Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการทำเกษตรอินทรีย์

แนวทางการทำเกษตรอินทรีย์

Published by รัตน์สุดา จันทะนะ, 2020-11-25 14:44:59

Description: แนวทางการทำเกษตรอินทรีย์

Search

Read the Text Version

แนวทางการรับรองเกษตรอนิ ทรีย์ในระบบสากล และการแสดงฉลากสนิ ค้าเกษตรอินทรีย์ วริ ัชนี โลหะชุมพล สำนกั กำหนดมำตรฐำน สำนกั งำนมำตรฐำนสินคำ้ เกษตรและอำหำรแห่งชำติ

หมายถงึ ระบบจดั การการผลติ ดา้ นการเกษตรแบบองคร์ วม ทีเ่ ก้ ือหนุนต่อระบบ นเิ วศ รวมถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพ วงจรชีวภาพ โดยเนน้ การใชว้ สั ดุ ธรรมชาติ หลีกเลยี่ งการใชว้ ตั ถุดิบจากการสงั เคราะห์ และไม่ใช้ พชื สตั ว์ หรือ จุลนิ ทรียท์ ีไ่ ดม้ าจากเทคนคิ การดดั แปรพนั ธุกรรม (genetic modification) มีการ จดั การกบั ผลติ ภณั ฑโ์ ดยเนน้ การแปรรูปดว้ ยความระมดั ระวงั เพอื่ รกั ษาสภาพ การเป็ นเกษตรอินทรียแ์ ละคุณภาพทีส่ าคญั ของผลิตภณั ฑใ์ นทุกข้นั ตอน

• ใชแ้ นวทางเกษตรผสมผสาน รกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพ • ดูแลความยงั่ ยนื ของระบบนิเวศโดยรวม ลดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม • รกั ษาความอดุ มสมบูรณ์ของดินและคณุ ภาพน้าดว้ ยอนิ ทรยี วตั ถุ • ไม่ใชส้ ารกาจดั ศตั รูพชื และป๋ ยุ ท่เี ป็นสารเคมีสงั เคราะห์ • ผลติ ผลและผลติ ภณั ฑไ์ มม่ าจากการดดั แปรพนั ธุกรรมและไม่ผ่านการฉายรงั สี • มีระยะเวลาของการปรบั เปลย่ี นสูเ่ กษตรอนิ ทรยี ์ 3

จุดเริม่ ตน้ และความจาเป็ นที่ตอ้ งมีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ • ความสนใจในความปลอดภยั อาหารของผูบ้ ริโภค • ความห่วงใยต่อสิง่ แวดลอ้ มและระบบนเิ วศ • แนวคิดของเกษตรกรในการทาการเกษตรทีใ่ ชว้ ิถธี รรมชาติ ลดการใชส้ ารเคมี • การรวมกล่มุ ของเกษตรกร ผูป้ ระกอบการ และผูบ้ ริโภค ทีม่ แี นวคิดหรือความตอ้ งการเหมือนกนั • การปฏิบตั ิทีแ่ ตกต่างกนั ของเกษตรกร/ผูผ้ ลติ กล่มุ หรือประเทศต่างๆ • การเรียกชือ่ ทีแ่ ตกต่างกนั ไป เช่น Nature, Bio, Green, Chemical-free • สนิ คา้ เกษตรอินทรียเ์ ขา้ สู่ระบบการคา้ โดยเฉพาะการคา้ ระหว่างประเทศ • ความจาเป็ นทีต่ อ้ งมฉี ลากอาหารอินทรีย์

ผูบ้ ริโภคเชื่อว่าสนิ คา้ มาจาก การผลิตตามที่ผูบ้ ริโภค ตอ้ งการไดอ้ ย่างไร

เชื่อเมือ่ เห็น เชื่อจากการ ดว้ ยตาตนเอง โฆษณา เชื่อจาก เชื่อจาก การบอกต่อกนั ใบรบั รอง

การตรวจรบั รองมาตรฐาน 7

CODEX มกษ. : ไทย International Federation of Organic Agriculture Movement NOP-USDA : สหรฐั อเมรกิ า EU Regulation : สหภาพยุโรป JAS-MAFF : ASOA : ญป่ี ่ ุน ASEAN

37% 23% 18%

มาตรฐาน ระยะเวลาก่อนการปลกู ระยะเวลาก่อนเกบ็ เกย่ี ว สาหรบั พชื ล้มลกุ (ปี) สาหรบั พืชยืนต้น (ปี) มกษ. 9000 เลม่ 1-2552 1 1.5 Codex, EU, ญีป่ ุ่น 2 3 สหรฐั อเมรกิ า 3 3 IFOAM 1 1.5

การรบั รอง การรบั รองแบบ การรบั รองแบบ ตนเอง มสี ่วนร่วม บุคคลทีส่ าม

ขอ้ จากดั ของระบบการตรวจรับรองโดยบุคคลท่ีสาม • ค่าตรวจรับรองมีราคาแพง ไม่คมุ้ คา่ กบั ผลผลิตที่มนี ้อย • ผลผลติ มีความหลากหลายแต่มีอย่างละเล็กอย่างละนอ้ ย • ระบบตรวจรับรองยงุ่ ยาก มเี อกสารที่ต้องบนั ทึกมากมาย

• เป็ นการสือ่ สารโดยตรงระหว่างผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค • ไดผ้ ลถา้ รูจ้ กั และเชื่อถอื • เกิดจากการสรา้ งสมการดาเนินการและชื่อเสียงมาอย่างยาวนาน

การรบั รองแบบมสี ่วนร่วม participatory guarantee system (PGS) • ใหค้ วามสาคญั กบั การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในระบบการตรวจรบั รอง • เหมาะกบั กล่มุ เกษตรกรรายยอ่ ย • รวมกล่มุ อย่างเหนียวแน่น • พฒั นากระบวนการผลติ ในวิถเี กษตรอินทรียอ์ ย่างต่อเนอื่ ง • มีการแปรรูปเองในทอ้ งถนิ่ • ดาเนนิ การผลติ แปรรูป และขายโดยตรงใหก้ บั ผูบ้ ริโภค • เนน้ การจาหนา่ ยและบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในทอ้ งถิน่

การรบั รองแบบมีส่วนร่วม PGS พี จี เอส เป็นกระบวนการรบั รองเกษตรอินทรีย์โดยกลมุ่ ชมุ ชน บนพน้ื ฐานการมสี ว่ นรว่ มของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสียในชุมชนมารว่ มกัน ภายใตห้ ลกั การ ความไว้วางใจ เครือข่ายสงั คม และการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ทาไมต้องทาการรับรองแบบมสี ว่ นรว่ ม? เกษตรกร -สรา้ งการเรียนรู้ ผูบ้ ริโภค -ปรับปรงุ คณุ ภาพผลผลติ รว่ มกนั - มคี วามเชอื่ มนั่ ในคุณภาพ -เขา้ สตู่ ลาดใหมไ่ ดม้ ากข้ึน -ชมุ ชนเขม้ แขง็ -เพม่ิ รายได้

ชุมชน คือใครบ้าง และมีส่วนรว่ มในกระบวนการรับรองอย่างไร ? 1 กลุ่มผู้ผลติ ผูบ้ รโิ ภค 2. มสี ว่ นรว่ ม ตรวจเยยี่ มฟาร์มเพือ่ น 4.ทาตลาดรว่ มกัน ผู้ประกอบการ เรยี นรรู้ ่วมกนั พัฒนาการผลติ องค์กร นกั สง่ เสรมิ -มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ -กระบวนการการตรวจฟารม์ -การตัดสนิ ใหก้ ารรบั รอง 3.ตดั สนิ ให้การรบั รอง ในทป่ี ระชมุ กลุ่มเกษตรกร

• เหมาะกบั สินคา้ อินทรียท์ ีต่ อ้ งการส่งออกหรือขาย ในหา้ งรา้ น

เป็ นการประกนั ว่าสินคา้ เกษตรทีผ่ ลิตข้ ึนมีคุณภาพ /ความปลอดภยั ตามทีม่ าตรฐาน กาหนด ไดแ้ ก่ - มาตรฐานระบบการผลิต (วิธีปฏิบตั ิ) - มาตรฐานคุณภาพผลผลิต/ผลิตภณั ฑ์ ภายใตห้ ลกั เกณฑก์ ารตรวจสอบรบั รองทีไ่ ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั สากล

ผูผ้ ลิต/เกษตรกร ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนด/มาตรฐาน เช่น มกษ. (Organic Thailand), IFOAM, EU, US, Japan ขอการรบั รองจากหน่วยรบั รอง เช่น กปศ. กปม. กวก. กข. มกท. ผูบ้ ริโภคเกิดความเชื่อมนั่ ไดร้ บั การรบั รอง

การตรวจสอบและรบั รองมาตรฐานสินค้าเกษตร หน่วยรบั รองระบบงาน ทวนสอบ (Accreditation Body: AB) หน่วยรบั รอง (Certification Body: - เพอื่ สรา้ งความเชือ่ มนั่ ใหก้ บั CB) ใบรบั รอง เช่น กรมต่างๆ บริษทั ฯ เอกชน เกษตรกร/ผปู้ ระกอบการ - ขายไดท้ ้งั ในและต่างประเทศ - ใบรบั รองเดียวส่งออกไดท้ วั่ โลก

One standard, one test, accepted everywhere Government AB International recognition recognition (ISO/IEC 17011) competence CAB (LAB : ISO/IEC 17025 IB : ISO/IEC 17020 CB : ISO/IEC 17021 G.65) Organization/Products/ Object of conformity assessment (ISO/IEC 17050 -1,2) confidence confidence Government Stakeholders

ประเทศไทย ความตกลงความเท่าเทียม ประเทศคู่คา้ ใหก้ ารรบั รอง หน่วยรบั รอง ใหก้ ารรบั รอง หน่วยรบั รอง หน่วยรบั รองในประเทศไทย ระบบการรบั รองเท่าเทียมกนั หน่วยรบั รองในประเทศคู่คา้ ผูผ้ ลิตเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเท่าเทียมกนั ผูผ้ ลติ เกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ประเทศไทย ประเทศคู่คา้

ปศสุ ตั วอ์ ินทรีย์ (เล่ม 2-2561) อาหารสตั วน์ ้าอินทรีย์ (เล่ม 3-2552) ข้าวอินทรีย์ (เล่ม 4-2553) ปลาสลิดอินทรีย์ (เล่ม 5-2553) ผงึ้ อินทรีย์ (เล่ม 6-2556) การเลี้ยงก้งุ ทะเลระบบอินทรีย์ (มกษ.7413-2550) ไหมอินทรีย์ เล่ม 1 : รงั ไหม แผน่ ใยไหม และเส้นไหม (มกษ. 8203 เล่ม 1-2560)

1. ผลติ ผลและผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์ ตอ้ งมขี อ้ ความแสดงรายละเอยี ดใหเ้ หน็ ไดง้ ่าย ชดั เจน ไมเ่ ป็นเทจ็ หรอื หลอกลวง • ชอ่ื ผลติ ภณั ฑ์ • สว่ นประกอบทส่ี าคญั ยกเวน้ มสี ว่ นประกอบเดยี ว • วตั ถุเจอื ปนอาหาร • ปรมิ าตร/น้าหนกั สทุ ธิ • ช่อื และทต่ี งั้ ผผู้ ลติ • ประเทศ • วนั เดอื นปีทห่ี มดอายุ • คาแนะนาในการเกบ็ รกั ษา (ถา้ ม)ี 24

2. การแสดงฉลากหรือกล่าวอ้างวา่ เป็นผลิตผล 2.4 ในผลิตภณั ฑห์ นึ่งต้องไม่มีส่วนประกอบ หรือผลิตภณั ฑอ์ ินทรียห์ รือ เกษตรอินทรีย์ ชนิดเดียวกนั ที่มาจากทงั้ การผลิตแบบอินทรีย์ หรือออรแ์ กนิก หรือ organic จะทาได้ต่อเมือ่ และไม่ใช่แบบอินทรียร์ วมกนั 2.5 ผลิตผลหรือผลิตภณั ฑม์ ีการผลิตหรอื 2.1 ผลิตผลต้องมาจากระบบการผลิตแบบ จดั เตรียมหรือนาเข้าโดยผปู้ ระกอบการต้อง เกษตรอินทรียต์ ามข้อกาหนดของมาตรฐาน ได้รบั การตรวจระบบเป็นประจาตามข้อกาหนด มกษ. 9000 เล่ม 1-2552 2.6 ได้รบั การรบั รองจากหน่วยรบั รอง โดยมีการ 2.2 ส่วนประกอบทงั้ หมดของผลิตภณั ฑท์ ี่มาจาก แสดงฉลากระบชุ ื่อ และ/หรอื รหสั ของหน่วย การเกษตร ต้องได้จากการผลิตแบบอินทรีย์ รบั รอง 2.3 ส่วนประกอบของผลิตภณั ฑท์ ี่ไม่ใช่มาจาก การเกษตร ให้ใช้ได้เฉพาะรายการท่ีระบุ (ตาราง ท่ี ก.5)

3. ผลติ ภณั ฑท์ จ่ี ะแสดงฉลากและเครอ่ื งหมายรบั รองวา่ เป็น “อนิ ทรยี ”์ ไดต้ อ้ งมสี ว่ นประกอบจากเกษตร อนิ ทรยี ไ์ มน่ ้อยกวา่ 95% โดยน้าหนกั ของสว่ นประกอบทงั้ หมดในผลติ ภณั ฑส์ ดุ ทา้ ย ไมร่ วมน้าและ เกลอื 4. ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี สี ว่ นประกอบจากเกษตรอนิ ทรยี ์ > 70 ถงึ < 95% โดยน้าหนกั ของสว่ นประกอบทงั้ หมด ในผลติ ภณั ฑส์ ดุ ทา้ ย ไมใ่ หแ้ สดงฉลากเพอ่ื กลา่ วอา้ งวา่ เป็นผลติ ภณั ฑอ์ นิ ทรยี ์ แต่อาจแสดงฉลากโดย ใชข้ อ้ ความอ่นื เชน่ “ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี สี ว่ นประกอบจากผลติ ผลอนิ ทรยี ”์ • ผลติ โดยใชเ้ น้อื ไกอ่ นิ ทรยี ์ 70% • กระเทยี ม 20%

กำรแสดงฉลากและกำรกล่ำวอำ้ ง (ต่อ) 5. หากอยใู่ นระยะปรบั เปลย่ี น ใหแ้ สดงขอ้ ความบนฉลากวา่ “ผลติ ผลหรอื ผลติ ภณั ฑช์ ว่ งปรบั เปลย่ี นเป็น อนิ ทรยี ”์ 6. การแสดงเครอ่ื งหมายรบั รองผลติ ผลหรอื ผลติ ภณั ฑเ์ กษตรอนิ ทรยี ์ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑเ์ งอ่ื นไข ของหน่วยรบั รองทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การแสดงเครอ่ื งหมายรบั รองสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มนี โยบายใหใ้ ชเ้ คร่อื งหมาย Organic Thailand ควบคู่ไปกบั เคร่อื งหมายรบั รองตาม พรบ.มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร พ.ศ.2551

เคร่อื งหมายรบั รอง และแนวทางการใชเ้ คร่อื งหมายรบั รอง ภายใต้ พรบ. มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร พ.ศ. 2551 29

เครอ่ื งหมายรบั รองมาตรฐาน เคร่อื งหมายรบั รองมาตรฐานบงั คบั เคร่อื งหมายรบั รองมาตรฐานทวั่ ไป ใชก้ บั สนิ คา้ เกษตรท่ตี อ้ งควบคมุ ตามมาตรฐานบงั คบั ใชก้ บั สนิ คา้ เกษตรท่รี บั รองตาม เพอ่ื ความปลอดภยั มาตรฐานทวั่ ไป เพอ่ื สง่ เสรมิ การผลติ /จาหน่ายสนิ คา้ ของผูบ้ รโิ ภค ท่ไี ดม้ าตรฐาน มาตรา 56 หา้ มมิใหผ้ ูใ้ ดใชเ้ คร่อื งหมายรบั รองมาตรฐานตามมาตรา 54 เวน้ แต่เป็นผูผ้ ลติ ผู้ สง่ ออก หรอื ผูน้ าเขา้ ท่ไี ดร้ บั ใบรบั รองตามมาตรฐานบงั คบั หรอื มาตรฐานทวั่ ไป แลว้ แตก่ รณี 30

การแสดงเครอ่ื งหมายรับรองและรหัส กษ 02-9000-57-901-000001 ORGANIC http://www.acfs.go.th/qmark/download/Q-Mark-2561.pdf • 02-กรมปศสุ ตั ว์ • 9000-เกษตรอินทรีย์ เล่ม 2 ปศสุ ตั วอ์ ินทรีย์ • 57-จงั หวดั เชียงราย • 901-ระบบการผลิตปศสุ ตั วอ์ ินทรีย์ • 000001 รหสั แปลง/เกษตรกรที่ได้รบั การรบั รอง

ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเกษตรอินทรียแ์ ห่งชาติ พ.ศ. 2560-2564 1 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา 4 เกษตรอนิ ทรีย์แห่งชาติ ส่งเสริมการวิจยั และนวตั กรรม การขบั เคลือ่ นเกษตรอินทรีย์ พ.ศ. 2560 - 2564 23 พฒั นาการผลิตสินคา้ และบริการ พฒั นาการตลาดและการรบั รองมาตรฐาน 32

แผนทีย่ ทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเกษตรอินทรียแ์ ห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564 วิสยั ทศั น์ ประเทศไทยเป็ นผูน้ าในระดบั ภูมิภาคดา้ นการผลติ การคา้ การบริโภค และการบริการ เกษตรอินทรียท์ ีม่ ีความยงั่ ยนื และเป็ นที่ยอมรบั ในระดบั สากล เป้ าหมาย พ้ นื ทีแ่ ละจานวนเกษตรกรทีท่ า สดั ส่วนตลาดสินคา้ เกษตรอินทรียใ์ นประเทศ ยกระดบั กลุ่มเกษตรอินทรียว์ ิถพี ้ ืนบา้ น ตวั ช้ ีวดั เกษตรอินทรียเ์ พิม่ ข้ ึน ต่อตลาดส่งออกเพิม่ ข้ ึน เพมิ่ ข้ ึน เพิม่ พ้ ืนที่เป็ น 6 แสนไร่ ตลาดในประเทศรอ้ ยละ 40 เพิม่ จานวนเกษตรกรเป็ น 3 หมืน่ ราย ตลาดส่งออกรอ้ ยละ 60 ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 กลยทุ ธ์ ส่งเสริมการวิจยั การสรา้ งและเผยแพร่ พฒั นาการผลิตสินคา้ พฒั นาการตลาดสินคา้ และบริการ การขบั เคลือ่ นเกษตรอินทรีย์ องคค์ วามรู้ และนวตั กรรมเกษตรอินทรีย์ และบริการเกษตรอินทรีย์ และการรบั รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ กลยทุ ธ์ 1.1 กลยุทธ์ 2.1 กลยทุ ธ์ 3.1 กลยทุ ธ์ 4.1 ส่งเสริมการวิจยั การสรา้ ง และเผยแพร่ พฒั นาศกั ยภาพการผลติ เกษตร ผลกั ดนั มาตรฐานและระบบการ ใชร้ ูปแบบยโสธรโมเดลโดยภาคเอกชน องคค์ วามรูเ้ กีย่ วกบั เกษตรอินทรีย์ อินทรีย์ ตรวจสอบรบั รองเกษตรอินทรีย์ เป็ นหลกั ในการขบั เคลอื่ นการพฒั นา เกษตรอินทรีย์ กลยทุ ธ์ 1.2 กลยุทธ์ 2.2 กลยุทธ์ 3.2 เสริมสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเรือ่ งเกษตร บริหารจดั การโครงสรา้ งพ้ นื ฐานทีเ่ อ้ ือต่อ ส่งเสริมและพฒั นาตลาดสนิ คา้ และ กลยุทธ์ 4.2 อินทรียแ์ ก่เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร การผลิตเกษตรอินทรียอ์ ย่างมี บริการทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั เกษตรอินทรีย์ สนบั สนุนแหล่งเงินทุน เพอื่ พฒั นา บุคลากรทีเ่ กยี่ วขอ้ งและประชาชนทวั่ ไป ประสิทธิภาพ เกษตรอินทรีย์ กลยทุ ธ์ 1.3 กลยทุ ธ์ 3.3 กลยทุ ธ์ 4.3 สรา้ งฐานขอ้ มูลเกยี่ วกบั การพฒั นา ประชาสมั พนั ธเ์ กยี่ วกบั เกษตร สรา้ งกลไกและเครือข่ายในการขบั เคลือ่ น เกษตรอินทรีย์ อินทรียส์ ู่ผูบ้ ริโภค ยทุ ธศาสตรอ์ ินทรียไ์ ปสู่การปฏิบตั ิ 33

เป้ าหมายการดาเนินงานดา้ นเกษตรอินทรีย์ พ้ นื ทีเ่ กษตรอินทรีย์ ไม่นอ้ ยกว่า 600,000 ไร่ ภายในปี 2564 เพมิ่ จานวนเกษตรกรทีท่ าเกษตรอินทรีย์ ไม่นอ้ ยกว่า 30,000 ราย ภายในปี 2564 เพมิ่ สดั ส่วนตลาดสินคา้ เกษตรอินทรียใ์ นประเทศต่อตลาดส่งออก โดยใหม้ ีสดั ส่วน ตลาดในประเทศรอ้ ยละ 40 ต่อตลาดส่งออกรอ้ ยละ 60 oมูลค่ารวม 8,000 ลา้ นบาท oสดั ส่วนในประเทศเพมิ่ เป็ น 40% (ประมาณ 3,000 ลา้ นบาท) oส่งออก 60% (ประมาณ 5,000 ลา้ นบาท)  ที่มา: ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเกษตรอินทรียแ์ ห่งชาติ พ.ศ.2560-2564 ยกระดบั กล่มุ เกษตรอินทรียว์ ิถพี ้ นื บา้ นเพมิ่ ข้ ึน

โครงการสถานทีจ่ าหน่ายสินคา้ เกษตรอินทรียท์ ีไ่ ดม้ าตรฐาน สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายลกั ษณ์ วจนานวชั “ปัจจุบนั มีสินคา้ ทีแ่ สดงฉลากว่าเป็ นสินคา้ อินทรียใ์ นทอ้ งตลาด รมช.กษ. จานวนมาก แต่ยากที่จะทราบแน่ชดั ว่าสินคา้ อินทรียด์ งั กล่าวเป็ น สินคา้ อินทรียท์ ีผ่ ลิตจากระบบเกษตรอินทรียจ์ ริง หรือมาจากการ งานแถลงข่าวเปิ ดตวั โครงการสถานทีจ่ าหน่ายสนิ คา้ เกษตรอินทรียท์ ีไ่ ดม้ าตรฐาน ผลิตแบบปกติแต่นามาติดฉลากอินทรีย์ หรือลกั ลอบสวม วนั ที่ 5 เมษายน 2561 ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เครือ่ งหมายอินทรีย์ จึงจาเป็ นตอ้ งดาเนนิ โครงการสถานที่ จาหนา่ ยสินคา้ เกษตรอินทรียท์ ีไ่ ดม้ าตรฐาน เพอื่ สรา้ งความ เชื่อมนั่ ใหก้ บั ผูบ้ ริโภคเพมิ่ ข้ ึน ถอื เป็ นหนงึ่ กิจกรรมที่ช่วย ขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเกษตรอินทรียแ์ ห่งชาติ ที่มี เป้ าหมายเพมิ่ การบริโภคและขยายตลาดสินคา้ เกษตรอินทรียใ์ น ประเทศและมุ่งผลกั ดนั ใหไ้ ทยเป็ นศูนยก์ ลางหรือฮบั (Hub) ของสินคา้ และบริการเกษตรอินทรียใ์ นระดบั สากลดว้ ย”

สินคา้ อินทรียท์ ีส่ ามารถเขา้ ร่วมโครงการ • สินคา้ อินทรียท์ ีไ่ ดร้ บั การรบั รองแบบบุคคลทีส่ าม (third party certification) ไดแ้ ก่ Organic Thailand, IFOAM, EU, USDA, CA, JAS • สนิ คา้ อินทรียท์ ีไ่ ดร้ บั การรบั รองตามระบบการรบั รองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System: PGS) ภายใตเ้ ครือข่ายที่ มกอช. ใหก้ ารยอมรบั ดงั น้ ี • TOAF (เครือข่ายของมูลนธิ ิเกษตรอินทรียไ์ ทย) • Thai PGS Organic Plus (เครือข่ายของมูลนธิ ิสายใยแห่งแผ่นดิน) • Lemon Farm Organic-PGS (เครือข่ายของเลมอนฟารม์ )

PGS ทีเ่ ป็ นไปตามหลกั เกณฑท์ ี่ มกอช. กาหนด 1. เป็ นระบบ PGS ทีอ่ า้ งอิงมาตรฐานเกษตรอินทรียร์ ะดบั ประเทศหรือสากล ไดแ้ ก่ 1.1 มาตรฐานประเทศไทย ไดแ้ ก่ มกษ. 9000 หรือมาตรฐานอื่นทีเ่ ทียบเท่า 1.2 มาตรฐานระหว่างประเทศ เช่น Codex, IFOAM หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า 1.3 มาตรฐานกล่มุ ประเทศหรือมาตรฐานประเทศที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานระหว่างประเทศและเป็ นที่ ยอมรบั และมีสินคา้ ทีไ่ ดร้ บั การรบั รองตามมาตรฐานดงั กล่าวจาหน่ายอย่างแพร่หลายในประเทศ เช่น สหภาพ ยุโรป สหรฐั อเมริกา แคนาดา ญีป่ ่ นุ กรณีมาตรฐานอื่นนอกจากน้ จี ะพจิ ารณาเป็ นกรณีไป 2. มีการควบคุมภายในสาหรบั การรบั รองแบบกล่มุ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ที่อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบดว้ ย โครงสรา้ งและการบริหารงานของกลุ่ม เอกสารระบบคุณภาพการดาเนนิ งานของ กล่มุ การตรวจประเมนิ คุณภาพภายในกล่มุ ผูผ้ ลิต กฎระเบยี บของกลุ่ม และการฝึ กอบรมสมาชิก 3. มีผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียเขา้ ร่วมในการตดั สินใหก้ ารรบั รองของสมาชิกกลุ่ม

โครงการสถานทีจ่ าหน่ายสินคา้ เกษตรอินทรียท์ ีไ่ ดม้ าตรฐาน เขา้ ร่วมโครงการ 7 แห่ง รวม 149 สาขา (ปี งบ 2560) สมคั รเพมิ่ เติม ปี 61

คำถำมหรือขอ้ เสนอแนะ www.acfs.go.th [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook