Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ARC-บทความอุตสาหกรรมการทำเตาดินเผา-นางสาวอภิญญา-เฉยฉิว-645220002-4

ARC-บทความอุตสาหกรรมการทำเตาดินเผา-นางสาวอภิญญา-เฉยฉิว-645220002-4

Published by phudindanchanathip, 2021-12-20 08:57:22

Description: ARC-บทความอุตสาหกรรมการทำเตาดินเผา-นางสาวอภิญญา-เฉยฉิว-645220002-4

Keywords: อุตสาหกรรมการทำเตาดินเผา

Search

Read the Text Version

อุตสาหกรรมการทาเตาดนิ เผา ชุมชนทาเตาอุดมสขุ บ้านอุดมสขุ ตาบลในเมอื ง จงั หวดั ชัยภมู ิ นางสาวอภิญญา เฉยฉวิ นักศกึ ษาปริญญาโท หลักสตู รวิจัยวัฒนธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทนา การใช้เตาหุงต้มในโลก เป็นท่ีแน่ชัดว่ามีการใช้เช้ือเพลิงชีวมวลคือไม่เม่ือ 400,000ปีมาแล้ว ได้ค้นพบ ภายในถ้าของมนุษย์ปักกงิ่ การใช้เช้ือเพลิงชวี มวลในเวลานั้นสนั นิษฐานวา่ ชายเพ่ือความอบอุ่นส้าหรบั เตาหุงต้ม เพื่อหุงหาอาหารท้าด้วยเคร่ืองป้ันดินเผามาตั้งแต่ด้ังเดิมไม่มี การเปล่ี ยนแปลงมาจนถึงปัจจุบันเม่ือน้า มา เปรียบเทียบเต่าสมัยใหม่น้ามัน แก๊สและไฟฟ้าจะเห็นว่าเตาหุงต้มชีวมวลยังมีประสิทธิภาพใช้งานต่้า ห่างไกล กันมาก ประสิทธิภาพในการใช้งานของเตาน้ามันก๊าซหรือแก๊สหุงต้มสูงถึงสี่สิบห้าถึงส่ีสิบแปดเปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพใช้งานของเตาฟืนสูงสุดเพียงย่ีสิบห้าถึงยี่สิบเจ็ดเปอร์เซ็นต์เท่าน้ันถึงแม้ว่าประสิทธิภาพใช้งาน ข้ึนอยกู่ ับความร้อนของไหม ซง่ึ มีค่าตามแตป่ ญั หาสา้ คญั ก็ยังขึ้นอยู่กบั รูปแบบของเต้าห้ตู ม้ ด้วย วิวัฒนาการของเต่าแบ่งออกได้เป็นสองระยะระยะแรกๆหลายพันปีมาแล้วการพัฒนาของเต้าหู้ต้มชีว มวลในระยะนี้เป็นไปอย่างช้าเน่ืองจากไม่ฝืนยังมีจ้านวนมากจึงใช้อย่างเหลือเฟือ เตาหุงต้มในระยะแรกน้ีเป็น แบบกองไม้ฟืนประกอบด้วยไม้ขาตั้งแขวนภาชนะและเตาแบบหินทรัพย์ก่อน ระยะที่สองประมาณหน่ึงร้อยปี มาแล้วจึงมีผู้คิดท้าเต้าหู้ต้มที่ใช้ น้ามันก๊าด แก๊สหุงต้มและเตาไฟฟ้าใช้กันอย่างแพร่หลายในกลุ่มประเทศ ตะวันตก เต้าหู้ต้มชีวมวลได้รับความสนใจในการปรับปรุงให้ดีขึ้นแต่อย่างใดมาระยะหลังประชากรของโลกได้ เพ่ิมมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศที่ยากจนหรือประเทศที่ก้าลังพัฒนาประชากรส่วนใหญ่ใช้เตาหุงต้มชีวมวล ประกอบกับมีการใช้ไหมในการหุงต้มสูงขน้ึ อย่างรวดเร็วท้าให้กา การหาใหม่ในการหุงต้มยากย่ิงขึ้นและมีราคา แพง จึงได้มีการน้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และความรู้การออกแบบมาท้าการปรับปรุงเตาหุงต้มชีวมวลให้มี ปฏิภาณสูง ประวตั คิ วามเปน็ มาการใชเ้ ตาหงุ ต้มในประเทศไทย การใช้เตาหุงต้มในประเทศไทยจากการศึกษาและส้ารวจก็พบว่ามีเต่าหินทรัพย์ก่อนเป็นเต่าหุงต้ม โบราณใช้กันมากในชุมชนเช่นเดียวกันกับประเทศตะวันตกในระยะแรกแรกจากการส้ารวจการใช้เตาหุงต้มใน ครัวเรือนชนบทห้าสิบหมู่บ้านทั่วไทย เม่ือปีพ.ศ. 2525 พบว่ามีการใช้เตาหิน 3 ก้อน 394 ครัวเรือนจาก ครัวเรือนท่ีส้ารวจทั้งหมด 2,149 ครัวเรือนและเตาชนิดนี้ใช้ไม้เป็นเช้ือเพลิงเท่าน้ันนับว่ามีปริมาณใช้มากเป็น อันดบั สองรองจากการใชเ้ ตาองั โล่ฟ้นื เตาองั โล่ เปน็ ท่ีเชอื่ กนั ว่ามาจากประเทศจีนเพราะค้าว่า อัง่ โล่ มาจาก (ภาษาแต่จว่ิ ) แปลวา่ เต่าสี แดง เปน็ สขี องดินเผา ระยะเวลาทมี่ กี ารนา้ เตาอง่ั โลมาใช้ในประเทศไทยยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดสนั นิษฐานว่า

จะน้าเข้ามาเมื่อ ประมาณหน่ึงพันปีมาแล้วเนอื่ งจากมีการค้าขายเร่ิมแรกระหว่างประเทศไทยจีนหรืออีกนัยนึง จะน้าเตาอังโล่เข้ามาเม่ือตอนเช้าจีน อพยพเข้ามาในประเทศไทยเน่ืองจากเกิดสงครามกลางเมืองในสมัยนั้น ประมาณหน่ึงรอ้ ยปีมานเี่ อง ส้าหรับเตาชีวมวลชนิดอนื่ ๆเช่นแกลบมกี ารใช้เตาแก๊ส มีปล่องซ่ึงมีใชอ้ ยู่ในภาคกลางและเตาแก๊ส ไม่มีรองพบเร็วๆ ที่ศูนย์อพยพชาวกัมพูชา ที่เขาอีด่างจังหวัดปราจีนบุรีภาคตะวันออกของประเทศไทยเต่าทั้ง สองชนิดนี้กย็ ังไมม่ แี พรห่ ลายเท่าท่ี ลักษณะและวธิ ีการใช้เตาหุงต้มชวี มวลในปัจจุบนั เตาฟืน คือเตาที่ใช้ไม้ฟืนที่ยังไม่ได้เผาให้เป็นถ่านผู้ใช้จะเอาก่ิงไม้ล้าต้นหรือไม้ต้นใหญ่ท่ีตากแห้ง แล้วใช้แขวนผ้าให้มีขนาดพอที่จะน้าเข้าเตาไดผ้ ู้ชายมักจะมีวิธีการ ตัดจากหวั ไรป่ ลายนาในสวนและขนล้าเลียง มาตดั ท่อนผ่งึ ไว้ใหแ้ ห้งเพ่ือใช้เปน็ เช้อื เพลิงในการหุงต้มต่อไป เตาถา่ น คอื เตาท่ี ใชถ้ า่ นไม้โดยผา่ นการเผาให้สกุ ดแี ล้วนา้ มาใชเ้ ป็นเชื้อเพลงิ หงุ ตม้ ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพกว่าเตาประเภทอ่ืนๆ คือจะมีความร้อนสูงท้าให้การหุงต้มสุกเร็วท้ังยังมีควันน้อย ไม่ท้าความ รบกวนให้ผู้ชาย ขวัญไปติดภายในครัวเรือนเตาประเภทน้ีชาวบ้านเรียกว่าเตาอังโล่ภาษาจีนแต่จิ๋วแปลว่าเต่าสี แดง เตาแก๊สและวัสดเุ หลือใชจ้ ากการเกษตร เตาแก๊สคือเตาที่สร้างข้ึนโดยใช่แก้ข้าวเปลือกเป็นเช้ือเพลิงและเตาท่ีใช้วัสดุเหลือใช้จากเกษตรเช่น ซังขา้ วโพดขีเ้ ลื่อยจากโรงเลือ่ ย วัตถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ัย 1.เพอ่ื ศกึ ษาประวัติความเปน็ มาของ อตุ สาหกรรมการท้าเตาดินเผา ชมุ ชนทา้ เตาอุดมสขุ บา้ นอดุ มสุข ต้าบลในเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ 2.เพื่อทราบถึงข้ันตอนการท้า เตาดินเผา ชุมชนท้าเตาอุดมสุข บ้านอุดมสุข ต้าบลในเมือง จังหวัด ชยั ภมู ิ ประวัติความเปน็ มาของอุตสาหกรรมการทาเตาดินเผาชุมชนทาเตาอุดมสขุ ชุมชนท้าเตาอุดมสุข ต้าบลในเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นชุมชนที่ชาวบ้านยึดอาชีพอุตสาหกรรมการท้า เตาดนิ เผาส่งขายกันมานาน เปน็ วิถีชวี ติ เก่าแกข่ องชุมชนที่ยังรักษาไว้จนถงึ ปัจจบุ ัน เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาที่ทา้ ก็จะมี เตาถ่าน กระถางดอกไม้ ตุ๊กตาดินเผา เป็นต้น ชาวบ้านเมืองน้อยเหนือ-ใต้ รู้จักการน้าเอาดินเหนียวมาปั้นเปน็ ภาชนะเคร่ืองใช้ ต้ังแต่บรรพบุรุษ ซ่ึงอพยพมาจาก อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ปี ในอดีตเม่ือ 90 ปีที่แล้ว ชาวบ้านอุดรสุข อ้าเภอเมือง จังหวัดชัยภมู ิ ได้อพยพมาจากจังหวดั นคราชสมี าแล้วนา้ ความรดู้ ้านเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาที่มีมาต้ังแต่โบราณติดตัวมาด้วย ประกอบอาชีพป้ันเตาดิน เพ่ือน้าไปแลกข้าวเปลือกมาขาย และเก็บไว้ รับประทาน โดยมีการสืบทอดอาชีพป้ันเตาดินมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งยังคงสามารถสร้างรายได้ให้กับชาวเมือง

น้อยที่ยึดอาชีพนี้กว่า เตาดินท่ีส่งขาย จะมีราคาขายส่งเร่ิมต้นใบละ 55 บาท จนไปถึง 150 บาท ข้ึนอยู่กับ ขนาดของเตา ขายปลกี ใบละ 80 บาท ถึง 200 บาท ชว่ งนแ้ี ดดออกดี มีการปั้นเตาส่งขายอยา่ งน้อยวันละ 100 ใบ สามารถสร้างรายได้ให้กับลูกทีมท่ีปั้นเตาอย่างน้อยวันละ 300 – 400 บาท ท้าให้ในแต่ละเดือนมีรายได้ เล้ียงครอบครัว แบบทไี่ ม่ต้องเดินทางไปท้างานตา่ ง เส้นทางในการเดนิ ทางไปชมุ ชนอุดมสุข จดุ เร่ิมต้น จุดที่ 2 มุ่มหน้า ไปเจอหอนาฬิกา ภาพสแ่ี ยกโรงตม้ เลย่ี วซา้ ยเข้าตัวเมืองชัยภมู ิ ใชช้ ่องทางที่ 3 แลว้ ตรงต่อไป 500 กม. จดุ ที่ 3 เจอสี่แยกไฟแดงตาดโตน จดุ ท่ี 4 แยกทางเหลยี่ วเข้าชมุ ชนอดุ มสขุ เหลยี่ วซา้ ย ตรงไปอีก 1 กม. สังเกตปา้ ยโชคทวดี า้ นซ้ายมอื แลว้ เหลยี่ วซ้าย ตรงไป 500 กม. จดุ ท่ี 5 สังเกตปา้ ยชุมชนอุดมสขุ ฝงั่ ซ้ายมือ จุดที่ 6 ถึงจดุ หมาย เหลี่ยวซ้าย100กม.

วัสดแุ ละอุปกรณ์การทาเตาดนิ เผา 1. ดินเหนียว 2. ปูน 3. แกลบด้า 4. แกลบขาว 5. แมพ่ ิมพ์เตา 6. เตาเผา 7. เหล็กปาดดิน 8. แม่พิมพแ์ ละทต่ี อกร้ังผ้ึง 9. มีดปาดแต่งเตาและแม่แบบกรีดปาดเตา 10. สแตนเลสคอบเตา ข้ันตอนการผลิตเตาซปุ เปอร์อั้งโล่ ขน้ั ตอนการผลติ สามารถสรปุ ได้ดัง 1. การหาแหลง่ ดิน ที่ดมี ากสา้ หรับป้ันเตาดนิ เหนียวจากหนองขุมดินซึ่งรับซ้อื ได้จาก บ้านโคกนอ้ ย ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ 2. ดินเหนียว โดยทั่วไปนิยมใช้ดินเหนียวสีเทาเข้ม ในการปั้น เตา เนอื้ ดิน ควรมสี ว่ นประกอบของอลูมินาและเหล็กออกไซดส์ ูงเพื่อ สามารถหลอมละลายได้ท่ีอุณหภูมิไม่สูงนัก และควรมีซิลิก้าเป็น ส่วนประกอบด้วยเพื่อเพิ่มความแข็งแรงแก่ชิ้นงานหลังการเผา นอกจากนั้น ในดินเหนียวยังประกอบด้วยสารอินทรีย์ต่างๆ ท้าให้เกิด รูพรุนในเนื้อเตาเพิ่มความ เป็นฉนวน อย่างไรก็ตาส่วนประกอบต่างๆ ควรอยู่ใน อัตราส่วนท่ีเหมาะกับขนาดของเมล็ดดินเหนียวหากมีเมล็ด ขนาดใหญ่เป็นส่วนมากก็มีจะเกิดการแตกร้าวได้ง่าย ดังน้ัน ดินเหนียวที่มาจากแหล่งท่ีแตกต่างกัน ก็อาจจะต้องมีการ เตรยี มดินทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปด้วย 3.ดินเช้ือ เป็นดินท่ีท้ามาจากส่วนผสมของดินเหนียวและ แกลบ น้ามาป้ันเป็นก้อน แล้วเผาไฟจนสกุ หลังจากนั้นจึงน้ามาบดให้มีขนาดต่างๆ ตามท่ีต้องการ แล้วใช้ผสม กับดินเหนียวใหม่ ก่อนน้าไปปั้นเป็นช้ินงาน โดยทั่วไปจะน้าดินเชื้อมาผสมดินเหนียวในปริมาณ 20-50% แล้วแตป่ ระเภทของชิ้นงานและคณุ สมบตั ิของดนิ เหนียวทน่ี า้ มาใช้

การเตรียมดนิ 1.การหมักดินเหนียว ดินเหนียวที่จะน้ามาใช้ต้องสะอาด ไม่มีเศษไม้ เศษหิน ถ้าเป็นก้อนใหญ่ก็ควรทุบให้ยอ่ ยเป็นก้อนเล็ก ๆ ก่อน หมกั ควรตากไว้ให้แหง้ อยา่ งน้อย 1 วัน แล้วน้าลงบ่อหมัก แช่ไว้ใน น้า นานประมาณ 12-24 ชั่วโมง จนดินอมิ่ น้าอย่างทว่ั ถงึ แล้วน้ามา เตรยี มไวผ้ สม 2. การนวดและผสมดนิ น้าดินท่ีหมักแล้วมานวดผสมกบั แกลบดา้ นวดจนเข้ากัน(ส่วนใหญจ่ ะใช้เครอ่ื งนวดดินเพอื่ ความสะดวกและการผสมที่ ดีกวา่ )โดยทั่วไปจะใชด้ ินเหนยี ว 2 ส่วนต่อขเี้ ถ้าแกลบดา้ 1 ส่วน ซึ่งอตั ราสว่ น ผสมนี้ ขึ้นอย่กู บั คุณสมบัติของดนิ แต่ละแห่งดว้ ย ขณะนวดผสมดนิ จะพรม น้าตามไปด้วยเพ่ือให้นวดไดง้ ่ายขึ้น ส่วนผสมที่เขา้ กนั ดีแลว้ แล้วปิดดว้ ย พลาสติก หากยังไม่ใช้ทนั ทเี พื่อไม่ใหด้ ินผสมแห้งเกินไป การจัดเตรยี มแม่แบบพิมพ์ ก า ร จั ด เ ต รี ย ม แ ม่ แ บ บ พิ ม พ์ ส้ า ห รั บ ท้ า เ ต า หุ ง ต้ ม ประสิทธิภาพสูงอาจต้องใช้ความสามารถเพ่ิมมากหน่อย โดยการ ป้ันข้ึนรูปหรือหาวัสดุในท้องถิ่นมาจัดท้าเป็นแม่แบบพิมพ์แม่แบบ พมิ พม์ ี 2 ชนดิ คือ • แมแ่ บบพมิ พภ์ ายนอก ใช้สา้ หรับทา้ ตวั และส่วนฐานเตา • แม่แบบพมิ พใ์ น ส้าหรบั ท้าปากเตา และเส้าเตา ก่อนท้าการปั้นและใช้แม่พิมพ์ทุกคร้ัง จะต้องโรยขี้เถ้า รอบๆ แม่พิมพ์ก่อน ป้องกันดินเหนียวติดแม่แบบ และป้ันไม่ได้ รปู ทรง การปน้ั ข้ึนรูป และปรบั แตง่ เตา • น้าดินที่หมักแล้วใส่ลงในแม่พิมพ์ภายนอก ซ่ึงวางอยู่บนแท่นแล้วใช้มือตบป้ันขึ้นรูปเป็นทรงของเตา ให้มีความหนาและขนาดภายในเป็นไปตามก้าหนด แล้วตกแตง่ ผิวด้านในเตาโดยใช้เหล็กแตง่ เตามาปาดเพ่ือให้ ได้ ห้องใต้รังผงึ้ ห้องเผาไหม้

• เม่ือได้ที่แล้วถอดแบบ น้าเตาไปตากแดดผึ่งลมให้แห้งหมาด ๆ ประมาณ 2-3วัน แล้วจึงน้าเตามา ปาดตกแตง่ ปากเตา เสา้ เตา และเจาะชอ่ งลม แล้วนา้ ไป ตากแดดผึง่ ลม จนแห้งสนิท ใชเ้ วลาประมาณ 2-4 วัน จะได้เตาทีพ่ ร้อมจะน้าไปเผา ขนั้ ตอนปาดเตา การปาดเตาขนึ้ อยู่กบั ความช้านานของผูป้ าด การเร่ิมตน้ ปาด แลว้ แต่ความถนัดของผู้ทา้ แต่ตอ้ งใช้ ความระมัดระวังเป็นอย่างมาในการปาด เพ่ือความสวยงานของปากเตา

การทารังผ้งึ 1 น้าดนิ ทนี่ วดผสมแลว้ ใส่ลงในแบบพมิ พ์ทรงกลม ใช้มือกดดินให้เต็ม แบบ ใชโ้ ลหะบาง ปาดเอาดินสว่ นทเ่ี กนิ ออก หลงั จากนัน้ ปลอ่ ยท้งิ ไวใ้ ห้แหง้ พอหมาดๆ แล้วใช้แม่แบบเจาะรู เจาะตามรปู แบบท่ีตอ้ งการ โดยรูที่รงั ผง้ึ จะต้องเป็นทรงกรวยคว้่า ด้านบนเล็กกว่าด้านลา่ ง จากนน้ั นา้ ไปผงึ่ ลมอีก 2-4 วนั แลว้ นา้ ไปเผาจนสุกเพ่อื เพิ่มความแขง็ แรง 32 4 5 ข้นั ตอนการเผาเตา ประสิทธิภาพสูงมีข้ันตอนเหมือนกันกับการเผาเตาหุงต้ม ท่ัวไปหลังจากตกแต่งและตากแห้งแล้วอาจจะตกแต่งสีเพ่ือความ สวยงามแลว้ น้ามาเรียงเป็นชั้นในเตาเผา การเผาอาจจะใช้เตาอุโมงค์ โดยใชไ้ มฟ้ นื เป็นเช้ือเพลงิ หรือใชเ้ ตาเปิด ท่ีใชแ้ กลบเปน็ เช้ือเพลิงก็ได้ หากใช้เตาอุโมงค์อาจจะใช้เวลาประมาณ 8-10 ซม. โดยใช้อุณหภูมิ สูงสุดประมาณ800-100 ้C แต่หากใช้เตาแกลบ อาจจะใชเ้ วลานานถึง 24-36 ซม. หลังจากนนั้ ท้ิง ไว้ให้เตาเย็นตัว ใช้เวลาประมาณ 24 ซม. แล้วค่อยน้าออกจากเตา ตรวจสอบสภาพทั่วไปหลังจากนั้นจึงนา้ ไปบรรจถุ ังสังกะสีต่อไป

การนาเตาใสถ่ ัง ใส่รงั ผง้ึ และทาปนู 1. การนาเตาใส่ถัง : เตรียมถัง ท่ีจะใส่ เจาะช่องให้ตรงและพอดีกับช่องไฟของเตา เอาดิน ผสมขี้เถ้าแกลบ โดยใช้ดินเหนียว 1 ส่วนข้ีเถ้าแกลบ 10 ส่วนย่้าให้เข้ากันดีแล้ว จึงยกเตาลงถังเอาดินผสมท่ี เตรียม ไว้ใส่ลงดา้ นขา้ งเตาแลว้ อัดให้แน่นทีข่ อบเตาติดกบั ถงั สงั กะสีใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วนผสมทรายละเอยี ดร่อน 1 ส่วน ยาทีข่ อบเตา และขอบช่องไฟหน้าตา 2. การใส่รังผ้งึ : วางรังผึ้งให้ไดร้ ะดบั ในตัวเตา แล้วนา้ ปูนป้ายท้งั ดา้ นบนและด้านลา่ ง วเิ คราะห์และสรปุ ผลการทาเตาดนิ เผา ด้านรปู ประธรรม - มคี วามคงทน ความหนา ความแขง็ แกร่ง สามารถเปลี่ยนรังผึ้ง หรอื เสรมิ รงั ผง้ึ ได้ - สะดวกในการเคล่ือนย้าย ตัวเตามหี สู ามารถเคลอื่ นยา้ ยสะดวก - สะดวกในการใช้งาน ในการกอ่ ไฟจดุ ไฟติดเรว็ ด้านนามประธรรม - ความร้อนคงที่ ไมส่ ูนเสยี และสิน้ เปลอื งพลงั งาน - ช่วยประหยดั ในค่าใช้จา่ ยในครวั เรอื นได้มาก - และเตาดินเผาภูมิปัญญาของชุมชนอุดมสุข ถือได้ว่าได้สร้างร้ายได้ให้ชุมชนและกระตุ้นทาง เศรษฐกิจได้เปน็ อย่างดี ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมลู 1. นายบวั พิต บัวไทสงค์ เจา้ ของโรงงานผลติ เตา อายุ 50 ปี 2. นางแตง ชุดไธสงค์ นักงานในโรงงาน ผลิตเตา หน้าทปี่ าดเตา อายุ 41 ปี 3.นายสุรพงษ์ ถนอมขวัญ พนักงานในโรงงานผลิต เตา หนา้ ท่ปี ้นั เตา อายุ 46 ปี 4.นายชชั วาล บุญคง ชาวบา้ นท่อี าศัยในชุมชน

เอกสารอ้างองิ - http://www2.dede.go.th :โครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ระหว่างไทยกบั ประเทศเพือ่ นบา้ น - วิกิพีเดีย สารานกุ รมเสรี - คมู่ อื การผลติ และใช้เตาหุงต้มประสทิ ธิภาพสงู - ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ นายบัวพติ บัวไทสงค์ เจ้าของโรงงานผลติ เตา