มาสนบั สนุนฝา ยของตนเอง โดยมีคณะกรรมการเปน ผพู ิจารณาตัดสินวาฝา ยใดมีเหตุผลดกี วา ฝ ายใดชนะหรอื เสมอกนั การโตว าทไี มมีการใหเ วลาผฟู ง ไดร ว มแสดงความคดิ เห็นเหมือนการ อภิปรายประเภทอน่ื การโตวาที เปนกิจกรรมการพูดที่มีความสําคญั ในเชิงของการใชศ ิลปะการพูดเพอื่ แสดง ทรรศนะ เพื่อการชักจูงใจและการโตแยง เปนการฝก ฝนการแสดงวาทศิลปชนั้ สงู ฝก การยอม รับฟงเหตุผล มีนํ้าใจเปน นกั กฬี า และรูจ กั เคารพกติกาเก่ียวกับการพูด ซ่งึ ปกตเิ ราไมคอยจะมกี นั การโตว าทมี จี ดุ ประสงคท แ่ี ทจรงิ ดงั ที่กลาวมามากกวา การจดั เพ่อื ความบันเทงิ ปจ จุบนั มีการจดั กจิ กรรมการพดู โตวาทอี ยเู สมอโดยเฉพาะทางสอื่ มวลชน เชน รายการ ยอวาที แซววาที ฯลฯ แตด ูเปนการใชคารมคมคายมากกวาการใชวิธีการแหง ปญ ญา ไมได สง เสรมิ การเพม่ิ พูนภูมปิ ญ ญา เพยี งแตม งุ ความบนั เทงิ มากกวา สาระความรู องคป ระกอบของการโตว าที การโตวาทีเปน การพูดอภปิ รายสาธารณะ จงึ มีการแยกกลุมผพู ูดออกจากผูฟง และไมเ ปด โอกาสใหผ ูฟ ง ไดม ีสว นรว มในการพูดอาจจะมีเพยี งถามความเหน็ ในการตัดสนิ ดว ยการขอเสยี ง ปรบมอื เทา นน้ั องคประกอบของการโตว าทีมดี ังน้ี 1. ญตั ติ คือ หัวขอ การโตว าทีหรอื ประเด็นปญหาท่ีกาํ หนดขน้ึ ซง่ึ เปนขอทผี่ พู ูดทั้งสองฝาย มีความเหน็ ไมตรงกัน หรืออาจจะกําหนดใหเ หน็ ไมตรงกัน หยบิ ยกมาใหอภิปรายโตแ ยง กนั ญัตตทิ คี่ วรนํามาโตว าทคี วรมีลกั ษณะดงั นี้ 1. เปน เรอ่ื งทคี่ นสว นใหญใหความสนใจและมีสว นเกย่ี วขอ งหรอื มีผลกระทบและเกดิ ประโยชนต อ คนในสังคมเหลา นนั้ 2. เปน เรือ่ งใหความรู มีคุณคา ในการสงเสริมความรู ความคดิ และสง เสริมเศรษฐกิจ การเมอื งการปกครอง 3. เปน เรอ่ื งสงเสริมศิลปวัฒนธรรม และไมขดั ตอศลี ธรรมอันดีงามไมเ ปนภัยตอ สงั คม

23 4. เปนเรื่องทจี่ ะนาํ ไปสูขอ ตกลงทจี่ ะดาํ เนนิ การไดหรอื สามารถนาํ ผลของการโตวาทไี ปใช ในการแกป ญหาหรอื ใชประโยชนดา นอนื่ ๆ ได (ควรหลีกเล่ียงญตั ติทีข่ าดลกั ษณะดงั กลา วมา เชน ญัตติท่ีวา ข้เี มา ดีกวาเจา ชู พอคาดกี วา ขาราชการ ฯลฯ ซงึ่ เปน ญัตติทไ่ี มไดป ระโยชนไรส าระ) 2. ประธานการโตว าทีและคณะผตู ัดสนิ ใจ ประธานการโตวาที เปน ผทู ําหนา ทค่ี วบคมุ การโตวาทีใหเ ปนไปตามแบบแผนและกฎ เกณฑต ลอดทงั้ ขอตกลงตา ง ๆ ประธานการโตวาทีจะมีผชู วยทาํ หนา ท่ีผกู าํ กบั เวลาของผูโ ตตามที่ กําหนดกันไว ประธานการโตวาทีมหี นา ที่ดงั น้ี 1. กลาวนําบอกญัตติและช้ีแจงระเบียบวิธีการ หลกั เกณฑของการโตว าที 2. แนะนําคณะผโู ตทัง้ ฝา ยเสนอและฝายคา น แนะนําผกู าํ กบั เวลาและคณะผตู ดั สิน 3. ช้ีแจงรายละเอียดของกตกิ าตา ง ๆ ใหท กุ ฝา ยท่เี กย่ี วขอ งในการโตวาทีทราบ 4. เชญิ ผโู ตข้ึนพูดทีละคนตามลาํ ดบั 5. รวมคะแนน แจงผลการตดั สนิ และกลา วปด การโตวาที คณะผตู ัดสนิ คณะผตู ัดสินจะเลือกผทู มี่ ปี ระสบการณใ นการโตว าทีและมีความเช่ียวชาญในเรอ่ื งท่นี าํ มา เปนญตั ตใิ นการโตวาที อาจจะมี 2 หรอื 5 คน คณะผตู ัดสินมหี นาที่ใหค ะแนนตดั สินชขี้ าด การ โตวาทฝี ายใดทีเ่ สนอเหตุผล ความคดิ ทรรศนะที่ดกี วา โดยไมตองถามความเห็นตอผฟู ง 3. คณะผโู ตวาที คณะผโู ต คือ กลุม 2 กลมุ ทมี่ คี วามเหน็ ขัดแยงกนั ตกลงจะพดู แสดงความคดิ ทรรศนะ ของตนตอสาธารณะหรือผูฟง ทส่ี นใจ คณะผูโตจ ะแบง ออกเปน 2 ฝาย คอื ฝา ยท่ีเหน็ ดวยกับ ญัตติจะพดู สนับสนุนเรยี กวา ฝายเสนอ ฝา ยที่ไมเ ห็นดว ยหรอื เปนผมู คี วามคดิ เห็นโตแ ยง เรยี กวา ฝายคา น ผโู ตแตล ะฝายจะมีหวั หนาคนหน่ึง และมีผูสนบั สนนุ ฝายละ 2 - 3 คน แตละฝายจะมีดังน้ี ฝา ยเสนอ ฝา ยคาน 1. หวั หนา ฝา ยเสนอ 1. หัวหนาฝายคาน 2. ผูสนับสนุนฝายเสนอคนท่ี 1 2. ผูสนบั สนนุ ฝายคานคนท่ี 1 3. ผสู นับสนุนฝา ยเสนอคนท่ี 2 3. ผสู นบั สนุนฝา ยคา นคนท่ี 2 4. ผูสนบั สนุนฝายเสนอคนท่ี 3 4. ผูสนับสนนุ ฝา ยคา นคนท่ี 3 คณะผโู ตว าทที กุ คนทัง้ ฝายเสนอและฝา ยคา นจะตอ งปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. ปฏบิ ัตติ ามคาํ สั่งและคําชีแ้ จงของประธานอยา งเครง ครดั

24 2. ปฏิบัตติ ามกตกิ าของการโตว าทอี ยา งเครงครัด 3. รกั ษามารยาทในการพดู อยา งเครงครัด เชน พูดใหส ภุ าพไมพ ูดกาวราว ยั่วเยา ดูถูกฝา ย ตรงขามและงดเวน การพดู เรอื่ งสวนตวั เปน ตน การจดั ลาํ ดับและการพดู ของผโู ตว าที การจดั ลําดบั และการพดู ของผูโ ตว าทที ั้งสองฝายจะมกี ารจดั ลาํ ดบั กําหนดเวลาและมแี นว การนําเสนอดงั นี้ ลําดับท่ี 1 หัวหนาฝายเสนอ หวั หนา ฝา ยเสนอจะไดร บั เชญิ ข้นึ พูดเปน อันดบั แรกโดยจะใหเ ปนผเู สนอประเดน็ ขอบเขต ของญตั ติ การใหน ยิ ามคําและทรรศนะทม่ี ีตอเร่ืองทีโ่ ตว าทีในครัง้ นั้นวาเปนอยางไร โดยจะบอก ถึงขอเทจ็ จริง เหตผุ ล พรอ มหลกั ฐานตา ง ๆ มาสนบั สนุน ปกติหวั หนา ท้ัง 2 ฝา ยจะใชเ วลาพูดมาก กวา ผสู นบั สนุนเล็กนอย ลาํ ดับท่ี 2 หัวหนา ฝายคา น หวั หนาฝา ยคา นจะไดรบั เชญิ ขึน้ พูดเปนอันดับที่ 2 ตอ จากหวั หนาฝายเสนอหัวหนา ฝา ยคา น จะรวบรวมขอ เสนอของหัวหนาฝา ยเสนอทกุ ขอทุกประเด็นมาคดั คานดวยเหตผุ ลและหลักฐานเพือ่ หักลางใหไดทกุ ประเดน็ แลว จึงเสนอความคดิ เหตผุ ลและหลกั ฐานสนับสนุนความคิดของฝายคา น ไวใหมากทีส่ ุด ลําดบั ท่ี 3 - 6 หรือ 8 ผสู นับสนนุ ท้งั สองฝา ย ตอ จากหวั หนาฝายคาน กจ็ ะเปนหนาทีข่ องผสู นับสนุนฝา ยเสนอและฝายคา นสลบั กันไป โดยทกุ คนจะทําหนา ท่สี นบั สนุนความคิดและเหตผุ ลของฝา ยตนเอง คัดคานหักลา งความคิดและ เหตผุ ลของฝายตรงกันขา มใหครบทกุ ประเด็น แลว ก็จะเสนอความคิดเหตผุ ลและหลักฐานตา ง ๆ สนบั สนุนฝายตนเอง ลําดับสดุ ทา ย เมื่อผสู นับสนนุ ท้ัง 2 ฝา ยพดู ครบทุกคนแลว จะใหห วั หนาทั้งสองฝา ยมาพดู สรุปอีกครั้งหนึ่ง โดยจะใหหวั หนา ฝา ยคา นเปน ผูสรุปกอนแลว จึงใหห ัวหนา ฝายเสนอสรปุ เปน คนสุดทา ย 4. ผฟู ง ผูฟ งการโตว าทีเปนผูรับความรู ความคิด ทรรศนะของผโู ตว าทที ้งั สองฝาย แลว จะตองใชวิจารณญาณที่จะนําไปใชใหเ กดิ ประโยชน ผฟู งการโตวาทีไมมโี อกาสไดรว มแสดงความ คิดเห็นเหมอื นกจิ กรรมการฟง อภิปรายประเภทอ่ืน มแี ตเพยี งตองปฏิบตั ิตนใหเ ปนผฟู ง ท่ีดีเทา น้นั

25 กิจกรรมที่ 5 ใหผูเรยี นเขารว มกิจกรรมการโตว าทขี องกลุม ในโอกาสสาํ คัญ โดยเขารวมเปน คณะผจู ดั คณะผูโตห รอื อื่น ๆ ตามความเหมาะสมเพอื่ ฝกฝนการพูด ผมู มี ารยาทดใี นการพดู การมีมารยาทในการพดู กจ็ ะคลายคลงึ กับลักษณะการพดู ทด่ี ีดงั ทไี่ ดกลา วในตอนตนแลว ซงึ่ อาจประมวลไดด ังน้ี 1. ผพู ดู เปนผทู ถี่ ายทอดความรูส กึ ความคิดเหน็ ขอเทจ็ จรงิ ตลอดจนทัศนคติของตนไป สูผฟู ง โดยส่อื ภาษาทาง เสยี ง อากัปกริ ิยา และบคุ ลกิ ภาพ ใหม ีประสทิ ธิภาพที่สุด ผูพดู จะตองมี มารยาทและคุณธรรมในการพูด และผพู ูดเองตองมีการเตรยี มตวั มคี วามรู และประสบการณใ น เร่ืองที่จะพูดอยางดี และตอ งรวบรวมเรียบเรยี งความรูเหลานน้ั ใหเปน ระบบและถายทอดใหผูฟง เขาใจงาย และชัดเจน ผพู ูดเองตองมที กั ษะในการพดู มีความสนใจท่ีจะพัฒนาบุคลกิ ภาพอยูเ สมอ เปนการสรางความม่ันใจใหผ พู ูดเอง 2. เรือ่ งและสาระท่ีพูดตอ งมปี ระโยชนต อ ผฟู ง ควรเปน เรอ่ื งทันสมัย เน้อื หาชดั เจน ผพู ดู ตอ งขยายความคิดและยกตัวอยางใหชัดเจน 3. ผูพดู ตอ งรูจักกลมุ ผฟู ง กอ นลวงหนา ท้งั อาชพี วัย เพศ ความสนใจของผูฟง ฯลฯ รวมทงั้ จุดมงุ หมายในการพูด เพือ่ จะไดเตรยี มตวั และเนอื้ หาไดถูกตอ งนาสนใจ 4. ผูพ ดู ตอ งคนควาหาความรู และประมวลความคิดท้งั หมด แยกแยะใหไดว า ความคดิ หลักคืออะไร ความคิดรองคอื อะไร และควรหาส่งิ สนบั สนนุ มาประกอบความคิดน้นั ๆ เชน เหตุการณที่รบั รูก ันไดท วั่ ไป หรือบคุ คลท่มี ชี ่อื เสยี ง ฯลฯ พรอ มกันนน้ั ถามีการอางองิ เรือ่ งท่ีมา ประกอบการพดู ที่ผพู ดู ตองบอกแหลงท่มี าดว ย 5. การจัดระเบียบ และวางโครงเรื่อง ตอ งเตรยี มใหดีเพอื่ จะไดไ มพ ดู วกวน เพราะ มิฉะนั้นจะทําใหก ารพดู ไมนาสนใจ และอยา ลืมวาในการพูดแตละครง้ั ตองใหค รอบคลมุ จุดมุงหมายใหครบถวน 6. ผพู ดู ตอ งเรา ความสนใจของผูฟ งดว ยการใชภาษา เสียง กริ ยิ าทาทาง และบคุ ลิกภาพ สว นตนเขา ชว ยใหผ ฟู ง ฟง อยา งต้ังใจ และผพู ดู ตองพรอ มในการแกปญ หาเฉพาะหนา ที่อาจเกิดข้ึนดวย

26 กจิ กรรมที่ 6 ผเู รยี นลองประเมินตนเองวา ทานสามารถเปนนักพดู ระดบั ใด ถา กําหนดระดบั A B C และ D โดยทานเปน ผตู ง้ั มาตรฐานเองดว ย และถา ไดระดับ C ลงมา ทานคดิ จะปรบั ปรงุ ตนเอง อยา งไรบา งหรอื ไม

27 กจิ กรรมทายบทท่ี 2 กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นใชศลิ ปะการพดู ไดอยางเหมาะสมกบั โอกาสและบคุ คล โดยสมมตุ ิการพูด ในโอกาสตา ง ๆ เอง (5 คะแนน) กิจกรรมที่ 2 ใหแ บงกลมุ ผเู รียนวิเคราะหและประเมนิ คาการใชการพูดในการเขียนจากการอาน เรื่องน้ี อยูดๆี ก็หาของทีเ่ รามกั จะใชป ระจําแตไ มเ จอเหมอื นวามนั พรอ มจะหาย เมอื่ เราจะหาเปน ซะอยาง บางทีปากกากห็ าไมเ จอ แตม ารตู ัวอีกทกี ็เหนบ็ ไวทขี่ างหู มือถอื ไมร วู า หายไปจากกระเปา กางเกงตอนไหน ทง้ั ๆ ที่ตอนน้ีกก็ าํ ลงั ใชมอื ถือโทรคยุ อยู เอะ เปน อะไรกนั ละน่ี อยางนจ้ี ะเรียกวาหลงลมื หรอื ขลี้ มื ดีนอ หลงลืม กบั ขลี้ ืม นต่ี างกันนะครับ เพราะถาเราไมไ ดใสใจในเรอ่ื งบางเรอ่ื ง โดยท่ีไมเ อาสมาธิ ไปมงุ กบั เร่ืองนั้น เรากจ็ ะจาํ ไมไ ดเ รียกวา ข้ลี ืม วธิ ีนีแ้ กไ ดโ ดยเอาสมาธไิ ปใสใ นกับเรอ่ื งทเี่ ราทํา เชน จดบนั ทกึ หรอื ถายภาพมอื ถือไว วาจอดรถท่ีชนั้ ไหน หรอื เบอรโทรศพั ทท ี่ติดประกาศไวเ บอรอ ะไร ตางกบั หลงลมื จะจาํ ไมไดเ ลยดว ยซํา้ วา ขบั รถมา หรอื วางของผดิ ที่ อยางเอากญุ แจไปวางในแกว นาํ้ เอาเตารีดไปแชต ูเย็น เปน ตน ถาไมอ ยากขี้ลืม ผมมเี คลด็ ลบั งายๆ มาชว ยพัฒนาสมองพวกเรากบั ครบั โดยวิเคราะหและประเมนิ จากหวั ขอดังน้ี 1. เรื่องน้ีนาจะมชี ือ่ เร่ืองอะไร 2. เหตุการณในเรอื่ งจะเกดิ ฟงบุคคลวยั ใด 3. หลงลมื และข้ลี ืมตา งกนั อยา งไร 4. วธิ กี ารแกไ ขการขี้ลืมทําอยา งไร 5. ยกตัวอยา งการใชก ารพูดในการเขยี น 2 ตวั อยางและใหผูเรียนสงผลการวิเคราะหและ ประเมนิ คาการใชการพูด เปน งานรายบุคคล และสง ครผู ูสอน (5 คะแนน) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนเขยี น “การปฏิบัติตนเปนผมู มี ารยาทในการพดู ” เปนงานรายบคุ คลและ สงครูผสู อน (3 คะแนน)

28 บทท่ี 3 การอาน เรือ่ งที่ 1 ความสาํ คญั ของการอา น 1. การอานชว ยใหผ ูอานไดร บั สาระความรูและขาวสารขอมลู ตา ง ๆ ทีเ่ กิดประโยชนตอการ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของผอู า น พฒั นาชมุ ชน สังคม และประเทศชาติได 2. การอานชวยใหความเพลิดเพลินไดรบั ความสขุ เกิดความคิดและจินตนาการ การอา นจงึ เปน การพกั ผอนและคลายเครยี ดไดด ี 3. การอา นชว ยใหการดาํ เนินชวี ติ ของมนุษยมีความสุขสมบรู ณในการดําเนินชีวติ อยูใ น ชมุ ชนและสังคมเพิ่มมากข้ึน เพราะการอานจะชวยสรางความคิดประสบการณใหโ ลกทัศน กวา งขวางข้ึนมคี วามเขา ใจอันดีระหวา งคนในสังคม เร่ืองท่ี 2 วิจารณญาณในการอา น วจิ ารณญาณในการอาน คือ การอานอยางใชส ติปญ ญาไตรตรอง รจู กั นาํ ประสบการณ ความรูและเหตุผลมาประกอบในการตดั สินใจและสามารถนําไปใชไดอ ยางถูกตอ งตามความ เหมาะสม ลกั ษณะของการอา นอยางมีวจิ ารณญาณตอ งสรปุ ใหไ ดว าสงิ่ ใดเปนใจความสําคญั สง่ิ ใด เปนพลความหรือใจความประกอบและเขา ใจวา ขอความใดเปน ขอ เท็จจรงิ ขอความใดเปน ความ คดิ เห็น ตลอดจนสามารถประเมนิ คา งานเขียนที่อา นไดวา มคี ณุ คา ดา นใด มีแงค ิดอะไรและสามารถ นาํ ความรูความคิดนั้นมาใชใหเ กิดประโยชนไดอ ยางไร ขนั้ ตอนการอา นอยางมีวจิ ารณญาณ 1. อา นใหเ ขา ใจตลอดเรือ่ ง 2. วเิ คราะหวา เร่ืองทอ่ี านน้ันมสี าระสําคัญอะไร อะไรเปนขอ คดิ เห็น อะไรเปนขอ เท็จจริง เจตนาของเร่ืองคืออะไรและมีประโยชนดา นใดบาง 3. ประเมินคา เมือ่ วเิ คราะหแลว วา เรือ่ งทีอ่ านน้ันมีคุณคา ดานใดและสามารถนาํ ไปใชให เกดิ ประโยชนก บั ใครดา นใดและอยา งไรตอไป 4. นําเรอ่ื งท่ีอานไปใช เมื่อวเิ คราะหและประเมินคา ไดแลวนําสาระสําคัญทไ่ี ดจากเร่อื งไป ใชใหเ กิดประโยชนตอ ตนเอง ชมุ ชนและสงั คมอยา งเหมาะสม

29 หลักการอา นอยา งมีวจิ ารณญาณ 1. พิจารณาความถูกตองของภาษาทัง้ ดา นความหมายและความถูกตอ งของการใชภ าษา 2. พจิ ารณาความสมเหตสุ มผลของเรอ่ื งหรอื การนําเสนอเนอื้ หาทส่ี อดคลองกันและเปน ไป ตามลําดบั ขน้ั ตอน 3. พจิ ารณาความตอเนอื่ งสมั พันธกันระหวางแกนหลกั แกนรอง และสว นประกอบที่ เหมาะสมกลมกลืนกัน 4. แยกแยะวา สวนใดเปนความรู ความคดิ เห็นหรือขอเท็จจริงอยางถกู ตอ ง 5. พิจารณาเนื้อหาความรูท ่ีไดจ ากการอา น มีความสัมพันธกนั มคี วามเปนรปู ธรรม เขา ใจ งา ย มีความนา สนใจและใหคุณประโยชนม ากเพียงใด เร่ืองที่ 3 การอานแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความหรอื สรปุ ความ การอานแปลความ หมายถงึ การแปลงจากคําเดมิ เปนคําใหมทย่ี งั คงความหมายและ สาระสาํ คัญของเนือ้ หาเดิมไวอ ยางครบถวน การแปลความท่ีนิยมกันมากท่สี ุดคือ การถอดคาํ ประพนั ธจ ากภาษารอยกรองเปน ภาษารอยแกว การอา นตคี วาม แตกตางจากการแปลความ คอื การแปลความนน้ั เปน การแปลคาํ ตอคํา ในขณะท่ีการตีความมีการแปลความ ถอดความและตคี วามคํา ทง้ั ความหมายตรงและความหมาย โดยนยั ใหตรงตามเจตนาของผเู ขยี นไวด ว ย ลกั ษณะของการตคี วามท่ีดี 1. เขา ใจความรู ความคิดพนื้ ฐานของผูเขียน 2. มคี วามรู ความเขา ใจสภาพหรอื บรบิ ทของสงั คมตามยคุ สมัยทีง่ านเขียนสรางขึ้นวา มี พนื้ ฐานหรือสภาพของสังคมในชว งน้ัน ๆ วา เปนอยางไร 3. ควรอา นงานเขยี นท่จี ะตีความน้ันหลาย ๆ ครงั้ เพอ่ื เก็บรายละเอยี ดใหไ ดท้งั หมดจะทาํ ใหก ารตคี วามไดอยา งชัดเจนครบถว น 4. การอา นตคี วามที่ดีไมควรยดึ ถือวา การตคี วามของตนเองถกู ตอ งเสมอ การอา นขยายความ เปนการอธิบายเพิ่มเตมิ จากการตคี วามใหกวา งขวาง ครอบคลุม เนื้อหาใหม คี วามชัดเจนย่งิ ขึ้น ลกั ษณะของการอานขยายความ ไดแก การขยายความ ไดแ ก การ ขยายความ สํานวน พงั เพย สภุ าษติ คาํ ขวญั เปนตน การอานจบั ใจความหรอื สรปุ ความ ใจความสาํ คัญ คือ สาระเนื้อหาหลักของเร่อื งที่อานทั้งหมดหรือท่ีเรียกวา แกนของเร่อื ง หวั ใจของเรือ่ งหรอื ความคิดหลักของเรอื่ ง

30 ในแตล ะยอ หนาของเรือ่ งทีอ่ า นจะมีใจความสาํ คญั ของเร่ืองเพยี งใจความเดยี ว ซึ่งสวนใหญ จะปรากฏในประโยคแรกของยอ หนา รองลงมาคือประโยคสุดทายของยอหนามีเพยี งสวนนอ ยที่ ประโยคใจความสาํ คัญจะอยตู อนกลางของยอ หนา การอานและพจิ ารณานวนยิ าย นวนิยายจดั เปน วรรณกรรมปจจบุ ันประเภทรอ ยแกว นวนิยายแบง ตามเน้อื หาในการนําเสนอได 6 ประเภท คือ 1. นวนยิ ายองิ ประวตั ิศาสตร เชน สี่แผน ดิน คกู รรม รัตนโกสนิ ทร 2. นวนิยายวทิ ยาศาสตร เชน กาเหวา ที่บางเพลง มนุษยพ ระจันทร มนุษยล อ งหน 3. นวนิยายลกึ ลบั ฆาตกรรม นกั สบื สายลบั เชน เชอรล อกโฮม มฤตยยู อดรกั นวลฉวี 4. นวนยิ ายเกี่ยวกับภูตผีปศาจ เชน แมนาคพระโขนง กระสือ ศรษี ะมาร 5. นวนิยายเก่ยี วกับการเมือง เชน ไผแ ดง สารวตั รใหญ ฟา เปล่ยี นสี 6. นวนยิ ายดานสังคมศาสตร เชน เมียนอย ทองเนอื้ เกา แรงเงา หลกั การอานและพิจารณานวนยิ าย 1. โครงเร่ืองและเน้อื เร่ือง คือ เร่อื ราวของเร่ืองวา ใครทําอะไร อยา งไร ท่ไี หน กับใคร เมื่อใด โครงเร่อื งทดี่ ีเหตุการณต าง ๆ ในเร่อื งจะตองมีความสัมพันธต อเน่อื งกัน มกี ารสรา งจุดสนใจ ใหผอู า นตดิ ตามเรอ่ื งตลอดและตอ งมีความสมจริงสมเหตุผลในการนําเสนอดว ย 2. กลวธิ ีในการดาํ เนินเรอื่ ง คือขั้นตอนในการนาํ เสนอเรอ่ื งจะทําใหนวนยิ ายมีความ นา สนใจและประทบั ใจผูอา น กลวิธีดาํ เนนิ เรือ่ งที่ดีจะตอ งเรยี งลาํ ดบั เหตุการณจ ากกอ นไปหลังจะ ทําใหผ ูอานไมส ับสนและชวนใหต ดิ ตาม 3. ตัวละคร นวนิยายที่ดจี ะตองมีลกั ษณะนสิ ยั หรือพฤตกิ รรมของตวั ละครท่สี มจรงิ สมเหตุสมผล ผอู า นจะรูจกั พฤติกรรมหรือบคุ ลิกลกั ษณะของตัวละครไดจ ากบทสนทนา 4. ฉาก หมายถึง สถานท่ี สภาพแวดลอม เวลาทีเ่ กดิ เหตุการณตาง ๆ ในนวนิยายแตล ะ เรอื่ งท่ตี อ งสอดคลองกบั แนวของเร่ือง เชน นวนยิ ายเกีย่ วกบั ผปี ศ าจ ฉากที่ปรากฏในเร่อื งสว นใหญ กจ็ ะเวลากลางคืน 5. สารตั ถะหรือสารของเร่อื งนวนยิ ายท่ีดจี ะบอกแนวของเร่อื งท่ีชดั เจนมีคุณคาดาน คุณธรรมจริยธรรมทด่ี ี เชน ทาํ ดีไดดี ทาํ ช่วั ไดช วั่ ธรรมชนะอธรรม พนทกุ ขไดเ พราะความเพยี ร ดังนเี้ ปนตน

31 เรอื่ งที่ 4 มารยาทและนสิ ัยรกั การอา น มารยาทในการอาน มดี ังนี้ 1. ไมค วรอา นเอกสารท่เี ปนสว นตัวของบุคคลอ่ืน อาทิ สมุดบันทึก จดหมายสว นตัว 2. ในขณะที่ผูอนื่ กําลงั อา นหนงั สอื อยไู มควรชะโงกหนาไปอานหนังสือฉบับเดยี วกันจาก ดา นหลังหรือดานขา ง เพราะจะทาํ ใหผทู กี่ าํ ลงั อา นอยนู ัน้ เกดิ ความอึดอดั ราํ คาญได 3. ใชการอานในใจในขณะท่มี ผี อู ืน่ อยูดวยในสถานทีน่ ้ันเพราะผอู ื่นทอ่ี ยูดว ยอาจตองการ ความสงบ 4. ไมอ านในลักษณะทเี่ ปนการลอ เลยี นผูอืน่ 5. ไมถอื วสิ าสะหยบิ หนงั สือหรือเอกสารของบุคคลอื่นมาอานโดยทไี่ มไ ดรบั อนุญาต 6. ไมอ านหนังสอื ในขณะนง่ั ประชมุ หรืออยูใ นวงสนทนาโดยหนังสอื หรอื เอกสารน้ันไม เกีย่ วขอ งกบั การประชุมหรอื เร่อื งทก่ี าํ ลงั สนทนา 7. การอานหนังสอื ในหอ งสมดุ หรือสถานท่ที ี่จัดไวสําหรับการอานหนงั สอื โดยเฉพาะจะตอง ไมส งเสยี งดังและปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบขอ บงั คับของสถานท่นี นั้ ๆ อยา งเครง ครัด การสรา งนสิ ัยรกั การอาน 1. หาหนงั สอื ประเภททตี่ นเองชอบหรอื สนใจมาอา นกอนโดยเลือกที่ความยาวไมม ากนกั 2. หยิบหนังสือหรือเอกสารมาอานทุกคร้ังท่ีมีเวลา เชน ขณะไปรอการตรวจรักษาใน คลินิกแพทย ทันตแพทย การไปรอประชุมตาง ๆ เปนตน 3. เลอื กอา นหนงั สือทม่ี ีรปู เลม เล็กกะทดั รัด มภี าพประกอบและสีสันสวยงามมาอานกอ น เพื่อจูงใจตนเองใหอ า นบทความในเวลาไมม ากนกั 4. มเี ทคนิคการอานเร็วโดยการจับเวลาในการอานหนังสอื แตละครง้ั และอานปา ยประกาศ ตามสถานที่ตาง ๆ ทผ่ี า นไปพบหรือตวั วิ่ง การคนหาคําในพจนานุกรมทสี่ าํ คญั ท่สี ดุ ในการจะชว ย ใหอานเรว็ คอื การมีสมาธิทแี่ นว แนจดจออยกู บั เรือ่ งทีอ่ าน 5. ฝก เทคนคิ การตงั้ คาํ ถามลักษณะการตง้ั คาํ ถามมี 2 อยาง คือ การต้ังคาํ ถามกอนการอา น จะทําใหอยากจะอา นเรอ่ื งราววา เปนอยา งไรกับการต้ังคาํ ถามเม่ืออา นจบแลว วา ตนเองยังมีขอ สงสยั ขอ งใจหรือไมช ัดเจนในเรอ่ื งใดตอนใดถายงั ไมไดคําตอบก็กลบั ไปอา นทบทวนซาํ้ อีกคร้ังหนง่ึ

32 กจิ กรรมทายบทที่ 3 กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรยี นอานเร่อื ง ซงิ่ บิก๊ ไบค อุปกรณป อ งกันกช็ วยไมไ ด และวเิ คราะหเร่อื งที่อานแลวตอบคําถามตอ ไปน้ี (5 คะแนน) ซ่งิ บิ๊กไบค อปุ กรณป อ งกนั ก็ชวยไมไ ด บกิ๊ ไบคกับความปลอดภัยในสังคมไทย โดยคุณหมอมนูญ ลีเชวงวงศ ประธานทุนงวงอยาขับในพระ อปุ ถัมภส มเด็จพระเจา พ่นี างเธอ เจา ฟา กลั ปยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร มลู นธิ ริ ามาธบิ ดี ปจจุบันบิ๊กไบคไมไดจํากัดเฉพาะคนรวยเทานั้น คนท่ัวไปเขาถึงได และใชสําหรับเดินทางใน ชวี ติ ประจาํ วนั ขบั ขใี่ นเขตเมือง เนอื่ งจากสภาพถนนของเมืองใหญของไทยไมดีเหมือนในประเทศท่ีเจริญแลว สภาพผิวถนนไมเรยี บ สูง ๆ ต่ํา ๆ บางถนนมีรอยแยก มีเศษหนิ บนถนน ทําใหม ีโอกาสสะดุดลมเองได บางครั้ง มสี นุ ัขวิง่ ตัดหนา ปริมาณถนนบานเราก็นอย การจราจรก็ติดขัด ถนนคอนขางแคบไมกวางเหมือนประเทศท่ี พัฒนาแลว ไมมีเลนจักรยานยนต คนขีบ่ ิก๊ ไบคส วนใหญไ มขีช่ ดิ ซาย จะขี่ครอ มเสนแบงชอ งจราจรระหวา งรถยนต แลวแซงซายแซงขวาเพ่ือข่ีขึ้นไปขางหนา ถนนบางสายชองจราจรแคบมากบ๊ิกไบคไมสามารถแทรกผานได ตอ งเดนิ ลากบิก๊ ไบคซ ง่ิ หนักมาก บริเวณแยกท่ีมีสัญญาณไฟจราจร เวลาเปล่ียนเปนไฟเขียวจะสังเกตเห็นบิ๊กไบคออกตัวเปนคันแรก เพราะคนข่สี ามารถเรงเครอ่ื งไดเรว็ กวารถจกั รยานยนตท ่วั ไป ถึงแมร ะบบเบรกของบิ๊กไบคด กี วา รถจักรยานยนต ธรรมดามี ABS แตก็ไมส ามารถหยุดไดทนั ที ตอ งใชร ะยะทางในการหยดุ รถ ย่ิงท่ีเรว็ ย่ิงตอ งใชร ะยะทางเพ่ิมข้ึน บ๊ิกไบคข ่ดี วยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ตองใชระยะทาง 46 เมตร ถาขี่เร็ว 160 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ตอ งใชระยะทางเพม่ิ ข้นึ เปน 100 เมตร ในการหยุดบ๊กิ ไบค ดังนั้นบอ ยคร้งั ทคี่ นข่ีบก๊ิ ไบคห ลงั เรงเครือ่ งเต็มทีห่ ากรถยนตคันหนา เลีย้ วหรอื หยดุ กะทันหนั บ๊ิกไบคว ง่ิ ไปชนเพราะเบรกไมหยุด เพราะฉะน้ันคนขับรถยนตทุกคนถาจะเปลี่ยนเลนหรือเลี้ยวรถตองมองกระจกหลัง และใหส ัญญาณไฟเล้ียวแตเนิ่น ๆ และเวลาจอดรถยนตขางทางคนขับรถยนตตองระมัดระวังกอนเปดประตู ลงจากรถ

33 1. เพราะเหตุใดบกิ๊ ไบคย งั ไมเหมาะสมกับการขบั ขีใ่ นเขตเมอื ง 2. เพราะเหตุใดบิก๊ ไบคจ งึ มีอบุ ตั ิเหตุชนกบั รถยนตค ันหนาท่เี ลย้ี วหรอื ออกกะทนั หัน 3. หากทานขบ่ี ๊ิกไบคจ ะปองกนั การเกดิ อบุ ัติเหตอุ ยา งไร 4. หากทา นจะสนับสนนุ การขบ่ี ๊กิ ไบคควรพจิ ารณาอะไรบาง 5. ขอ ดีและขอเสียของการขับขบ่ี กิ๊ ไบค ใหเ ขียนเปน รายงานรายบคุ คลและสงครูผสู อน กจิ กรรมท่ี 2 แบงกลมุ ผเู รียนคน ควา จากแหลงความรูใ นเรอ่ื งตางๆ ดงั น้ี 1. ความหมายของภาษาถ่ิน สํานวน สุภาษิตที่ปรากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจจุบัน และวรรณกรรมทอ งถนิ่ 2. คุณคาของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบัน วรรณกรรมทองถิ่น ในดานแสดงถึงวิถีชีวิต ดา นสังคม และการนาํ คณุ คาเหลาน้ีไปใช โดยจดั ทาํ เปน รายงานกลมุ และสง ครผู สู อน (10 คะแนน) กิจกรรมที่ 3 ใหผูเรียนเขียน “การมีมารยาทในการอานและการมีวินัยรักการอาน” เปนงาน รายบุคคลและสง ครผู สู อน (3 คะแนน)

34 บทที่ 4 การเขียน เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียนประเภทตา ง ๆ การเขยี นยอความ การเขยี นยอ ความเปน การนาํ เรอ่ื งราวตาง ๆ มาสรปุ ใหเหลือเพยี งใจความสาํ คัญ แลว เขยี นใหมดว ยสาํ นวนของผยู อ ความ หลกั การยอ ความ 1. อานเน้อื เร่อื งที่จะยอ ความใหเขาใจ 2. จับใจความสําคัญแตละยอ หนา ของเรือ่ งทจ่ี ะยอ ความใหครบถวน 3. นาํ ใจความสาํ คัญของแตล ะยอหนา มาสรุปเขยี นใหม ดวยสํานวนของตนเอง โดยไมใ ชอกั ษรยอ ไมใ ชเครื่องหมายตา ง ๆ ใหคงราชาศัพทเดมิ ไวและเมอื่ ยอ แลว ความยาวของยอ ความประมาณ 1 ใน 4 ของเรอ่ื งเดมิ การเขยี นเรียงความ การเขียนเรยี งความ ประกอบดวย 3 สวน คือ คาํ นํา เปนสว นแรกของเรยี งความเพ่อื ปูพ้นื ฐานเพ่อื จะนาํ ผูอา นหรือโยงความ สนใจของผอู านกอ นทจ่ี ะไปพบรายละเอยี ดของเนอ้ื หาในชว งตอไป เนื้อเรอ่ื ง เปน สว นของการนาํ เสนอรายละเอยี ดของเรอื่ งตามหวั เรื่องทีต่ ้งั ไวดวย การใหขอ เท็จจริง ขอ มูล หรือยกตัวอยา งประกอบความคิดเห็นใหผ อู านไดเห็นภาพชัดเจน เกดิ ความคดิ ความรสู กึ ทีค่ ลอยตามไดตรงตามจุดประสงคข องการนําเสนอเรยี งความน้ัน สรปุ เปนการสรปุ หรอื ปดประเด็นในการนําเสนอดว ยการเนน ยา้ํ ใหผอู า นเขา ใจ ภาพรวมของเรอ่ื ง สาระสาํ คญั ของเรอื่ ง และเกดิ ความประทับใจกับผูอาน จดหมาย แบง ตามเนอื้ หาของจดหมายได 3 ประเภท จดหมายสว นตัว เปนจดหมายทีเ่ ขียนติดตอสอื่ สารกันระหวา งญาติ เพ่ือน ครู อาจารย ในเร่ืองหรือธรุ ะทเี่ ปนเรอ่ื งสวนตัว จดหมายกจิ ธุระ เปนจดหมายทีเ่ ขยี นติดตอ สือ่ สารกับบคุ คล หนวยงาน บรษิ ัท เรื่องธรุ กิจตาง ๆ เชน จดหมายสมคั รงาน จดหมายขอความชว ยเหลือ ขอคําปรึกษา ขอ คาํ แนะนาํ ตาง ๆ

35 จดหมายธรุ กจิ เปน จดหมายทเี่ ขยี นตดิ ตอ สอื่ สารกนั ดว ยเร่ืองธรุ กจิ เชน การสงั่ ซื้อ สนิ คาของบรษิ ทั หา งราน หรือองคก ร สวนประกอบของจดหมาย ประกอบดวย ที่อยขู องเจาของจดหมาย วนั เดือน ป ที่เขียนจดหมาย คาํ ข้ึนตน ขอ ความหรือเนอ้ื หาที่ตองการสือ่ สาร คาํ ลงทาย ลกั ษณะของการเขยี นจดหมายทด่ี ี จะตองใชภ าษาทสี่ ุภาพ สรา งสรรค เหมะสม กับสถานการณหรอื บคุ คลทีเ่ ราตอ งการจะสอื่ สารดว ย กระดาษเขยี นจดหมาย ซองใสจ ดหมาย ตองถูกตอ งเหมาะสมกบั ประเภทของจดหมาย โวหารในการเขียน โวหาร หมายถงึ การเลือกใชถอยคาํ สํานวนในการเขียนใหเ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน เขยี นในการถายทอดอารมณ ความรูสกึ นึกคิด จินตนาการ แบงเปน 5 ประเภท คอื 1. บรรยายโวหาร เปนโวหารทใี่ ชเขียนอธิบายหรอื บรรยายเหตกุ ารณตาง ๆ อยา ง ตรงไปตรงมา เพือ่ ใหผ อู านมีความเขา ใจชดั เจน บรรยายโวหารจะใชใ นการเขยี นหนังสือเรยี น ตําราวิชาการ รายงาน เปนตน 2. พรรณนาโวหาร เปน การเขียนท่สี อดแทรกอารมณ ความรูสึกของผูเ ขยี นลงไปใน งานเขยี น เพ่อื ใหผอู านมีอารมณคลอยตาม พรรณนาโวหารจงึ มักจะมกี ารใชถอยคําภาษาที่ทาํ ให เกดิ ภาพพจนตาง ๆ งานเขียนท่ีนิยมใชพ รรณนาโวหารมากท่สี ดุ คือ งานเขียนประเภทนวนยิ าย 3. อุปมาโวหาร เปน การเขยี นที่ใชส าํ นวนเปรียบเทียบเพอื่ ใหผอู านมคี วามเขา ใจได อยางชัดเจน เชน “เปรยี บเธอเพชรงามนํ้าหน่งึ หวานปานนํา้ ผ้ึงเดอื นหา ” 4. เทศนาโวหาร แนวการเขียนจะเปน ในลักษณะส่ังสอนใหเห็นคณุ เห็นโทษ เพือ่ โนม นา วใจ ชีแ้ นวใหผอู านเหน็ คลอยตามเพ่ือประพฤติดีประพฤตชิ อบ งานเขียนทม่ี ลี กั ษณะเปน เทศนา โวหารชัดเจน ไดแก พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั 5. สาธกโวหาร ลักษณะของสาธกโวหาร เปนการยกตวั อยางประกอบในการเขียน เพ่อื ใหผอู า นมคี วามชดั เจนมากย่ิงข้ึน ตัวอยางในการใชส าธกโวหารในการเขียนที่ชัดเจน เชน นิทานชาดก นิทานสุภาษติ เร่ืองที่ 2 หลกั การแตงคําประพนั ธ คาํ ประพนั ธ เรยี กอีกอยา งวา รอยกรอง หมายถงึ การนําถอ ยคาํ มาเรยี งรอย เรยี บเรียง ตามลักษณะบงั คับหรอื ฉันทลกั ษณของแตล ะคําประพันธ หรอื รอ ยกรองน้ัน ๆ ไดแก กาพย กลอน โคลง ฉนั ท กาพย ทเี่ ปน ที่รจู กั กนั มี 3 ชนิด คอื กาพยย านี กาพยฉบงั และกาพยส รุ างคนางค

36 กาพยยานี 11 มีลักษณะบังคับ คอื คณะ กาพยย านี 1 บท มี 2 บาท เรียก บาทเอก และบาทโท ใน 1 บทมี 2 วรรค เรยี ก วรรคแรกกับวรรคหลงั สมั ผัส คาํ ทายของวรรคแรกสัมผสั กับคาํ ที่ 3 ของวรรคหลัง และคาํ สดุ ทายของ บาทแรกสัมผสั กบั คําสุดทา ยของวรรคแรกในบทตอ ไป เปนสัมผัสระหวา งบท พยางค คือจาํ นวนคาํ ในวรรคแรก มี 5 คาํ วรรคหลงั มี 6 คาํ ดังน้ี กาพยฉ บัง 16 มีลกั ษณะบงั คบั คอื คณะ กาพยฉบังบทหนึ่งมีเพียง 1 บาท แตมี 3 วรรค คือ วรรคตน วรรคกลาง และวรรคทา ย สมั ผสั คาํ สดุ ทายของวรรคตนสมั ผสั กบั คําสดุ ทา ยของวรรคกลางและคําสุดทาย ของวรรคทายสมั ผสั กับคาํ สุดทา ยของวรรคแรกในบทถัดไปเปน สัมผัสระหวางบท พยางค พยางคหรือคําในวรรคตน มี 6 คํา วรรคกลางมี 4 คํา วรรคทายมี 6 คาํ ดังน้ี กาพยส รุ างคนางค 28 มลี ักษณะบงั คับ คือ คณะ ใน 1 บท จะมี 7 วรรค

37 สมั ผสั คําสุดทายของวรรคแรกสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค 2 คําสุดทายของ วรรคสามสัมผัสกบั คําสุดทา ยของวรรค 5 คําสุดทายของวรรค 5 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรค 6 และคําสุดทายของวรรค 7 ในบทแรกสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคสามและวรรคหาในบทถัดไป เปนสัมผสั ระหวา งบท พยางค ในแตละวรรคจะมี 4 คํา สว นรปู แบบในการจดั เรียงรูปแบบของผังกาพย สุรางคนางค ได 2 รูปแบบ ดงั น้ี รูปแบบท่ี 1 รปู แบบที่ 2 กลอน กลอนทเ่ี ปนท่รี ูจักกันอยางแพรห ลาย คอื กลอนแปดหรือกลอนสภุ าพ ซึ่งมลี ักษณะ ดังนี้ คณะ ในหนง่ึ บท มี 2 บาท ในแตละบาท มี 4 วรรค คอื สดับ รับ รอง และสง พยางค ในแตล ะวรรค มีได 7 ถึง 9 คํา แตท่นี ยิ ม คือ 8 คาํ จึงเรียกวา กลอน แปด สมั ผสั คาํ สดุ ทายของวรรคสดับ สมั ผัสกบั คําที่ 3 หรือ 5 ของวรรครบั คํา สุดทา ยวรรครับสัมผัสกบั คาํ สดุ ทา ยของวรรครอง และคําสุดทายของวรรคสง ในบทแรกสมั ผัสกับ

38 คาํ สุดทายของวรรครบั ในบทถัดไปเปน สัมผสั ระหวางบท ดงั ผังของกลอนสุภาพหรอื กลอนแปด ดังน้ี โคลง โคลงทีเ่ ปนทรี่ จู ักมากทส่ี ดุ คือโคลงสสี่ ภุ าพ มีลักษณะบังคับ คือ คณะ โคลง 1 บท มี 4 บาท ใน 1 บาท มี 2 วรรค คือ วรรคหนากบั วรรคหลงั พยางค ในวรรคหนาของทุกบาทจะมจี ํานวน 5 คาํ เทากันทุกบาท วรรคหลัง ของบาทแรกมี 2 คาํ หลกั และมคี ําสรอยไดอ ีก 2 คํา วรรคหลังของบาทที่ 2 ป 2 คาํ วรรคหลังของ บาทที่ 3 มีคาํ หลกั 2 คาํ และมคี าํ สรอยไดอ กี 2 คาํ วรรคหลังของบาทที่ 4 มี 4 คํา สมั ผสั คําสดุ ทา ยของวรรคหลัง (ไมนบั คาํ สรอ ยทีจ่ ะมกี ไ็ ดไมม ีก็ได) ในบาทแรก สมั ผัสกับคาํ สดุ ทา ยของวรรคหนาในบาทที่ 3 คาํ สุดทายของวรรคหลัง (ไมนับคําสรอ ยท่ีจะมีกไ็ ดไม มีก็ได) ในบาทที่ 3 สัมผัสกับคําสดุ ทา ยของวรรคหนาในบาทที่ 4 ลักษณะบงั คับของโคลงสีส่ ภุ าพท่แี ตกตางจากคําประพนั ธอ น่ื คือ มีการบงั คบั วรรณยุกตเอก 7 แหง และวรรณยุกตโท 4 แหง ดงั ผังของโคลงสี่สภุ าพ ดงั นี้ ฉนั ท เปน คําประพันธทีม่ าจากภาษาบาลี สันสกฤต มีทัง้ หมด 108 ฉันท แตท ่ี ไทยนํามาปรับปรุงดัดแปลงใหเ หมาะสมกบั ภาษาไทยมี 58 ชนดิ ลกั ษณะบงั คับของฉันทจ ะ

39 แตกตางกนั ไปตามชนิดของฉันท จํานวนคํา และสัมผัสก็จะแตกตางกนั ออกไปแลว แตช นดิ ของ ฉนั ท แตท่เี หมือนกนั คือลกั ษณะบังคับของฉันท จะเปน คาํ ครุ ( ั ) และคาํ ลหุ ( ุ )หรอื ทเี่ รยี กวา คาํ เสยี งหนักเสียงเบา ในท่ีนี้จะนาํ เสนอฉันทท ม่ี คี วามไพเราะเปน ท่ีรจู ักกนั ดี 3 ชนิด ดังนี้ 1. วสนั ตดิลก (15) มีลกั ษณะบังคบั ของรอ ยกรอง ดังน้ี ตวั อยางคําประพันธ วะวะวิบสลับพรรณ สามยอดตลอดระยะระยบั จะเยาะยัว่ ฑิฆมั พร นภศูลประภัสสร ชอ ฟา ตระการกลจะหยนั ดจุ กวกั นภาลัย บราลีพลิ าศศุภจรูญ (จากสามัคคเี ภทคาํ ฉนั ท - ชิต บรุ ทัต) หางหงศผจงพจิ ติ รงอน 2. อนิ ทรวิเชียรฉันท (11) มีลกั ษณะบงั คับของรอ ยกรอง ดังนี้

40 ตัวอยางคาํ ประพนั ธ พิศเสนสรรี ร ัว ยลเนื้อก็เนื้อเตน กร็ ะริกระริวไหว หิตโอเ ลอะหลง่ั ไป ทว่ั รางและทง้ั ตัว ระกะรอยเพราะรอยหวาย แลหลังละลามโล- เพง ผาดอนาถใจ (จากสามคั คีเภทคําฉนั ท - ชิต บุรทัต) 3. ภชุ งคประยาตฉันท (12) มีลักษณะบังคบั ของรอยกรอง ดงั นี้ ตวั อยา ง นรนิ ทรไ ทยมทิ อ ถอน มนัสไทยประณตไท มพิ ่ึงบารมีบญุ บุรุษนําอนงคหนนุ มิผูกรักมิภักดบิ วร ประจญรว มประจัญบาน ถลันจว งทะลวงจ้ํา (ฉันทยอเกยี รติชาวนครราชสีมา) บุรษุ รกุ อนงครนุ เรอื่ งที่ 3 มารยาทและนิสัยรกั การเขียน มารยาทในการเขยี น การทีจ่ ะเปนผเู ขียนที่ดไี ดนั้นจะตองมีมารยาทในการเขียน คอื 1. เขียนหนังสือใหถูกตอ งตามอักขรวิธี ตัวสะกด การนั ต วรรณยกุ ต เครื่องหมายวรรค ตอนตา ง ๆ ทส่ี อื่ ความหมายไดอ ยางถกู ตอ งชัดเจน 2. ถาเปนการเขยี นดว ยลายมอื ควรเขียนใหช ดั เจน อานงา ย เปนระเบยี บ 3. เลือกใชถอยคาํ ภาษาที่เหมาะสมกบั เร่อื งทเ่ี ขยี น กะทดั รัดไดใจความ 4. เลอื กใชภ าษาใหเหมาะสมกับกลมุ เปาหมายท่ีจะสอ่ื ความไปถึง โดยคาํ นึงถึง เพศ วยั สาขา อาชพี

41 5. ใชภ าษาที่สภุ าพ และไมค วรใชภ าษาพดู ในภาษาเขียน โดยเฉพาะอยา งย่งิ ทีเ่ ปน ความรูหรอื วิชาการ 6. เขยี นในสิ่งท่ีสรางสรรคไ มเขยี นในสง่ิ ทจ่ี ะไปทาํ ใหเ กดิ ความเสียหายกับบุคคลใด กลมุ คนใด หรอื สงั คมประเทศชาตโิ ดยสวนรวม ลกั ษณะการเขียนทด่ี ี ผูเขยี นจะเปนผูเ ขยี นทด่ี ีไดตอ งคาํ นึงถึงส่งิ ตอไปนี้ 1. จะตอ งเปนผูทีม่ ีความรอบรใู นเรอ่ื งท่ีจะเขียนเปนอยา งดี เพราะจะสามารถถา ยทอด เรอื่ งนน้ั ๆ ไดเปน อยา งดี 2. เลือกรูปแบบและกลวิธีในการเขยี นไดอ ยา งเหมาะสมกบั เร่ืองท่นี าํ เสนอจะทาํ ใหเ ปน เรอื่ งทน่ี า อานและนาติดตาม 3. มศี ิลปะในการเลอื กใหภ าษาไดอยา งถูกตองเหมาะสมกับเรอ่ื งทเี่ ขยี นแนวทางการ นําเสนอและกลมุ เปาหมายที่ตอ งการจะส่อื สารงานเขียนนั้น ๆ 4. มคี วามละเอียด รอบคอบ ในการใชภ าษาในการส่อื ความหมายเพราะภาษาเปน เอกลกั ษณของชาติทจ่ี ะสามารถถา ยทอดวัฒนธรรม ประเพณี ทด่ี งี ามใหกับสังคมและชนรนุ หลังได อยา งม่ันคงและงดงาม 5. มีวิสัยทัศนและมคี วามรับผิดชอบในการเขียนของตนเอง กลา วคอื ยอมรับฟง คํา วพิ ากษว ิจารณ อยา งใจกวา งและมีใจเปน ธรรมในขณะเดยี วกนั ก็มีความรบั ผดิ ชอบในผลการเขียน ของตนเองในกรณที อี่ าจเกิดความผดิ พลาดใด ๆ ตามมาจากงานเขียนนัน้ ๆ การสรางนิสัยรกั การเขียน ในการเริม่ ตนของการเขยี นอะไรกต็ าม ผูเ ขยี นจะเขียนไมอ อกถา ไมตงั้ เปาหมาย ในการเขียนไวลวงหนา วา จะเขยี นอะไร เขียนทําไม เพราะการเขียนเรือ่ ยเปอยไมทําใหง านเขยี น นาอา นและถาทําใหงานชิ้นนน้ั ไมม ีคณุ คา เทา ท่ีควร งานเขียนท่มี คี ณุ คา คอื งานเขียนอยางมี จุดหมาย มขี อมลู ขา วสารไรพ รมแดน ดงั เชน ในปจ จุบัน การมีขอมูลมากยอมทาํ ใหเ ปนผูไดเปรียบ ผูอ น่ื เปน อันมาก เพราะยคุ ปจจุบันเปนยุคแหงการแขงขันกันในทกุ ทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกจิ ใครมขี อมูลมากจะเปน ผูไดเ ปรียบคแู ขงขนั อื่น ๆ เพราะการนาํ ขอมูลมาใชประโยชนไ ดเ ร็วกวา น้ันเอง การหม่ันแสวงหาความรเู พอ่ื สะสมขอมูลตาง ๆ ใหต วั เองมาก ๆ จงึ เปน ความไดเปรียบ และควรกระทําใหเ ปน นสิ ยั ติดตัวไป เพราะการกระทําใด ๆ ถาทําบอ ย ๆ ทําเปนประจาํ ในวันหนงึ่ กจ็ ะกลายเปนนสิ ัยและความเคยชินทีต่ อ งทาํ ตอ ไป

42 การคน ควา รวบรวมขอมูลเปน กจิ กรรมทีจ่ ะทาํ ใหเ กดิ ความสนุกสนานทางวิชาการ เพราะย่งิ คนควา กจ็ ะยิ่งทาํ สิ่งทน่ี าสนใจมากขนึ้ ผทู ่ีฝก ตนใหเปนผูใ ครร ู ใครเ รียน ชอบแสวงหา ความรูจ ะมีความสขุ มาก เมื่อไดศ กึ ษาคนควา และไดพ บสงิ่ แปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทย หรอื ใน ความรแู ขนงอืน่ ๆ บางคนเมือ่ คนควา แลว จะรวบรวมไวอยา งเปน ระบบ

43 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 4 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นยอความโดยสรุปใจความสําคัญจากเร่อื ง “โทรศัพทม ือถือทาํ ตาหวังหลัง โกง ” เปน งานรายบคุ คลและสง ครูผูสอน ( 5 คะแนน) “โทรศัพทม อื ถอื ทําตาหวงั หลงั โกง” เคยมแี ตป รารภกนั ถงึ โทษของโทรศพั ทม อื ถอื เลก็ ๆ นอยๆ กนั บอยๆ แตบดั นไ้ี ดมีการคน พบ อันตรายใหญของมัน โดยเฉพาะไดท ําลายทา ทางทรงตวั ของเราลง ไมเ พียงแตทาํ ใหค อแข็ง นักกายภาพบําบดั ผูมีชอ่ื เสยี งของนิวซแี ลนดไ ดก ลา ววา เทคโนโลยีไดก ดตัวเราใหหลงั งอ อยา งทีเ่ ขาเรียกวาหลงั โกง ปกตศิ ีรษะของแตล ะคนจะหนกั ประมาณ 10- 12 ปอนด แตวา เวลาเรากําลงั ใชโทรศพั ทอยูน ้ัน เราตองกม คอเราเปน มมุ 60 องศา กลายเปนภาระหนกั ของคอ นอกจากท่ีตองรบั น้ําหนกั เดมิ อยแู ลว ทาหลงั โกง ดังกลา วนนั้ ใหผ ลรา ยกบั รา งกายของเราหลายอยา ง ตัง้ แตมนั ทาํ ใหเ ราอรมณต กหมด ความภคภมู ใิ จในตนเองและยงั อาจจะกระทบกบั ความจําของเราดวย เขาอธบิ ายตอ ไปวา ขนาดของ โทรศัพทท ่มี ขี นาดเลก็ นั้น ทาํ ใหเ ราตอ งกม ตัวของเราลง และยิง่ ถูกยอใหม ขี นาดเลก็ ลงเทา ไร ก็ทําใหเ รา จะตองกม ตัวลงไปมากเทานัน้ มนั เหมือนกบั ทําใหเ ราตกอยใู นทาทีที่อยูในภาวะจาํ ยอม เขาไดสรปุ ตอนทา ยวา มนั ก็นา แปลกเหมอื นกนั ท่ีเครอ่ื งมอื ทคี่ ดิ ประดษิ ฐขนึ้ เพอ่ื จะใหเพม่ิ สมรรถภาพและ ประสิทธิภาพในการทาํ งานของเรามากขนึ้ กลบั มาลดภาระแสดงออกและบอนทาํ ลายความสามารถ ในการทํางานใหน อยลงไป

44 กจิ กรรมที่ 2 แบง กลุม ผูเรยี นตอคาํ ประพันธ ประเภทกลอนสุภาพ ใหมคี วามยาว 2 บท หรือ 8 วรรค ในหวั ขอ “ธรรมชาติยามเชาอากาศดี” (5 คะแนน) เปน งานกลมุ และสงผสู อน ธรรมชาตยิ ามเชาอากาศดี ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ กจิ กรรมที่ 3 ใหผูเรียนเขียน “การปฏบิ ัติตนเปนผูมีมารยาทในการเขียนและมกี ารจดบันทึก อยางสม่ําเสมอ\" เปน งานรายบคุ คลและสงครูผูสอน (3 คะแนน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook