Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ-นางสาวณัฐชยา-สุพันดี-สาขาวิชาภาษาไทย-มมส

บทความ-นางสาวณัฐชยา-สุพันดี-สาขาวิชาภาษาไทย-มมส

Published by phudindanchanathip, 2021-12-22 02:45:55

Description: บทความ-นางสาวณัฐชยา-สุพันดี-สาขาวิชาภาษาไทย-มมส

Keywords: ขบวนแห่งศรัทธาบุญสมมาบูชาน้ำ

Search

Read the Text Version

ขบวนแหง่ ศรทั ธา บุญสมมาบูชาน้า 1 “กาลจาปากนาคบรุ ศี รีราชนิ แี หง่ พงไพร” ขึ้น ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 เพื่อเป็นการ อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามตามวิถี ณัฐชยา สุพนั ดี อีสานให้คงอยู่ ตลอดจนสร้างจิตส านึกให้กับ ประชาชนได้ระลึกถึงบุญคุณของน้าและเป็นการขอ นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาภาษาไทย ขมาน้า โดยการจัดงานได้เน้นการส่งเสริมวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย อีสานร่วมสมัย สง่ เสรมิ ทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิ มหาสารคาม ปัญญาท้องถ่ิน การจดั งานในปนี ีจ้ ดั ขึน้ ในแนวคดิ มข. ร่วมกันอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมอันงดงามแม้ในยามโค ประเพณีฮีตสิบสองคองสิบสี่หรือประเพณี วิด “ลอยกระทง มข. 2564” โดยได้กาหนดให้มี สิบสองเดือนที่ชาวไทยยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา กิจกรรม พิธีสักการะหลวงพ่อพระศรี 50 ปี มข. พิธี ตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน ประเพณีหนึ่งในฮีตสิบ สักการะหลวงพ่อไทรขาว พิธีสักการะนาค 15 สองคองสิบสี่ คือ ประเพณีลอยกระทงที่นิยมจัดข้ึน ตระกูล พิธีสมมาบูชาน้า ขบวนแห่ขันหมากเบ็ง ในวันขึ้นสิบห้าค่าวันเพ็ญเดือนสิบสอง โดยมีความ กิจกรรมถนนสร้างสรรค์(Creative Walking Street) เชื่อกนั ว่าการจดั ประเพณีนีเ้ ปน็ การขอขมาพระแม่คง เพื่อเป็นการรักษาสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมอันดี คาและเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์ที่เชื่อกันว่าจา งาม ภายในงานมีการประดับตกแต่งโคมกว่า9,000 พรรษาอยู่ใตม้ หาสมทุ รมารว่ มพิธีกรรมดว้ ย ประเพณี ดวงเพื่อให้ประชาชนและนกั ท่องเที่ยวได้รับชมความ ลอยกระทงเปน็ ท้ังประเพณขี องไทยในภาคกลางและ สวยงามและถ่ายภาพเป็นที่ระลึก นอกจากนี้ยังมี เป็นทั้งประเพณีของคนไทยในแต่ละท้องถิน่ ในแต่ละ กิจกรรมดนตรีรมิ น้ายามเยน็ ณ ริมบงึ สฐี าน และการ ภาคต่างมีวถิ ีการปฏิบตั ิแตกตา่ งกันไป สาหรบั ในภาค จุดกระทงบกกว่า 17,000 อัน เพื่อเป็นพุทธบูชาแก่ อีสานนั้น ชาวอีสานจัดประเพณีลอยกระทงข้ึน หลวงพอ่ ไทรขาว อีกด้วย เนื่องจากมีความเช่ือเรือ่ งการบชู าน้าและการขอขมา น้า หรือการบูชาพระเม่คงคาเช่นเดียวกับชาวภาค อีกหนึ่งไฮไลต์สาคัญในงานบุญสมมาน้า กลาง บูชาสมมาน้า คือการขอขมาน้า คืนวันเพ็ญ ลอยกระทงมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปี 2564 และประทีป เนื่องจากได้ใช้น้าในการอุปโภคบริโภค คือ ขบวนอญั เชิญพระบรมสารรี ิกธาตุ ในชีวิตประจาวัน อีกทั้งยังได้อัญเชิญพระอุปคุต มาร่วมในพธิ กี รรมด้วย มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดงานประเพณี ลอยกระทง มหาวิทยลัยขอนแก่น ประจาปี 2564

ภาพประกอบจาก: Facebook pageคณะละคอนสุด 2 สะแนน ภาพประกอบจาก: Facebook pageคณะละคอนสุด โดยในปีนี้ไดห้ ยบิ ยกเอาแนวคิดเรื่อง “มาตาธิปไตย” สะแนน ซึ่งพบร่องรอยในตานานนางเภา-นางแพง จาก พงศาวดารนครจัมปาศักดิ์ มาตีความและนาเสนอ เจ้านางแพง คือ ผู้ครองเมืองกาลจาปาก ใหม่ ในรูปแบบขบวนแห่ทางวัฒนธรรม ด้วยกล่ิน นาคบุรีศรี ก่อนจะยกพุทธจักรอาณาจักร ถวายพระ อายผสมผสานระหวา่ งกลุม่ ชนเผ่าตระกูลภาษามอญ- ครูโพนสะเม็กปกครองแทนในปี พ.ศ.2252 และ เขมร และไท-ลาว ดุจดังนางแพง ซึ่งเป็นธิดานางเภา พัฒนาขึ้นเป็นอาณาจักรล้านช้างจาปาศักด์ิ เจ้านาง และเจ้าปางคา ผู้หลอมรวมวัฒนธรรมสองเผ่าพันธ์ุ แพง เปน็ ธดิ าองคเ์ ดียวของเจา้ นางเภา แหง่ เมืองกาล เข้าไว้ดว้ ยกันอยา่ งกลมกลนื จาปากนาคบุรีศรี (ครองเมืองราวปี พ.ศ.2184) และ เจ้าปางคา แห่งเมืองหนองบัวลาภู จากตานาน ดังกล่าว ได้นามาตีความ สร้างสรรค์ สาหรับทา ขบวนแห่พระบรมสารีริกธาตุ ในงานบุญสมมาน้า ลอยกระทงมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2564 โดยนา แนวคิดเรื่อง มาตาธิปไตย (Matriarchy) ที่สะท้อน ร่องรอยให้เห็นว่าดินแดนลุ่มน้าโขงนี้ ยอมรับ นับถือ ให้ผู้หญิงเป็นใหญ่ทั้งแง่การปกครอง เศรษฐกิจ ตลอดจนเป็นผู้นาในพิธีกรรมความอุดมสมบรู ณ์ ภาพประกอบจาก: Facebook pageคณะละคอนสุด สะแนน

การอัญเชญิ พระธาตเุ จ้าสคุ นั ธเจดยี ์ ศรมี อดนิ แดง ซ่ึง 3 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับประทานพระบรม สารรี กิ ธาตุจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ภาพประกอบจาก: Facebook pageคณะละคอนสุด ญาณสังวร ออกมาแหใ่ นเดือน 12 นี้ ก็เพ่ือความอุดม สะแนน สมบูรณ์และสร้างขวัญกาลังใจในยามวิกฤต โดยมี ผู้สร้างสรรค์ได้นาเสนอออกมาเป็นรูปธรรม สื่อสาร นางแพงร่วมติดตามขบวนพระธาตุ ก็สะท้อนนัยตาม ผ่านสัญญะการแต่งกาย โดยให้ผู้แสดงเป็นนางแพง ตานานที่นางได้ถวายเมืองเป็นพุทธจักรอาณาจักร แต่งกายด้วยผ้าซิ่นเกาะแบบชาวมะกองในลาว ซึ่ง หลอมรวมความเชื่อดั้งเดิม (ผีบรรพชน) เข้ากับพุทธ เป็นเครือญาติกับ ชาวโส้ในไทย ซึ่งซิ่นลักษณะนี้ ศาสนาแบบเถรวาท สะท้อนการปรับเปลี่ยนจากผ้านุ่งแบบเดิมมาเป็น ผ้านุ่งแบบไท/ลาว ลายนาค (สื่อถึงเมืองที่มีสร้อยว่า ภาพประกอบจาก: Facebook pageคณะละคอนสุด \"นาคบรุ ศี รี\") สวมเครอ่ื งประดับโลหะขด สร้อยลกู ปัด สะแนน หิน อย่างที่พบในหลุมศพสตรี ในแหล่งโบราณคดี นางแพงยังเป็นสัญญะของการกลืนกลาย หลอมรวม หลายแห่ง ที่ศีรษะประดับพวงดอกจาปาเงิน เพราะ ระหว่าง \"ผู้มาก่อน\" (นางเภา-กลุ่มมอญ/เขมร) และ ชื่อ \"จาปา\" มาจากคาภาษาสันสกฤต \"คัมปากะ\" \"ผู้มาใหม่\" (เจ้าปางคา-กลุ่มไท/ลาว) มีการปรับปรน (ออกเสียง/ tʃampaka / ) เพื่อสื่อถึงเมือง \"กาลจา เปล่ียนแปลงไปตามพลวัตดงั จะเห็นในวัตถวุ ัฒนธรรม ปาก\" ทต่ี อ่ มาเปน็ นครจัมปาศักด์ิ เช่น ผ้าทอ, เครื่องจักสาน, เครื่องประดับ ของบาง เอกสารอา้ งองิ ชนเผ่า มีการหยิบยืมเทคนิควิธี รูปแบบไปใช้ จน คณะละคอนสดุ สะแนน. นางแพง ราชินแี ห่งพงไพร กลายเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัว [ออนไลน์].ได้จาก:https://web.

4 facebook.com/profile.php?id= 100008092187430.(สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 2 ธนั วาคม 2564) ประเพณลี อยกระทง[ออนไลน์].ไดจ้ าก: http://www.3armyarea-rta.com /vocation/loy_katong.html.(สบื ค้นเม่ือ วนั ที่ 2 ธนั วาคม 2564) มข. รว่ มอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมอันงดงามแม้ในยาม โควิด[ออนไลน์]. ได้จาก: https://cac.kku.ac.th/cac2021/inform ation.(สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 2 ธันวาคม 2564)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook