เกณฑ์การแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ 68 ปีการศึกษา 2561 กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ สรุปกจิ กรรมการแขง่ ขนั กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เขตพ้นื ที่ /ระดับช้ัน หมาย เหตุ ชื่อกิจกรรม สพป. สพม. ประเภท ห้องเรียน ป.๑-๓ ป.๔-๖ ม.๑-๓ ม.๑-๓ ม.๔-๖ ลานโลง่ /๑. การแข่งขันอจั ฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ เดี่ยว ห้องเรยี น๒. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ลานโล่ง/ หอ้ งเรียนประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย ทีม ๓ คน หอ้ งเรียนทางคณิตศาสตร์ หอ้ งเรยี น๓. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ หอ้ งเรยี นประเภทบรู ณาการความรู้ในคณติ ศาสตร์ ทมี ๓ คน ห้องเรียน ห้องเรยี นไปประยุกตใ์ ช้๔. การแขง่ ขันสรา้ งสรรค์ผลงาน ทมี ๒ คนคณติ ศาสตร์โดยใชโ้ ปรแกรม GSP๕. การแขง่ ขนั คิดเลขเรว็ เดีย่ ว๖. การแข่งขนั ต่อสมการคณิตศาสตร์ ทีม ๒ คน(เอแมท็ ) (ม.4-6เดีย่ ว)๗. การแข่งขันซโู ดกุ เด่ยี ว๘. การแขง่ ขนั เวทคณิต เดี่ยว รวม ๓๖ ๘๘7 2 ๑๙ 1๕ รวม ๘ กิจกรรม 3๔ รายการศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑
๑. การแขง่ ขันอจั ฉริยภาพทางคณติ ศาสตร์1. คุณสมบัตผิ ู้เข้าแขง่ ขนั การแข่งขนั แบง่ เป็น 4 ระดบั ดงั นี้ 1.1 ระดบั ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 3 เทา่ นนั้ 1.2 ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เทา่ น้ัน 1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 เทา่ น้นั 1.4 ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เท่าน้นั2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 2.1 ประเภทเดีย่ ว 2.2 จานวนผูเ้ ข้าแข่งขันระดับละ 1 คน3. วิธีดาเนนิ การและหลกั เกณฑก์ ารแข่งขนั 3.1 สง่ รายช่ือนกั เรยี นผู้เข้าแข่งขัน พร้อมชื่อครูผู้ฝึกสอนระดบั ละ 1 คน ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด 3.2 กิจกรรมการแขง่ ขนั ผู้แขง่ ขันต้องทาแบบทดสอบวัด - ความสามารถในการคิดเลขเรว็ และการคดิ คานวณ - ความสามารถของการแกโ้ จทย์ปัญหา 3.3 แบบทดสอบในแตล่ ะระดับชัน้ ใช้เนอื้ หาคณติ ศาสตรต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช2551หลักสูตรการแข่งขันทางวิชาการระดับนานาชาติ, และแนวการประเมินนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA) โดยใช้เวลาในการทดสอบ 120 นาที นักเรียนท่ีเข้าแข่งขันทุกระดับช้ันทาแบบทดสอบทัง้ หมด 3 ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลอื กตอบ แบบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ ตอนที่ 2 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คาตอบ วัดทกั ษะคิดเลขเรว็ และทกั ษะการคิดคานวณจานวน 20 ขอ้ ตอนที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาตอบ วัดทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ัญหา จานวน 10 ข้อ4. เกณฑ์การใหค้ ะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ดังน้ี ตอนท่ี 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลอื กตอบ แบบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนนรวม 10 คะแนน ตอนที่ 2 แบบทดสอบปรนัยชนิดเตมิ คาตอบ จานวน 20 ขอ้ ข้อละ 2 คะแนน รวม 40 คะแนน ตอนที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เติมคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 50 คะแนน5. เกณฑก์ ารตดั สิน ถ้าคะแนนรวมเท่ากัน ให้พิจารณาตัดสินจากคะแนนแบบทดสอบตอนที่ 3 ตอนท่ี 2 และตอนที่ 1 ตามลาดบั แล้วนาคะแนนรวมมาคิดเทยี บเกณฑก์ ารตดั สิน ดงั น้ี รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญเงนิ ร้อยละ 60– 69 ได้รับรางวลั ระดับเหรียญทองแดง ตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเปน็ อยา่ งอนื่ ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปน็ สิน้ สุดศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนคร้งั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๒
6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดับช้นั ละ 3 – 5 คน คณุ สมบัตขิ องคณะกรรมการ - เป็นศกึ ษานิเทศก์กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ - เป็นครูผสู้ อนที่ทาการสอนกล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ - ผูท้ รงคุณวุฒใิ นดา้ นคณิตศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสนิ ในกรณสี ถานศึกษาของตนเขา้ แข่งขนั - กรรมการที่มาจากครผู สู้ อนควรแตง่ ตงั้ ใหต้ ดั สินในระดบั ชั้นท่ีทาการสอน - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มใหก้ บั นักเรียนทีช่ นะในลาดับที่ 1 – 37. สถานทท่ี าการแข่งขนั ควรใชห้ ้องเรยี นทีม่ ีโต๊ะ เกา้ อ้ีที่สามารถดาเนนิ การแข่งขนั ไดพ้ รอ้ มกัน8. การเขา้ แข่งขนั ระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ให้ทมี ที่เปน็ ตัวแทนของของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขา้ แขง่ ขันในระดบั ภาค ทกุ กิจกรรมต้องไดค้ ะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดับชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดบั เหรยี ญทอง ลาดบั ที่ ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ) ๘.๒ ในกรณแี ข่งขันระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มีมากกวา่ ๓ ทีม ให้พิจารณาลาดับทต่ี ามลาดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีทมี ท่ีได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากันให้ดูข้อที่ ๒ ทีมท่ีได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ประธานกรรมการตัดสนิ เป็นผู้ช้ขี าดขอ้ เสนอแนะในการตอ่ ยอดในระดับชาติ ควรตอ่ ยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์หมายเหตุ 1. นักเรียนทเ่ี ป็นตัวแทนเข้าร่วมแขง่ ขันระดบั ชาติ ต้องเป็นบคุ คลคนเดียวกับผู้ท่ีไดร้ ับการคัดเลือกจากระดบั ภาคและระดบั เขตพน้ื ท่ี 2. ไมอ่ นุญาตให้นาเครอ่ื งคิดเลขหรืออุปกรณ์ช่วยอ่ืนๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน 3. กรรมการคมุ สอบแจกกระดาษทดใหใ้ นห้องสอบ และห้ามนาออกจากห้องสอบ๙. การเผยแพรผ่ ลงานท่ีได้รบั รางวัล ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ต่อไปซง่ึ ผลงานของผแู้ ข่งขัน ถอื เป็นลขิ สทิ ธิ์ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อใชใ้ นการเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครัง้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓
2. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎหี รือคาอธิบายทาง คณติ ศาสตร์1. คุณสมบัตผิ ้เู ข้าแขง่ ขนั การแขง่ ขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดงั นี้ 1.1 ระดบั ประถมศึกษา - ผเู้ ข้าแขง่ ขนั เป็นนักเรียนช้ัน ป.4–6 1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น - ผเู้ ขา้ แข่งขนั เปน็ นักเรยี นช้ัน ม.1–3 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - ผู้เข้าแขง่ ขันเป็นนักเรียนชนั้ ม.4–62. ประเภทและจานวนผเู้ ข้าแขง่ ขนั 2.1 แข่งขันประเภททีม ทีมละ ๓ คน 2.2 เขา้ แข่งขัน ระดบั ละ 1 ทมี เท่าน้ัน3. วธิ ดี าเนินการและรายละเอียดหลกั เกณฑก์ ารแข่งขนั 3.1 สง่ รายชอ่ื นกั เรียนผเู้ ข้าแข่งขนั ทมี ละ 3 คน พร้อมชอื่ ครูทีป่ รกึ ษาโครงงานคณติ ศาสตรท์ ีมละไมเ่ กนิ 2 คน ตามแบบฟอร์มท่กี าหนด 3.2 รายละเอยี ดหลักเกณฑ์การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรอืคาอธบิ ายทางคณิตศาสตร์ มีการพิจารณาระดับการแข่งขันและตดั สนิ โครงงาน แยกเขตพ้ืนท่ี /ระดับช้ัน ดงั นี้ ๓.๒.๑ ระดบั เขตพืน้ ที่ สพป. - ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 - ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 – ๓ ๓.๒.๒ ระดบั เขตพน้ื ท่ี สพม. - ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 – ๓ - ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖ ๓.๓ ส่งรายงานโครงงานคณิตศาสตร์เปน็ รูปเลม่ ล่วงหน้าก่อนการแขง่ ขัน 2 สัปดาห์ (ตามท่รี ะดับเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา/ระดับภาค/ระดับชาติ กาหนด) 3.๔ นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน60 ซม. 60 ซม.ก ข ก 60 ซม. ๑๒๐ ซม. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61
ถ้ามีส่วนยนื่ ด้านบน อนุญาตให้ ติดแค่ชื่อโรงเรยี นเทา่ นัน้ ห้ามมเี นอื้ หาท่ีเกี่ยวกบั การทาโครงงาน 3.๕ นาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ต่อคณะกรรมการ ใช้เวลาไม่เกนิ 10 นาที และตอบข้อซักถามใชเ้ วลาไมเ่ กิน ๑๐ นาที 3.๖ สือ่ ทใ่ี ช้ในการนาเสนอโครงงานคณติ ศาสตร์ ผสู้ ง่ โครงงานเขา้ แขง่ ขันจัดเตรยี มมาเอง 3.๗ พนื้ ที่จดั วางแผงโครงงานคณติ ศาสตร์ คณะกรรมการจัดให้เทา่ กันไมเ่ กิน 1.50 ม. × 1.00 ม.และให้จดั ภายในพ้นื ที่ที่กาหนดเทา่ นั้น4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน4.1 การกาหนดหวั ข้อโครงงาน 5 คะแนน4.2 ความสาคญั และความเป็นมาของโครงงาน 10 คะแนน4.3 วัตถุประสงค์/สมมติฐาน/ตวั แปร (ถ้ามี) ๕ คะแนน4.4 เนอ้ื หาสาระและเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ๒๐ คะแนน4.5 วธิ ีดาเนนิ งาน/ แนวคดิ และผลทไ่ี ดร้ บั 1๕ คะแนน4.6 การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน4.7 การนาเสนอปากเปล่า 10 คะแนน4.8 การตอบข้อซกั ถาม (เนน้ การซักถามในประเด็นเกย่ี วกับคณติ ศาสตร์) ๑๐ คะแนน4.9 การเขียนรายงาน 10 คะแนน4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ ๕ คะแนน4.11 ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ ๕ คะแนน5. เกณฑ์การตดั สิน การพจิ ารณาตัดสนิ โครงงานมเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั น้ี ร้อยละ 80 - 100 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง รอ้ ยละ 70 – 79 ได้รับรางวลั ระดบั เหรยี ญเงนิ รอ้ ยละ 60 – 69 ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง ตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 ไดร้ บั เกยี รตบิ ตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอย่างอน่ื ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปน็ ทส่ี ้ินสุด6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดบั ละ 3 - 5 คน คุณสมบตั ิของคณะกรรมการ - เป็นผทู้ รงคุณวุฒิในด้านคณิตศาสตร์ - เป็นศกึ ษานิเทศก์ทีร่ บั ผิดชอบกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เปน็ ครูที่มคี วามคดิ รวบยอดในเนื้อหาคณิตศาสตร์และมีประสบการณ์การทาโครงงานคณิตศาสตร์ (ถ้าเป็นกรรมการระดบั ชาตติ อ้ งเคยเปน็ กรรมการตัดสินโครงงานในระดับภาค หรอื ระดับชาติมาก่อน) ขอ้ ควรคานึง - กรรมการตอ้ งไม่ตดั สินในกรณสี ถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการท่มี าจากครผู สู้ อนควรแตง่ ต้ังใหต้ ดั สนิ ในระดับชั้นท่ีทาการสอน - กรรมการควรมที ี่มาจากเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาอ่นื อย่างหลากหลาย - กรรมการควรใหข้ ้อเสนอแนะเติมเต็มใหก้ บั นักเรยี นท่ีชนะในลาดบั ท่ี 1 – 3ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๕
7. สถานทีท่ าการแข่งขนั ควรใชห้ อ้ งเรียนหรอื สถานที่ ทม่ี โี ต๊ะ เก้าอ้ี ที่สามารถดาเนินการแข่งขนั ได้พร้อมกนั8. การเข้าแข่งขันระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ให้ทมี ท่ีเปน็ ตัวแทนของของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเข้าแขง่ ขันในระดับภาค ทกุ กิจกรรมต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ จะต้องได้คะแนนระดับเหรยี ญทอง ลาดบั ที่ ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีมีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาคมีมากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาการให้คะแนนในลาดับที่ ๔.๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๕ ๔๖ และ ๔.๙ เรียงตามลาดับคะแนนของทีมใดสูงกว่า ถือว่าเป็นทีมท่ีชนะ เช่น มีทีมท่ีได้คะแนนในลาดับที่ ๔.๔ เท่ากันให้พิจารณาลาดับที่ ๔.๗ ทีมที่ได้คะแนนมากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าลาดับท่ี ๔.๗ เท่ากัน ให้พิจารณาในลาดับถัดไปตามที่กาหนด ถ้าคะแนนเท่ากนั ในทุกขอ้ ให้ประธานกรรมการตดั สินเป็นผู้ชข้ี าด๙. การเผยแพรผ่ ลงานทีไ่ ดร้ บั รางวลั ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสงู สุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพจิ ารณาและนาไปเผยแพรใ่ นเว็บไซต์ต่อไป ซึ่งผลงานของผู้แข่งขัน ถือเปน็ ลิขสิทธ์ิของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพ่ือใช้ในการเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธ์10. รปู แบบการเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ (ปก)โครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง........................................................................................................................ โดย 1............................................................................................................................ .............. 2................................................................................................................... ....................... 3............................................................................................................................ ..............ครูทปี่ รึกษา 1......................................................................................................................................... 2............................................................................................................................ .............โรงเรยี น........................................................... สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ..................................รายงานฉบับนเี้ ป็นสว่ นประกอบของโครงงานคณติ ศาสตร์ประเภทสรา้ งทฤษฎีและคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ………................เนอื่ งในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนคร้ังที่ ๖๗ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนคร้ังที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๖
รายละเอยี ดในเล่มประกอบด้วย บทคดั ย่อ กติ ติกรรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบัญรปู ภาพ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินการ บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ การ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ไมเ่ กิน 10 หน้าหมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใ้ ช้กระดาษพมิ พ์ ขนาด A4 ตัวอกั ษรไมต่ า่ กวา่ ๑๖ pointพิมพ์หน้าเดยี ว เฉพาะบทท่ี 1 - 5 มีความยาวไมเ่ กิน ๓0 หนา้ ภาคผนวกมีความยาวไมเ่ กิน 10 หน้า รายงานฉบบั ใดท่มี ีความยาวเกนิ กว่าท่ีกาหนดจะถกู ตดั คะแนน 2. ทารายงานส่งให้คณะกรรมการก่อนการแข่งขัน 2 สปั ดาห์ จานวนชุดตามที่กาหนดในการแขง่ ขนัในแต่ละระดับ (สาหรบั ระดับชาตจิ ะแจง้ ใหท้ ราบภายหลงั จากการแขง่ ขนั ระดับภาคเสร็จสิ้นไปแล้ว) 3. นักเรยี นทีเ่ ป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบคุ คลคนเดียวกับผู้ท่ไี ดร้ บั การคัดเลอื กจากระดบั ภาค และ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนครัง้ ที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๗
(ตวั อยา่ ง) แบบประเมินโครงงานคณติ ศาสตร์ประเภทสรา้ งทฤษฎีและคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลายสงั กดั สพป. ............................................................ สพม. ....................................................ชอ่ื โครงงาน..................................................................................................................................................โรงเรยี น.......................................................................... จังหวัด..............................................................ขอ้ ท่ี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้1. การกาหนดหวั ข้อโครงงาน (5) - สอดคลอ้ งกบั เรื่องท่ศี ึกษา 1 - สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์/ปัญหาของโครงงาน 1 - สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาและระดับชัน้ ของผทู้ ี่ทาโครงงาน 1 - มีความกะทดั รดั สือ่ ความหมายชดั เจน 1 - นา่ สนใจ กระตุน้ ความคิดต่อผู้อ่นื อย่างหลากหลาย 1 (10)2. ความสาคญั และความเป็นมาของโครงงาน 1 - มาจากปัญหาและความสนใจของผู้เรยี น 1 - เปน็ ปญั หาที่สะท้อน/เกย่ี วข้องกับตัวเอง ชุมชน 1 - บอกความเปน็ มาหรือเหตผุ ลของการทาโครงงานไดช้ ดั เจน 1 - มเี หตุผลท่ดี ีเพียงพอทีน่ าไปสู่การทาโครงงาน 2 - สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นไดใ้ ชค้ วามรคู้ วามคิดและทักษะความสามารถทาง คณิตศาสตร์ 2 - มีการอา้ งหลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องประกอบการทาโครงงาน 2 - มอี งคป์ ระกอบถูกต้อง ครบถ้วน สอดคล้อง สมั พนั ธก์ นั (5) 13. วตั ถปุ ระสงค/์ สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา้ ม)ี 2 - เปน็ วตั ถปุ ระสงค์ของการทาโครงงาน 1 - ระบุวัตถปุ ระสงค์ได้ถูกต้อง ชดั เจน มคี วามเป็นไปไดจ้ รงิ ในการดาเนนิ งาน - วตั ถุประสงคส์ ามารถวัดและประเมินผลได้จริงดว้ ยวิธีการ/เคร่ืองมอื ที่เปน็ 1 รูปธรรมเช่ือถือได้ - สอดคล้องกบั ชื่อเร่ืองและเนื้อหา (20) - สมมติฐาน (ถ้ามี) มีความถูกต้อง ชดั เจน สอดคล้องกบั ปัญหา ตวั แปรและ 3 วตั ถุประสงค์ - สมมติฐานนาไปส่กู ารออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองไดช้ ดั เจน 34. เน้ือหาสาระและเอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง - เน้ือหาถกู ต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ เหมาะสม สอดคล้องและครอบคลมุ ในเรอื่ งทท่ี า - มกี ารเช่อื มโยงความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งได้ ครบถ้วน สมบรู ณ์ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๘
ขอ้ ท่ี รายการ คะแนนเตม็ คะแนนท่ีได้ - มกี ารจัดระบบการนาเสนอเนือ้ หาได้กระชบั ชัดเจน เข้าใจงา่ ย 3 - เนือ้ หาสาระสามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาต่อยอด และกระตุ้นให้ 3 แนวทางนาไปสู่การทาโครงงานอื่น - มีการอา้ งอิงหลักการ แนวคิด และทฤษฎที ่ีถูกต้อง ชัดเจน และเช่อื ถือได้ 3 - เนอ้ื หาสาระมาจากแหล่งข้อมูลทีห่ ลากหลาย 3 - เอกสารอา้ งอิงทเี่ ก่ียวข้องทันสมัย น่าเชือ่ ถือ 25. วิธีดาเนินงาน/แนวคดิ และผลทีไ่ ด้รับ (15) - มีลาดับขั้นตอนในการดาเนินงานชดั เจน 3 - มีเครื่องมือและการพฒั นาเคร่ืองมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ 3 - มีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมูลถกู ต้อง 3 - การนาเสนอข้อมลู ถูกต้อง กะทัดรดั ชัดเจน 2 - ผลการทาโครงงานบรรลวุ ตั ถุประสงค์ทต่ี ั้งไว้ 2 - มีการอภิปรายผลการศึกษาอย่างครอบคลุมสมเหตุสมผล 26. การจัดแสดงโครงงานเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (5) - ขนาดแผงโครงงานเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด 1 - การจัดวางเหมาะสม สรา้ งสรรค์ สวยงาม ประหยัด นา่ สนใจ 1 - เนื้อหาสาระครบถว้ นสมบูรณ์ 1 - การเรยี งลาดับ ประเด็นหวั ข้อ และเนื้อหาสาระถกู ต้องเป็นระบบ เข้าใจง่าย 1 - มรี อ่ งรอยของการดาเนินงาน 17. การนาเสนอปากเปลา่ (10 นาที) (10) - มกี ารแนะนาตนเอง ด้วยมารยาทที่ดี มีความยม้ิ แย้มแจม่ ใส 1 - พดู จาถูกต้องตามหลักภาษาไทย กระชับ ชดั เจน เข้าใจง่าย เป็นธรรมชาติ 2 - มีความเช่ือมน่ั ในตนเอง กล้าพดู กลา้ แสดงออก 1 - มีการนาเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม ประเดน็ สาคัญของโครงงาน 2 - มีการจดั ระบบขั้นตอนการนาเสนอได้กระชับ ชัดเจน เปน็ ระบบเข้าใจง่าย 1 - การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในการนาเสนอ 1 - มวี ิธกี ารนาเสนอทน่ี ่าสนใจ 1 - นาเสนอไดเ้ หมาะสมกบั เวลาทกี่ าหนด 18. การตอบข้อซักถาม (เนน้ การซักถามในประเดน็ เก่ยี วกบั คณติ ศาสตร์) (10) - ตอบคาถามได้ถกู ตอ้ ง ตรงประเดน็ คลอ่ งแคล่ว และชดั เจน 2 - ใช้ภาษาถกู ต้องเขา้ ใจง่าย 1 - มกี ารใช้ข้อมลู จริงจากการศึกษา 1 - ใช้ภาษาคาศัพทเ์ ทคนคิ ได้ถูกต้อง 1 - การมีส่วนรว่ มของสมาชิกภายในกลุ่ม 1 - มีปฏภิ าณไหวพริบและสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ 2ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๙
ข้อท่ี รายการ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ - มีการใชค้ วามรู้จากการศึกษาประกอบการอธบิ าย 29. การเขยี นรายงานโครงงานถูกตอ้ งตามรูปแบบ (10) 3 - องค์ประกอบครบถว้ นตามประเภทของโครงงานและเรยี งลาดบั ถกู ต้อง 3 - นาเสนอสาระในแต่ละหัวข้อถกู ต้อง ชัดเจน กระชับ รัดกุม 2 - การใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน 2 - จานวนหนา้ ทัง้ เนอ้ื หา ภาคผนวก และขนาดตวั อักษรเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (5)10. การนาไปใช้ประโยชน์ 2 - นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ 2 - นาไปพฒั นาต่อยอดได้ 1 - มคี วามคมุ้ ค่าตอ่ การลงทุน (5)11. ความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 2 - มคี วามแปลกใหมข่ องปัญหาหรือความเป็นมา 1 - มคี วามแปลกใหมใ่ นการนาเสนอ 1 - เปน็ เร่ืองทนั สมัย 1 - สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อการศึกษา 100 คะแนนรวมขอ้ คิดเห็น เพ่ิมเติม............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 ลงช่ือ ................................................ กรรมการ (........................................) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๐
3. การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ท่บี ูรณาการความรูใ้ นคณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ใช้1. คุณสมบตั ผิ ู้เขา้ แขง่ ขนั การแขง่ ขันแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังน้ี 1.1 ระดบั ประถมศึกษา - ผู้เข้าแข่งขนั เปน็ นักเรยี นชนั้ ป.4–6 1.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น - ผเู้ ข้าแข่งขันเปน็ นักเรียนชน้ั ม.1–3 1.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย - ผเู้ ขา้ แขง่ ขันเป็นนักเรียนช้นั ม.4–62. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั 2.1 แขง่ ขนั ประเภททีม ทีมละ ๓ คน 2.2 เขา้ แข่งขัน ระดับละ 1 ทมี เทา่ น้ัน3. วิธดี าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขัน 3.1 สง่ รายชือ่ นกั เรียนผเู้ ข้าแขง่ ขัน ทมี ละ 3 คน พร้อมช่ือครูทีป่ รกึ ษาโครงงานคณติ ศาสตรท์ มี ละไม่เกิน 2 คน ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด 3.2 รายละเอียดหลักเกณฑ์การแขง่ ขนั การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ใช้มีการพิจารณาระดบั การแขง่ ขันและตัดสนิ โครงงาน แยกเขตพืน้ ท่ี /ระดบั ชั้น ดังนี้ ๓.๒.๑ ระดับเขตพ้ืนท่ี สพป. - โครงงานคณติ ศาสตร์ที่บรู ณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ระดับชน้ัประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ได้แก่ 1) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจเก็บรวบรวมข้อมูล 2) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง 3) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทพฒั นาหรอื ประดษิ ฐ์ - โครงงานคณิตศาสตร์ทีบ่ รู ณาการความรู้ในคณติ ศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – ๓ ไดแ้ ก่ 1) โครงงานคณิตศาสตรป์ ระเภททดลอง 2) โครงงานคณติ ศาสตร์ประเภทพัฒนาหรอื ประดิษฐ์ ๓.๒.๒ ระดบั เขตพื้นที่ สพม. - โครงงานคณติ ศาสตร์ที่บรู ณาการความรใู้ นคณิตศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 – ๖ ไดแ้ ก่ 1) โครงงานคณติ ศาสตร์ประเภททดลอง 2) โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภทพัฒนาหรอื ประดษิ ฐ์ ๓.๓ สง่ รายงานโครงงานคณติ ศาสตรเ์ ป็นรูปเลม่ ล่วงหนา้ ก่อนการแข่งขนั 2 สัปดาห์ (ตามท่เี ขตพื้นที่การศึกษา/ระดบั ภาค/ระดบั ชาติ กาหนดศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๑
3.๔ นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑม์ าตรฐาน 60 ซม. 60 ซม. 60 ซม. ก กข ๑๒๐ ซม. ถ้ามีสว่ นยน่ื ดา้ นบน อนญุ าตให้ ติดแคช่ ่อื โรงเรยี นเท่าน้นั หา้ มมีเน้ือหาทีเ่ กย่ี วกบั การทาโครงงาน 3.๕ นาเสนอโครงงานคณิตศาสตรต์ ่อคณะกรรมการ ใช้เวลาไม่เกนิ 10 นาที และตอบข้อซักถามใชเ้ วลาไม่เกิน ๑๐ นาที 3.๖ สือ่ ทใี่ ชใ้ นการนาเสนอโครงงานคณติ ศาสตร์ ผสู้ ่งโครงงานเข้าแข่งขันจัดเตรียมมาเอง 3.๗ พน้ื ทจี่ ดั วางแผงโครงงานคณติ ศาสตร์ คณะกรรมการจัดให้เท่ากนั ไม่เกนิ 1.50 ม. × 1.00 ม.และใหจ้ ดั ภายในพืน้ ที่ท่ีกาหนดเทา่ น้ัน4. เกณฑ์การใหค้ ะแนน 100 คะแนน4.1 การกาหนดหัวข้อโครงงาน 5 คะแนน คะแนน4.2 ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 10 คะแนน4.3 วัตถุประสงค/์ สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา้ มี) ๕ คะแนน คะแนน4.4 เนื้อหามีความเชอื่ มโยงความร้แู ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คะแนน คะแนนกบั ศาสตร์อ่ืน ๆ/บูรณาการความรคู้ ณติ ศาสตร์ ๑๕ คะแนน4.5 วิธดี าเนินงาน /แนวคิด และผลที่ได้รบั 1๕ คะแนน คะแนน4.6 การจดั แสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน4.7 การนาเสนอปากเปลา่ 104.8 การตอบข้อซกั ถาม (เนน้ การนาความร้แู ละผลการดาเนนิ งาน/ผลงานและความรู้คณติ ศาสตร์และการเชื่อมโยงบูรณาการไปประยุกต์ใช้) ๑๐4.9 การเขียนรายงาน ๕4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ ๑๐4.11 ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ๑๐5. เกณฑก์ ารตัดสิน การพิจารณาตดั สินโครงงานมเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้ รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรยี ญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดบั เหรียญเงนิ ร้อยละ 60 – 69 ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 60 ไดร้ ับเกียรติบตั ร เว้นแตก่ รรมการจะเห็นเป็นอยา่ งอ่นื ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถอื เปน็ ที่สนิ้ สุดศิลปหัตถกรรมนักเรียนครงั้ ที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๒
6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดบั ละ 3 - 5 คน คณุ สมบตั ขิ องคณะกรรมการ - เปน็ ผู้ทรงคุณวฒุ ิในด้านคณิตศาสตร์ - เป็นศกึ ษานิเทศก์ทรี่ บั ผิดชอบกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครูท่ีมคี วามคดิ รวบยอดในเนื้อหาคณิตศาสตร์และมีประสบการณ์การทาโครงงานคณิตศาสตร์ (ถา้ เป็นกรรมการระดับชาติต้องเคยเปน็ กรรมการตัดสินโครงงานในระดบั ภาค หรอื ระดับชาติมาก่อน) ขอ้ ควรคานงึ - กรรมการตอ้ งไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเขา้ แข่งขัน - กรรมการทีม่ าจากครผู ู้สอนควรแตง่ ตงั้ ใหต้ ัดสินในระดบั ชั้นทีท่ าการสอน - กรรมการควรมที ่ีมาจากเขตพ้นื ที่การศึกษาอ่นื อยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเตมิ เต็มใหก้ บั นักเรียนที่ชนะในลาดับท่ี 1 - 37. สถานท่ที าการแข่งขนั ควรใช้ห้องเรยี นหรอื สถานท่ี ทมี่ โี ต๊ะ เกา้ อี้ ที่สามารถดาเนินการแขง่ ขันได้พร้อมกัน8. การเข้าแขง่ ขนั ระดับภาค และระดับชาติ ๘.1 ใหท้ มี ที่เป็นตัวแทนของของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาเขา้ แขง่ ขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ จะต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาคมีมากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาการให้คะแนนในลาดับที่ ๔.๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๑๐ และ ๔.๑๑ เรียงตามลาดับคะแนนของทีมใดสูงกว่า ถือว่าเป็นทีมท่ีชนะ เช่น มีทีมท่ีได้คะแนนในลาดับท่ี ๔.๔ เท่ากันให้พิจารณาลาดับที่ ๔.๗ ทีมท่ีได้คะแนนมากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าลาดับที่ ๔.๗ เท่ากัน ให้พิจารณาในลาดับถัดไปตามท่ีกาหนด ถ้าคะแนนเทา่ กนั ในทุกข้อ ใหป้ ระธานกรรมการตัดสนิ เป็นผูช้ ีข้ าด๙. การเผยแพรผ่ ลงานที่ไดร้ บั รางวลั ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ต่อไปซง่ึ ผลงานของผ้แู ข่งขนั ถือเป็นลิขสิทธข์ิ องสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เพื่อใชใ้ นการเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครง้ั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๓
10. รปู แบบการเขียนรายงานโครงงานคณติ ศาสตร์ (ปก)โครงงานคณิตศาสตร์ เรือ่ ง........................................................................................................................ โดย 1............................................................................................................................ .............. 2............................................................................................................................ .............. 3........................................................................................................ ..................................ครูท่ีปรกึ ษา 1............................................................................................................................ ............. 2.........................................................................................................................................โรงเรยี น........................................................... สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ..................................รายงานฉบบั นเ้ี ปน็ ส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทบูรณาการความรู้ในคณติ ศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับ………................เนือ่ งในงานศิลปหัตถกรรมนกั เรียนคร้ังที่ ๖๗ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐รายละเอยี ดในเล่มประกอบด้วย บทคดั ย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบญั รปู ภาพ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ การ บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ไมเ่ กิน 10 หนา้ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๑๔
หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานใหใ้ ชก้ ระดาษพิมพ์ ขนาด A4 ตัวอักษรไมต่ า่ กวา่ ๑๖ pointพมิ พ์หนา้ เดียว เฉพาะบทท่ี 1 - 5 มคี วามยาวไมเ่ กิน ๒0 หนา้ ภาคผนวกมคี วามยาวไมเ่ กนิ 10 หนา้ รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกนิ กวา่ ท่ีกาหนดจะถกู ตดั คะแนน 2. ทารายงานส่งให้คณะกรรมการก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์ จานวนชุดตามที่กาหนดในการแข่งขนัในแตล่ ะระดบั (สาหรบั ระดับชาติจะแจ้งใหท้ ราบภายหลังจากการแข่งขันระดบั ภาคเสรจ็ ส้ินไปแล้ว) 3. นักเรยี นทีเ่ ปน็ ตัวแทนเขา้ ร่วมแขง่ ขันระดบั ชาติ ต้องเปน็ บคุ คลคนเดียวกบั ผู้ทีไ่ ด้รบั การคดั เลอื กจากระดับภาค และ ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษาศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครง้ั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๕
(ตวั อย่าง) แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทบรู ณาการความรู้ในคณติ ศาสตรไ์ ปประยุกต์ใช้ระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลายสังกัด สพป. …......................................................... สพม. ….................................................ชอ่ื โครงงาน…...............................................................................................................................................โรงเรยี น…....................................................................... จังหวัด…...........................................................ข้อที่ รายการ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน (5) - สอดคล้องกับเรอื่ งท่ีศึกษา 1 - สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค/์ ปญั หาของโครงงาน 1 - สอดคล้องกบั เนอ้ื หาและระดับชนั้ ของผู้ท่ีทาโครงงาน 1 - มคี วามกะทัดรัด ส่อื ความหมายชัดเจน 1 - นา่ สนใจ กระตนุ้ ความคิดต่อผอู้ ื่นอยา่ งหลากหลาย 1 (10)2. ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 1 - มาจากปญั หาและความสนใจของผเู้ รยี น 1 - เป็นปัญหาทีส่ ะท้อน/เกย่ี วข้องกบั ตวั เอง ชมุ ชนและสังคมในวงกว้าง 1 - เป็นปญั หาท่สี ่งผลต่อ/นาไปสกู่ ารทาโครงงานทมี่ ีประโยชน์ 1 - บอกความเปน็ มาหรือเหตุผลของการทาโครงงานได้ชัดเจน 1 - มเี หตุผลท่ีดีเพยี งพอท่ีนาไปส่กู ารทาโครงงาน 1 - แสดงใหเ้ หน็ ถึงประโยชน์ คณุ คา่ /ความสาคญั ของโครงงานต่อสังคมในวงกว้าง 2 - สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนได้ใชค้ วามรู้ความคดิ และทักษะความสามารถทาง คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ในการทาโครงงาน 1 - มีการอา้ งหลักการ แนวคดิ หรือทฤษฎีทเ่ี กยี่ วข้องประกอบการทาโครงงาน 1 - มีองค์ประกอบถูกต้อง ครบถ้วน สอดคลอ้ ง สมั พันธก์ นั (5) 13. วตั ถุประสงค/์ สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา้ ม)ี 2 - เป็นวัตถุประสงคข์ องการทาโครงงาน 1 - ระบุวตั ถปุ ระสงค์ได้ถูกต้อง ชดั เจน มีความเป็นไปไดจ้ ริงในการดาเนินงาน - วัตถปุ ระสงค์สามารถวดั และประเมินผลไดจ้ ริงด้วยวธิ กี าร/เครื่องมอื ที่เป็น 1 รปู ธรรมเชอ่ื ถอื ได้ - สอดคลอ้ งกบั ชอื่ เร่ืองและเน้ือหา (15) - สมมตฐิ าน (ถา้ มี) มีความถูกตอ้ ง ชดั เจน สอดคล้องกับปัญหา ตัวแปรและ 2 วัตถปุ ระสงค์ - สมมตฐิ านนาไปสู่การออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองได้ชัดเจน4. เนือ้ หาสาระและเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง - เนื้อหาถกู ต้อง ครบถว้ นสมบรู ณ์ เหมาะสม สอดคล้องและครอบคลมุ ในเร่อื งท่ที าศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๖
ข้อที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ - มกี ารเชือ่ มโยงความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ี่เก่ยี วขอ้ งได้ 2 ครบถ้วน สมบูรณ์ - มีการจัดระบบการนาเสนอเน้อื หาได้กระชบั ชัดเจน เข้าใจง่ายนาไปใช้ได้ 2 อยา่ งสะดวก เพยี งพอ มีประสิทธภิ าพ - เนื้อหาสาระสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอด และกระตุน้ ให้ 2 แนวทางนาไปสู่การทาโครงงานและใชป้ ระโยชนใ์ นวงกวา้ ง - มเี ทคนคิ วิธีในการนาเสนอเน้ือหาอย่างริเริม่ สร้างสรรค์ 1 - มกี ารอ้างอิงหลักการ แนวคิด และทฤษฎที ่ีถูกตอ้ ง ชัดเจน และเช่ือถือได้ 2 - เนอื้ หาสาระมาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 2 - เอกสารอ้างอิงทเ่ี กยี่ วข้องทันสมัย นา่ เชือ่ ถือ 25. วิธดี าเนนิ งาน/แนวคิด และผลทีไ่ ด้รับ (15) - มแี นวคดิ และวิธกี ารดาเนินงาน 2 - มีลาดับขนั้ ตอนในการดาเนินงานชัดเจน 2 - มีเคร่ืองมือและการพัฒนาเครื่องมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกต้องตามหลัก 2 วชิ าการ - มกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ขอ้ มูลถกู ตอ้ ง 3 - การนาเสนอข้อมูลถูกต้อง กะทดั รัด ชัดเจน 2 - ผลการทาโครงงานบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทต่ี ัง้ ไว้ 2 - มีการอภิปรายผลการศึกษาอย่างครอบคลมุ สมเหตสุ มผล 26. การจดั แสดงโครงงานเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (5) - ขนาดแผงโครงงานเปน็ ไปตามมาตรฐานที่กาหนด 1 - การจดั วางเหมาะสม สร้างสรรค์ สวยงาม ประหยัด นา่ สนใจ 1 - เนือ้ หาสาระครบถ้วนสมบรู ณ์ 1 - การเรียงลาดบั ประเด็นหัวข้อ และเนื้อหาสาระถูกต้องเป็นระบบ เขา้ ใจง่าย 1 - มชี นิ้ งาน/ส่งิ ประดษิ ฐ/์ รอ่ งรอยของการดาเนนิ งาน นาเสนอได้เหมาะสม 1 สอดคลอ้ งกบั โครงงานทีท่ า7. การนาเสนอปากเปลา่ (10 นาท)ี (10) - มีการแนะนาตนเอง ด้วยมารยาทท่ีดี มีความย้ิมแย้มแจม่ ใส 1- พูดจาถูกต้องตามหลกั ภาษาไทย กระชบั ชดั เจน เข้าใจงา่ ย เป็นธรรมชาติ 2- มีความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง กล้าพดู กลา้ แสดงออก 1- มกี ารนาเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม ประเดน็ สาคัญของโครงงาน 2- มีการจดั ระบบขัน้ ตอนการนาเสนอได้กระชบั ชัดเจน เปน็ ระบบเข้าใจงา่ ย 1- การมสี ่วนรว่ มของสมาชิกในการนาเสนอ 1- มวี ิธกี ารนาเสนอที่นา่ สนใจ มีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 1- นาเสนอไดเ้ หมาะสมกบั เวลาทก่ี าหนด 1ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๗
ขอ้ ที่ รายการ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้8. การตอบข้อซกั ถาม (เนน้ การซกั ถามการนาความรู้และผลการดาเนินงาน/ (10) ผลงาน และความรทู้ างคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงบรู ณาการไป ประยุกต์ใช)้ 1 - มีความเช่อื ม่ันในการตอบ 1 - ตอบคาถามได้ถูกตอ้ ง ตรงประเด็น คลอ่ งแคลว่ และชดั เจน 1 - ใชภ้ าษาถูกตอ้ งเขา้ ใจงา่ ย 1 - มีการใช้ข้อมลู จรงิ จากการศึกษา 1 - ใช้ภาษาคาศัพทเ์ ทคนิคไดถ้ ูกตอ้ ง 1 - การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกภายในกล่มุ 2 - มปี ฏิภาณไหวพรบิ และสามารถแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ 2 - มกี ารใชค้ วามรูจ้ ากการศึกษาประกอบการอธิบาย (5) 19. การเขียนรายงานโครงงานถูกต้องตามรปู แบบ 2 - องคป์ ระกอบครบถ้วนตามประเภทของโครงงานและเรยี งลาดับถูกต้อง 1 - นาเสนอสาระในแต่ละหัวขอ้ ถกู ต้อง ชัดเจน กระชับ รัดกุม 1 - การใชภ้ าษาถกู ต้องชดั เจน (10) - จานวนหนา้ ท้งั เนื้อหา ภาคผนวก และขนาดตัวอักษรเปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 2 210. การนาไปใชป้ ระโยชน์ 2 - นาไปใชไ้ ด้จริง 2 - นาไปพัฒนาต่อยอดได้อยา่ งหลากหลาย 2 - เป็นประโยชนต์ ่อตนเอง ชุมชน และสงั คมโลกในวงกว้าง (10) - มีความคมุ้ ค่าต่อการลงทุน 1 - นาไปประยุกต์ใช้/ทาใช้เองไดด้ ้วยวัสดุอปุ กรณ์ท่ีหาไดง้ ่าย 1 111. ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ 1 - มคี วามแปลกใหมร่ ิเรมิ่ สรา้ งสรรค์ของปัญหาหรือความเป็นมา 1 - มีความแปลกใหมร่ เิ ริ่มสร้างสรรค์ของแนวคดิ วธิ ีการ 1 - มคี วามแปลกใหมใ่ นการนาเสนอ 1 - มคี วามแปลกใหมข่ องผลงาน 1 - มีความแปลกใหม่ของการนาไปใช้ 1 - สามารถนาไปพัฒนาต่อยอดเปน็ นวตั กรรม 1 - มคี วามแปลกใหม่ หลากหลาย ยืดหยนุ่ 100 - มีความละเอียดปราณตี คานึงถงึ สว่ นต่าง ๆ อย่างรอบดา้ น ครอบคลมุ - เปน็ เรอื่ งทนั สมัย - สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ การศึกษา คะแนนรวมศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๘
ข้อคิดเห็น เพ่ิมเตมิ…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................…................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................... ...............…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................….........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................…..................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................….................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................….................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ …............................................. กรรมการ (….....................................)ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครงั้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๙
4. การแขง่ ขนั สรา้ งสรรค์ผลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP1. ระดบั และคณุ สมบัติผู้เขา้ แขง่ ขนัการแขง่ ขันแบง่ เป็น 3 ระดับ ดังน้ี1.1 ระดบั ประถมศึกษา ผ้เู ขา้ แข่งขนั ตอ้ งเป็นนกั เรยี นในชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น1.2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ผู้เข้าแข่งขนั ต้องเปน็ นกั เรยี นในช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 เท่านัน้1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ผเู้ ข้าแขง่ ขันตอ้ งเปน็ นักเรียนในชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 เทา่ น้ัน2. ประเภทและจานวนผเู้ ข้าแข่งขัน2.1 ประเภททีม2.2 จานวนผ้เู ข้าแขง่ ขนั ทมี ละ 2 คน3. วธิ ดี าเนินการแขง่ ขันและรายละเอยี ดหลักเกณฑ์การแขง่ ขัน3.1 สง่ รายชอื่ นักเรียนผ้เู ขา้ แขง่ ขัน ระดับละ 1 ทมี พรอ้ มช่ือครูผู้ฝกึ สอน 2 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด3.2 กาหนดโจทยก์ ารแขง่ ขนั จานวน 5 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวมคะแนนเตม็ 100 คะแนน3.3 เวลาท่ีใชใ้ นการแขง่ ขัน 2 ชว่ั โมง 30 นาที4. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม 100 คะแนน กาหนดรายละเอยี ด ดังน้ี4.1 โจทย์การแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใชโ้ ปรแกรม GSP จานวน 4 ขอ้ ข้อละ 20 คะแนนรวม 80 คะแนน ซง่ึ แต่ละข้อใช้เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังนี้ 4.1.1 ความสมบูรณแ์ ละถกู ต้องของรปู หรือแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ 10 คะแนน 4.1.2 ความคิดและความสมเหตสุ มผลของคาตอบและกระบวนการแก้ปัญหา 10 คะแนน4.2 โจทยก์ ารสร้างสรรค์ผลงานคณติ ศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 1 ข้อ 20 คะแนน 4.2.1 ความเป็นพลวตั ความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรคค์ วามสวยงาม และความเหมาะสม 10 คะแนน 4.2.2 ผลงานส่ือความหมายไดส้ อดคล้องและเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่อง 5 คะแนน 4.2.3 การพูดนาเสนอถกู ตอ้ ง ชัดเจน และใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที 5 คะแนน (หากเกนิ เวลาให้คณะกรรมการพจิ ารณาตัดคะแนน)5. เกณฑ์การตดั สนิ ร้อยละ 80 - 100 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญเงนิ ร้อยละ 60– 69 ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทองแดง ต่ากว่ารอ้ ยละ 60 ไดร้ ับเกียรตบิ ัตร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอย่างอ่ืน ผลการตดั สินของคณะกรรมการถือเป็นสน้ิ สุดศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๐
6. คณะกรรมการ การแขง่ ขัน ระดับละ 5 – 10 คน คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการ - เป็นศกึ ษานเิ ทศก์ทร่ี บั ผดิ ชอบกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เปน็ ครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ท่มี ีความเชี่ยวชาญโปรแกรม GSP - เปน็ ผทู้ รงคุณวุฒใิ นด้านคณิตศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการตอ้ งไม่ตดั สินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการทีม่ าจากครูผู้สอนควรแตง่ ต้งั ให้ตัดสนิ ในระดบั ท่ีทาการสอน - กรรมการควรอยู่ในเขตพนื้ ท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานอน่ื อยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเตมิ เต็มใหก้ ับนักเรียนท่ีชนะในลาดับท่ี 1- 37. สถานทแ่ี ข่งขัน หอ้ งคอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรม GSP ทีส่ ามารถดาเนนิ การแขง่ ขนั ได้พร้อมกัน8. การเขา้ แขง่ ขันระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ใหท้ มี ที่เป็นตัวแทนของของเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาเขา้ แข่งขนั ในระดบั ภาค ทกุ กจิ กรรมตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดับชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ) ๘.๒ ในกรณแี ข่งขันระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษาที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มีมากกวา่ ๓ ทมี ให้พิจารณาลาดับทต่ี ามลาดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีทีมท่ีได้คะแนนข้อท่ี ๑ เท่ากันให้ดูข้อท่ี ๒ ทีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ประธานกรรมการตัดสินเปน็ ผู้ชขี้ าดจับฉลากข้อเสนอแนะในการตอ่ ยอดในระดบั ชาติควรตอ่ ยอดโดยการจัดค่ายพัฒนาทกั ษะคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSPหมายเหตุ นกั เรียนทเ่ี ป็นตัวแทนเข้ารว่ มแขง่ ขันระดบั ชาติ ต้องเปน็ บคุ คลคนเดยี วกบั ผู้ทไี่ ด้รบั การ คดั เลอื กจากระดับภาคและระดบั เขตพ้ืนท่ี9.การเผยแพร่ผลงานทไี่ ดร้ บั รางวลั ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ตอ่ ไปซง่ึ ผลงานของผู้แข่งขนั ถอื เป็นลขิ สทิ ธข์ิ องสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เพื่อใช้ในการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๑
5. การแข่งขันคดิ เลขเร็ว1. ระดบั และคณุ สมบตั ิผู้เขา้ แขง่ ขัน การแขง่ ขันแบ่งเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้ 1.1 ระดับประถมศึกษาตอนต้น ผู้เขา้ แข่งขันตอ้ งเปน็ นักเรียนในช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านนั้ 1.2 ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย ผ้เู ขา้ แข่งขนั ต้องเปน็ นักเรียนในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เท่าน้ัน 1.3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งเป็นนักเรยี นในชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 เทา่ นั้น 1.4 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผ้เู ขา้ แข่งขนั ตอ้ งเป็นนักเรียนในชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 เท่านั้น2. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั 2.1 ประเภทเดีย่ ว 2.2 จานวนผู้เขา้ แข่งขนั ระดับละ 1 คน3. วิธดี าเนนิ การและหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 การส่งรายชื่อนกั เรียนผู้เข้าแข่งขัน ส่งรายชอื่ นักเรียนผเู้ ข้าแข่งขนั พรอ้ มชอื่ ครผู ฝู้ ึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด 3.2 การจัดการแขง่ ขนั การแข่งขนั ทกุ ระดับมีการแข่งขัน 2 รอบ ดงั นี้ รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใชเ้ วลาขอ้ ละ 30 วนิ าที โดยส่มุ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตวั เลข ผลลัพธ์ 2หลัก รอบท่ี 2 จานวน 20 ขอ้ ใช้เวลาขอ้ ละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 3หลัก เมอ่ื เสร็จสน้ิ การแขง่ ขันรอบที่ 1 ใหพ้ กั 10 นาที หมายเหตุ ให้คณะกรรมการพิจารณาเกณฑข์ ้อท่ี 5 ประกอบการดาเนนิ การ 3.3 วิธกี ารแข่งขัน 3.3.1 ช้ีแจงระเบยี บการแขง่ ขันให้นักเรียนผ้เู ข้าแขง่ ขันและครูผฝู้ กึ สอนเขา้ ใจตรงกันก่อนเริ่มการแข่งขนั 3.3.2 ใชโ้ ปรแกรม GSP ตามท่ีสว่ นกลางกาหนดไว้ให้เทา่ น้นั เพ่ือให้นักเรียนท่เี ข้าแข่งขนั เตรียมความพร้อมในการแขง่ ขนั ระดับชาติ หา้ มนาไปปรับเปล่ยี น จะมีไฟลแ์ นบให้ท้งั ระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา 3.3.3 ใชก้ ระดาษคาตอบ ขนาด 1 ของกระดาษ A4 ดังตัวอย่าง ในการแขง่ ขันทุกระดบั 4ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๒
ชอ่ื -สกุล..................................................โรงเรียน................................................เลขท่ี ............... ขอ้ ........ วิธกี ารและคาตอบ พ้นื ท่ีสาหรับทดเลข 3.3.4 แจกกระดาษคาตอบตามจานวนข้อในการแขง่ ขันแตล่ ะรอบ 3.3.5 ให้นักเรียนเขียนชื่อ – สกลุ โรงเรียน เลขทน่ี ัง่ และหมายเลขข้อ ให้เรียบร้อยก่อนเร่ิมการแขง่ ขนั ในแตล่ ะรอบ และหา้ มเขียนข้อความอนื่ ๆ จากที่กาหนด 3.3.6 เรม่ิ การแขง่ ขันโดยส่มุ เลขโดดจากโปรแกรม GSP ทีท่ างส่วนกลางจดั ไว้ให้ เป็นโจทย์และผลลพั ธ์ ซึ่งเลขโดดในโจทยท์ ี่สุ่มไดต้ ้องไมซ่ ้าเกินกวา่ 2 ตวั หรือถา้ สุ่มไดเ้ ลข 0 ตอ้ งมเี พียงตวั เดยี วเทา่ นั้น เช่น สุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัว สมุ่ ไดเ้ ป็น 6616 มี 6 ซา้ เกนิ กวา่ 2 ตัว ตอ้ งสุม่ ใหม่ หรือ สุม่ ได้เป็น 0054 มี 0 ซา้ เกนิ 1 ตัว ต้องส่มุ ใหม่ สุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัว ส่มุ ไดเ้ ป็น 43445 มี 4 ซ้าเกนิ กวา่ 2 ตัว ตอ้ งสุม่ ใหม่ หรือ สุม่ ได้เป็น 20703 มี 0 ซา้ เกิน 1 ตวั ต้องสุ่มใหม่ช้แี จงเพ่มิ เติมในคู่มือ 3.3.7 เม่อื หมดเวลาในแต่ละข้อให้กรรมการเกบ็ กระดาษคาตอบ และดาเนนิ การแขง่ ขนัตอ่ เนอ่ื งจนครบทุกข้อ (ไม่มีการหยดุ พักในแต่ละขอ้ เพื่อตรวจใหค้ ะแนน/ไม่มีการเฉลยทีละขอ้ ให้นักเรียนผูเ้ ข้าแข่งขนั รับทราบก่อนเสรจ็ สิ้นการแข่งขนั ) 3.4 หลักเกณฑก์ ารแขง่ ขนั 3.4.1 การแข่งขันระดับประถมศึกษาตอนต้น (ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 3) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร หรือยกกาลังเท่านั้น เพ่ือหาผลลัพธ์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทีละข้ันตอนหรือเขียนแสดงความสัมพันธ์ของวธิ ีการและคาตอบในรูปของสมการก็ได้ เชน่สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลักตัวอยา่ งท่ี 1 โจทย์ทส่ี ุ่ม ผลลพั ธ์ 4957 88 วธิ คี ิด 9 7 = 63 5 × 4 = 20 63 20 = 83 หรือ นักเรียน เขยี น (9 7) + (5 × 4) = 63 + 20 = 83 กไ็ ด้ได้คาตอบ 83 ซึ่งไม่ตรงกบั ผลลพั ธ์ที่สุม่ ได้ ในกรณนี ้ีถา้ ไม่มีนักเรยี นคนใดได้คาตอบท่ีตรงกบั ผลลัพธท์ ่สี ุม่ ได้ถ้า 83 เปน็ คาตอบทีใ่ กลเ้ คียงทีส่ ดุ จะได้คะแนนตัวอยา่ งท่ี 2 โจทยท์ ีส่ ุ่ม ผลลัพธ์ 2123 99 วธิ คี ดิ (32 + 1)2 = (9 + 1)2 = 100ไดค้ าตอบ 100 ซ่ึงไม่ตรงกับผลลพั ธท์ ่สี ุม่ ได้ ในกรณนี ้ีถา้ ไม่มีนักเรยี นคนใดได้คาตอบทต่ี รงกบั ผลลัพธท์ ีส่ มุ่ ได้ถ้า 100 เปน็ คาตอบที่ใกล้เคียงทสี่ ุด จะได้คะแนนศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๓
ตวั อย่างที่ 3 โจทยท์ ่ีสุ่ม ผลลัพธ์ 4836 13 วิธคี ดิ (8 + 6) - (4 - 3) = 13ได้คาตอบตรงกบั ผลลัพธ์ท่ีส่มุ ไดพ้ อดี จะได้คะแนนสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 3 หลกัตัวอย่าง โจทย์ท่ีส่มุ ผลลพั ธ์ 719 19732 วิธีคิด 93 – (7 + 2) - 1 = 719ได้คาตอบตรงกบั ผลลพั ธท์ ีส่ ุ่มได้พอดี จะได้คะแนน 3.4.2 การแข่งขันระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง หรือถอดรากอันดับท่ี n ทเ่ี ป็นจานวนเต็มบวกเท่านนั้ เพ่ือหาผลลัพธ์ ในการถอดรากต้องใส่อันดับที่ของรากจากตัวเลขท่ีสุ่มจากโจทย์ ยกเว้นรากอันดับท่ีสอง ในการถอดรากอันดับที่ n อนุญาตให้ใช้เพียงช้ันเดียว และไม่อนุญาตให้ใช้รากอนันต์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทีละข้ันตอน หรือเขียนแสดงความสัมพันธข์ องวธิ ีการและคาตอบในรูปของสมการกไ็ ด้ เชน่สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลักตวั อย่างที่ 1 โจทยท์ ีส่ ุม่ ผลลพั ธ์ 4957 88 วธิ ีคดิ 9 7 = 63 4 =2 52 = 25 63 25 = 88 หรอื นักเรยี น เขยี น (9 7) + 5 4 = 63 + 25 = 88 กไ็ ด้สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลักตวั อยา่ งท่ี 2 โจทยท์ ีส่ มุ่ ผลลัพธ์ 28439 757 วธิ ีคิด ( 4 )8 3 - (9 + 2) = 768 – 11 = 757ตัวอย่างที่ 3 โจทย์ทส่ี ุ่ม ผลลัพธ์ 22453 182 วธิ ีคดิ (3 2) 4 × 5 + 2 = 182ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๒๔
3.4.3 การแข่งขันระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดรากอันดับที่ nทีเ่ ปน็ จานวนเตม็ บวก เพ่ือหาผลลัพธ์ สามารถใช้แฟคทอเรียลและซิกมาได้ โดยมีข้อตกลงดงั นี้ ในการถอดรากอันดับที่ n จะถอดก่ีช้ันก็ได้ ถ้าไม่ใช่รากอันดับท่ีสองต้องใส่อันดับท่ีของรากจากตัวเลขที่สุ่มมาเท่าน้ัน และไมอ่ นุญาตใหใ้ ชร้ ากอนนั ต์ การใช้แฟคทอเรียลจะใช้ ! กคี่ รัง้ กไ็ ด้ แตต่ อ้ งใสว่ งเล็บใหช้ ัดเจนทกุ ครั้ง เชน่ (3!)! = (6)! = 720หากมีการใช้ซิกมาต้องเขียนให้ถูกต้องตามหลักคณิตศาสตร์ โดยอนุญาตให้ใช้ i ที่ปรากฏหลัง ได้ไม่เกิน2 ตัว เพราะไม่ต้องการให้มีการปรับรูปแบบการใช้ซิกมาหรือค่าที่เกิดจากการประยุกต์ มาประกอบกับ i เกินความจาเป็น และตัวเลขท่ีปรากฏอยู่กับ ต้องเป็นตัวเลขที่ได้จากโจทย์ท่ีสุ่มเท่านั้น และผลรวมต้องเป็นจานวนเตม็ บวก เชน่1) 5 55 2 × 15 = 30 (i i) 2i 2i i1 i1 iª 1 (ต้องมีตัวเลข 1 และ 5 ในโจทย์ทส่ี มุ่ ) = 555 5 (ixi) i 2 12 22 32 42 52 2) i1 i1 (ต้องมีตวั เลข 1 และ 5 ในโจทย์ที่ส่มุ ) 5 i3) i1 15 i i 1 2 3 ... 15 120 i 1 i 1 (ต้องมีตัวเลข 1 , 1 และ 5 ในโจทย์ทส่ี ่มุ ) n n i! ii และ สามารถใช้ n i 1 i i! i 1 i1 iการเขยี นแสดงวิธีคิดใหเ้ ขยี นแสดงความสมั พันธ์ของวธิ ีการและคาตอบในรูปของสมการเท่านัน้ เชน่สมุ่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 2 หลักตวั อยา่ งท่ี 1 โจทย์ที่ส่มุ ผลลพั ธ์ 0582 27 วิธคี ดิ 58 2 0 27 หรอื ( 58 2) 0 27ตัวอยา่ งที่ 2 โจทยท์ สี่ ุม่ ผลลัพธ์ 4837 69 วธิ คี ิด 7 4 8 3 69ศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครัง้ ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๕
สุม่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตวั เลข ผลลัพธ์ 3 หลกัตวั อยา่ งท่ี 1 โจทยท์ ่ีสมุ่ ผลลัพธ์ 18374 834 วธิ ีคดิ 7! ÷ (8 - 4 ) - (3! × 1) = (5,040 ÷ 6) - 6 = 834ตวั อย่างที่ 2 โจทยท์ สี่ มุ่ ผลลพั ธ์ 58376 326 วธิ ีคดิ (8!/5!) - (7 + 6 - 3) = 326 หรือ 6 38 7 5 326ตัวอยา่ งที่ 3 โจทยท์ ส่ี ุม่ ผลลพั ธ์ 85842 242 วิธคี ิด (5! × 2) + 4 + (8 - 8) = 242 หรือ (5! × 2) + 4 × ( 8 ) = 242 8 หรอื 28 – (8 + (5 - 4 )!) = 242 3.4.4 ขอ้ พึงระวงั ในการแขง่ ขัน 1) การคิดคานวณหาคาตอบต้องใช้เลขโดดท่ีสมุ่ เปน็ โจทย์ให้ครบทุกตัว และใช้ไดต้ วั ละ 1 ครั้งเท่าน้ัน 2) การใชเ้ ครือ่ งหมาย , , , ควรเขยี นให้ชดั เจน 2.1) การเขยี นเคร่ืองหมายบวก ให้เขียน + หา้ มเขียน 2.2) การเขียนเครือ่ งหมายคูณ ให้เขียน 2 3 หรือ (2)(3) หรือ 23 หา้ มเขยี น 23 2 3 2 3 2 3 2 3 2.3) การเขยี นเครือ่ งหมายหาร ให้เขียน 8 2 หรือ 8 หรอื 8/2 2 ห้ามเขียน 82 หรือ 8 2 3) กรณที ี่มีการใชว้ งเลบ็ ให้เขียนวงเล็บให้ชัดเจน จะใช้ ( ) หรือ หรือ กช่ี น้ั กไ็ ด้ ห้ามเขียน 4) การเขยี นเลขยกกาลงั ควรเขยี นใหช้ ัดเจน เช่น ( ) (23 4 = 84 หรือ 2 34 ) = 281 กรณที ี่ไมใ่ ส่วงเล็บจะคดิ ตามหลักคณิตศาสตร์ เชน่ 234 = 2(34) = 281 5) การเขยี นเครอ่ื งหมายอนั ดับทขี่ องราก ควรเขยี นใหช้ ดั เจน เช่น 9 8 2 , 12 8 = 2 , 4 9 3 6) การใช้ ตอ้ งเขยี นตวั เลขกากับไว้ตามหลกั การทางคณติ ศาสตร์ เชน่ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๖
7 1 2 3 4 5 6 7 28i1iหา้ มเขียน 7 1 2 3 4 5 6 7 284. เกณฑ์การให้คะแนน 4.1 ผ้ทู ่ีได้คาตอบเท่ากับผลลัพธท์ ก่ี าหนด และวิธีการถูกต้อง ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน 4.2 ถา้ ไมม่ ีผใู้ ดได้คาตอบเท่ากบั ผลลัพธ์ที่สมุ่ ได้ ผู้ที่ไดค้ าตอบใกลเ้ คยี งกับผลลัพธ์มากที่สดุ และวิธีการถกู ตอ้ ง เป็นผูไ้ ด้คะแนน ไม่ว่าผลลัพธ์ทีต่ อ้ งการจะเป็นกีห่ ลักก็ตาม (ผลลพั ธ์ที่ได้ตอ้ งเป็นจานวนเตม็เทา่ นน้ั )เช่น ตอ้ งการผลลัพธ์ 99 มีผูไ้ ด้คาตอบ 100 และ 98 ซง่ึ วธิ กี ารถกู ตอ้ งทั้ง 2 คาตอบ ไดค้ ะแนนท้งั คู่5. เกณฑ์การตดั สิน คณะกรรมการนาคะแนนรวมของรอบท่ี 1 และรอบที่ 2 มาคดิ เทียบกบั เกณฑ์การตัดสินดังน้ี รอ้ ยละ 80 - 100 ได้รับเกยี รตบิ ัตรระดับเหรยี ญทอง รอ้ ยละ 70 – 79 ได้รบั เกียรติบัตรระดับเหรียญเงนิ ร้อยละ 60 – 69 ได้รับเกียรติบัตรระดบั เหรียญทองแดง ตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 ได้รบั เกียรติบัตร เวน้ แต่กรรมการจะเหน็ เป็นอย่างอนื่ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถือเป็นสิน้ สุด6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน 6.1 ระดับประถมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขันจานวน 12 - 15 คน 6.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 – 3 และ ม.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขนัจานวน 12 - 18 คน คณุ สมบตั ิของคณะกรรมการ - เป็นศึกษานิเทศก์ทรี่ ับผิดชอบกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เปน็ ครผู สู้ อนที่มคี วามเชย่ี วชาญการสอนคณิตศาสตรห์ รือการใชโ้ ปรแกรม GSP - ผูท้ รงคณุ วฒุ ใิ นดา้ นคณิตศาสตร์ - กรรมการตอ้ งไม่ตัดสนิ ในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขนั - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาหรอื หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องอย่างหลากหลาย ขอ้ ควรคานึง - กรรมการควรใหข้ ้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรยี นที่ชนะในลาดับท่ี 1 – 3 - ถ้าจะมกี ารเฉลยคาตอบในแตล่ ะข้อให้เฉลยหลังจากการแขง่ ขันเสรจ็ สน้ิ เรียบร้อยแลว้เทา่ นน้ั7. สถานทที่ าการแขง่ ขัน 7.1 หอ้ งที่สามารถใชค้ อมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรม GSP ในการดาเนินการแข่งขนั ได้ 7.2 การแข่งขันในแต่ละระดับให้ใช้หอ้ งแขง่ ขันห้องเดียวเทา่ นนั้ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๒๗
8. การเขา้ แข่งขันระดับภาคและระดับชาติ 8.1 ให้ทีมท่ีเปน็ ตัวแทนของของเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาเข้าแขง่ ขันในระดบั ภาค ทกุ กจิ กรรมตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดบั เหรียญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ) ๘.๒ ในกรณแี ขง่ ขันระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาที่มีทีมชนะลาดับสงู สุดได้คะแนนเทา่ กนั และในระดับภาค มีมากกวา่ ๓ ทีม ให้พจิ ารณาคะแนนทีน่ กั เรียนแตล่ ะคนไดใ้ นการแขง่ ขันรอบที่ 2 นกั เรียนคนใดได้คะแนนมากกวา่ ให้เปน็ ผูช้ นะตามลาดับทีต่ ้องการ ถา้ ยงั เทา่ กนั อีกให้ดาเนินการดงั น้ี ระดับชาติ ใหจ้ ัดแขง่ ขนั ใหม่จานวน 5 ขอ้ โดยสุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3หลกั เวลาขอ้ ละ 20 วินาที หากนกั เรียนคนใดไดค้ ะแนนมากกว่าเป็นผชู้ นะ ถา้ คะแนนยงั เทา่ กันอีกจะดาเนินการแขง่ ขันข้อต่อข้อจนกวา่ จะไดผ้ ู้ชนะ ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษาและระดบั ภาค ใหเ้ ลอื กดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงตอ่ ไปน้ี 1. ใหจ้ ดั แขง่ ขันใหมจ่ านวน 5 ข้อ โดยสมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตวั เลข ผลลัพธ์ 3 หลกั ใช้ เวลาข้อละ 20 วนิ าที หากนักเรียนคนใดไดค้ ะแนนมากกวา่ เปน็ ผชู้ นะ ถ้าคะแนนยงั เท่ากันอีกจะดาเนนิ การแขง่ ขันข้อต่อข้อจนกว่าจะไดผ้ ู้ชนะ หรอื 2. ให้ดาเนนิ การแขง่ ขันรอบที่ 3 ตอ่ จาก รอบที่ 2 จานวน 10 ขอ้ ไวก้ ่อน โดยสุ่มเลขโดด เปน็ โจทย์ 5 ตวั เลข ผลลัพธ์ 3 หลัก ใช้เวลาขอ้ ละ 20 วินาที โดยจะตรวจให้คะแนน เพื่อตัดสินแบบข้อต่อข้อเฉพาะนกั เรยี นท่ีไดค้ ะแนนเท่ากันในรอบที่ 2 ถ้ายังหาผชู้ นะ ไม่ได้ใหใ้ ช้วิธีจบั สลาก (ใหน้ กั เรยี น ครู หรือตวั แทนท่ีไดร้ บั มอบหมายมาจบั สลาก) ผลการตดั สินของคณะกรรมการถือเปน็ สน้ิ สดุหมายเหตุ 1. ไม่อนุญาตใหน้ าเครื่องคิดเลขหรืออปุ กรณช์ ว่ ยในการคานวณอื่นๆ เข้าไปในห้องแข่งขัน 2. นกั เรยี นทเ่ี ป็นตัวแทนเข้าร่วมแข่งขนั ระดบั ชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกับผู้ทไ่ี ดร้ บั การคดั เลือก จากระดบั ภาค และระดบั เขตพนื้ ที่เท่านน้ั 3. การสุ่มเลขโดด สามารถดาวน์โหลดไดท้ ่ี http://www.sillapa.net/rule59/mathGSP.gsp (โดยต้องเปดิ ดว้ ยโปรแกรม GSP version 4.0 เทา่ นัน้ )๙. การเผยแพรผ่ ลงานท่ีได้รบั รางวัล ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ในเวบ็ ไซต์ต่อไปซง่ึ ผลงานของผแู้ ข่งขัน ถือเป็นลิขสิทธขิ์ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่อื ใชใ้ นการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๘
6. การตอ่ สมการคณติ ศาสตร์ (เอแม็ท)1. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แขง่ ขัน1.1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ประเภททมี จานวน 2 คน (ครผู ู้ฝกึ สอน 2 คน) จานวน 2 คน (ครูผู้ฝึกสอน 2 คน)1.2 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 (ขยายโอกาส) ประเภททมี จานวน 2 คน (ครผู ู้ฝกึ สอน 2 คน) จานวน 1 คน (ครผู ู้ฝกึ สอน ๑ คน)1.3 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 (สามัญ) ประเภททีม1.4 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6 ประเภทเดีย่ ว2. วิธดี าเนินการแขง่ ขัน จานวนเกม/รอบ 2.1 ระดับเขต 2.1.1 โรงเรียนสง่ รายช่อื นกั เรยี นผูเ้ ขา้ แขง่ ขันตามประเภทท่กี าหนด 2.1.2 ระยะเวลาดาเนินการแข่งขนั 1 วนั 2.1.3 เขตท่มี จี านวนทีมเข้ารว่ มการแข่งขัน 2 ทมี กาหนดใหท้ ั้ง 2 ทีมมาแข่งในรอบตัดสนิ 2 เกมโดยไมต่ อ้ งมรี อบคัดเลือก และผลดั กนั เร่ิมตน้ เกมกอ่ น - หลัง เพอ่ื ความยุติธรรม 2.1.4 เเขตทม่ี ีจานวนทีมเข้ารว่ มการแขง่ ขัน 3 – 6 ทีม กาหนดใหท้ ุกทีมแข่งขันกันในรอบคดั เลือกแบบพบกนั หมด (Round Robin) ตามระบบการแขง่ ขันสากล ในกรณที มี่ ีทีมแข่งขนั ไม่มากและสามารถจัดแข่งแบบพบกันหมดไดใ้ นเวลาท่กี าหนด แต่ละทีมจะได้แข่งขนั กับคู่แข่งขนั ทุกโรงเรยี น จากน้นั นาทีมที่มีผลคะแนนดีที่สดุ 2 ลาดับแรก เขา้ สรู่ อบชงิ ชนะเลศิ โดยทาการแข่งขนั รอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม และผลัดกันเร่ิมต้นเกมก่อน- หลงั เพื่อความยตุ ธิ รรม 2.1.5 เขตท่มี จี านวนทมี เข้ารว่ มการแข่งขนั ต้ังแต่ 7 ทีมข้นึ ไป กาหนดให้ทกุ ทมี แข่งรอบคัดเลือกโดยใชร้ ะบบแพริง่ แบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบการแขง่ ขนั สากล รอบคดั เลือกจานวน 5 เกม และรอบชิงชนะเลศิ 2 เกม โดยดาเนินการแข่งขันตามโปรแกรม ดงั นี้ เกมท่ี 1 กรรมการประกบคแู่ ข่งขนั แบบสุ่ม (Random) ด้วยวิธีจบั สลาก เมอ่ื แข่งขนั เสร็จใหบ้ นั ทกึ ผลการแข่งขันในใบมาสเตอร์ สกอรก์ าร์ด และส่งกรรมการ กรรมการจดั ลาดับคะแนน เกมท่ี 2 - 5 กรรมการประกบคกู่ ารแข่งขันแบบ King of the Hill ในทกุ รอบ โดยนาผู้เขา้ แขง่ ขันท่ีมีลาดบั คะแนนหลงั จากจบเกมก่อนหน้านี้ มาประกบคู่ใหม่ ให้ทมี ที่มลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่อื ยๆ หลังจบการแข่งขนั ในแตล่ ะเกม ใหผ้ ู้เข้าแข่งขนั บนั ทกึ ผลการแข่งขันในใบมาสเตอร์ สกอร์การ์ด และส่งกรรมการ (หลงั จบการแข่งขนั ในแตล่ ะรอบ กรรมการต้องเรยี งลาดับคะแนนใหมท่ ุกคร้งั ) จากนน้ั นาทมี ท่ีมีผลคะแนนดีท่สี ดุ 2 ลาดบั แรก ในรอบคัดเลือก เข้าสูร่ อบชงิ ชนะเลศิ โดยทาการแขง่ ขนั รอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม และผลัดกันเริ่มต้นเกมก่อน - หลงั เพ่ือความยุติธรรม 2.1.6 หากมที มี ที่เข้าสู่รอบชงิ ชนะเลศิ แน่นอนแล้ว ตัง้ แตก่ ่อนจบการแขง่ ขนั รอบคัดเลอื ก จะใชร้ ะบบGibsonize โดยไม่ต้องเลน่ เกมทเี่ หลือ 2.1.7 ตวั แทน 1 ทีมเขา้ สรู่ อบระดบั ภาค 2.1.8 โปรแกรมจัดอนั ดับและประกบคู่อตั โนมตั ิ สามารถดาวนโ์ หลดได้ท่เี ฟซบุค๊ กลุ่มเอแมท็ งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น https://www.facebook.com/groups/413508119031182/ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๙
2.2 ระดับภาค 2.2.1 ทีมที่ได้เป็นตวั แทนของเขตพื้นท่กี ารศึกษาเข้าแข่งขันในระดับภาค 2.2.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแข่งขนั 1 วัน2.2.3 กาหนดใหท้ ุกทีมแข่งรอบคัดเลือกโดยใชร้ ะบบแพริ่งแบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบการแข่งขันสากล รอบคดั เลือกจานวน 6 เกม และรอบชิงชนะเลศิ 2 เกม โดยดาเนนิ การแขง่ ขันตามโปรแกรมดงั นี้ เกมที่ 1 กรรมการประกบคแู่ ขง่ ขนั แบบสุ่ม (Random) ดว้ ยวิธจี ับสลาก โดยจดั เป็นกล่มุ โตะ๊ ละ 4 ทีม เกมท่ี 2 หลังจบการแข่งขันเกมท่ี 1 ให้ผู้เข้าแขง่ ขันสลบั คู่แข่งขนั โดยผชู้ นะจะแข่งกบั ผู้ชนะที่อยูใ่ นกลมุ่ โตะ๊ เดียวกัน และทีมทเ่ี หลอื อกี 2 ทีม(ผแู้ พ)้ ในกลุ่มโต๊ะนั้นจะมาแขง่ กัน จบเกมให้ส่งใบบนั ทกึ ผลการแขง่ ขนั (ใบมาสเตอรส์ กอรก์ ารด์ ) จากนั้นให้กรรมการจดั เรียงอนั ดับตามผลการแข่งขัน เพ่ือประกบคกู่ ารแขง่ ขนั ในเกมท่ี 3 เกมท่ี 3 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขันแบบ King of the Hill โดยนาผเู้ ข้าแข่งขันทมี่ ีลาดบั คะแนนหลงั จากจบเกมท่ี 2 มาประกบคใู่ หม่ ให้ทีมที่มลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ10.........ไปเรือ่ ยๆ เกมท่ี 4 หลังจบการแข่งขนั เกมที่ 3 ให้ผู้เข้าแข่งขันสลบั คู่แข่งขัน โดยผ้ชู นะจะแข่งกบั ผู้ชนะท่ีอยูใ่ นกลมุ่ โต๊ะเดยี วกัน และทีมทเี่ หลืออกี 2 ทีม(ผแู้ พ)้ ในกลุ่มโตะ๊ นั้นจะมาแข่งกัน จบเกมใหส้ ่งใบบันทกึ ผลการแขง่ ขนั (ใบมาสเตอร์สกอรก์ ารด์ ) จากนัน้ ให้กรรมการจัดเรียงอันดบั ตามผลการแข่งขัน เพ่อื ประกบคูก่ ารแขง่ ขนั ในเกมท่ี 3 เกมที่ 5 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขันแบบ King of the Hill โดยนาผู้เขา้ แขง่ ขันท่ีมีลาดบั คะแนนหลังจากจบเกมท่ี 2 มาประกบคใู่ หม่ ใหท้ ีมที่มลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ10.........ไปเรือ่ ยๆ จบเกมให้ส่งใบบนั ทึกผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอรส์ กอรก์ าร์ด) เกมที่ 6 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขันแบบ King of the Hill โดยนาผ้เู ข้าแข่งขนั ท่ีมีลาดบั คะแนนหลงั จากจบเกมที่ 2 มาประกบค่ใู หม่ ใหท้ ีมทมี่ ลี าดับคะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ10.........ไปเรื่อยๆ จบเกมให้สง่ ใบบันทกึ ผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอรส์ กอร์การด์ ) จากนัน้ นาทมี ที่มีผลคะแนนดีทสี่ ุด 2 ลาดบั แรก ในรอบคดั เลือก ( 6 เกม ) เข้าสรู่ อบชิงชนะเลิศ และทีมทม่ี ีคะแนนท่ี 3 และ 4 เขา้ สูร่ อบรอบชิงอันดับที่ 3 โดยทาการแขง่ ขนั 2 เกม และผลัดกนั เร่ิมตน้ เกมก่อน -หลัง เพื่อความยุติธรรม 2.2.4 หากมีทีมที่เขา้ สรู่ อบชิงชนะเลศิ แนน่ อนแล้ว ตั้งแต่ก่อนจบการแข่งขันรอบคัดเลือก จะใชร้ ะบบGibsonize โดยไมต่ ้องเล่นเกมที่เหลือ 2.2.5 ตวั แทน 3 ทมี เข้าสูร่ อบระดบั ชาติ 2.3 ระดับชาติ 2.3.1 ทมี ทีไ่ ด้เป็นตวั แทนของภาคเขา้ แข่งขนั ในระดบั ชาติ 2.3.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแขง่ ขัน 2 วัน 2.3.3 กาหนดใหท้ กุ ทีมทเี่ ขา้ แขง่ ขนั จะต้องแข่งรอบคดั เลือกโดยใช้ระบบพบกันหมด (round robin)จานวน 11 เกม หลงั จากจบเกมท่ี 11 ใหผ้ เู้ ขา้ แขง่ ขันส่งใบบันทึกผลการแขง่ ขัน (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด)จากน้นั ให้กรรมการจัดเรยี งอันดบั ตามผลการแข่งขัน เพอ่ื ประกบคู่การแข่งขันในเกมท่ี 12 และ 13ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๓๐
เกมท่ี 12 กรรมการประกบคู่แข่งขนั แบบเรยี งลาดับ - king of the hill จากผลการแข่งขันเกมที่ 11จบเกมให้สง่ ใบบันทกึ ผลการแข่งขนั (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) เกมที่ 13 กรรมการประกบคู่แข่งขนั แบบเรียงลาดับ - king of the hill จากผลการแขง่ ขนั เกมที่ 12จบเกมให้ส่งใบบันทกึ ผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) จากนัน้ นาทีมที่มผี ลคะแนนดีที่สดุ 2 ลาดับแรก ในรอบคดั เลอื ก เข้าส่รู อบชงิ ชนะเลิศ และทมี ทีม่ ีคะแนนที่ 3 และ 4 เข้าสรู่ อบรอบชงิ อันดับท่ี 3 โดยทาการแข่งขนั 2 เกม และผลัดกันเรมิ่ ตน้ เกมก่อน - หลงัเพ่อื ความยตุ ธิ รรม 2.3.4 หากมีทมี ที่เข้าสู่รอบชิงชนะเลศิ แนน่ อนแล้ว ตัง้ แตก่ ่อนจบการแข่งขันรอบคัดเลือก จะใชร้ ะบบGibsonize โดยไม่ต้องเล่นเกมที่เหลือ3. เกณฑ์การตดั สินร้อยละ 80-100 ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทองรอ้ ยละ 70-79 ได้รบั รางวลั ระดบั เหรียญเงนิร้อยละ 60-69 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทองแดงต่ากว่าร้อยละ 60 ได้รบั เกียรติบตั ร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเปน็ อยา่ งอื่นผลการตดั สินของคณะกรรมการถือเปน็ สิน้ สุด4. คณะกรรมการตดั สนิ การแขง่ ขนั เป็นผทู้ รงคณุ วุฒิ วิทยากร นักกฬี าทม่ี ีความรู้ ความยตุ ิธรรม มคี วามเข้าใจในระบบการแข่งขนัตลอดจนกฎและกติกาการแข่งขนั เป็นอย่างดี ไมจ่ าเปน็ ต้องเป็นครเู ฉพาะในกลมุ่ สาระภาษาต่างประเทศ 4.1 กรรมการระดับเขตพน้ื ท่ี ให้แต่ละเขตพนื้ ท่ีสรรหากรรมการในเขตทร่ี ับผดิ ชอบหรือใกล้เคียงเพ่ือดาเนนิ การตัดสนิ จากคุณสมบัตเิ บอ้ื งตน้ ตามความเหมาะสม หมายเหต*ุ ครทู ่ีมีนกั เรยี นเข้าแข่งขันในรุ่นนนั้ ๆ สามารถท่ีจะร่วมเปน็ กรรมการตัดสนิ ในรุ่นนัน้ ได้ แต่ไมส่ ามารถตดั สินชี้ขาดในเกมทน่ี ักเรียนของตนแขง่ ขันได้ ต้องใหก้ รรมการจากโรงเรยี นอื่นเปน็ ผตู้ ัดสิน 4.2 กรรมการระดบั ภาค สว่ นกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตัดสนิ ในแต่ละภาคให้บางสว่ น เพือ่ เปน็กรรมการหลกั ในการตัดสนิ ไม่ให้เกดิ ขอ้ ผิดพลาด เพ่ือให้การจัดการแข่งขนั มีประสทิ ธิภาพ และเกิดปญั หาน้อยทส่ี ดุ ส่วนกรรมการดาเนนิ การจดั การแขง่ ขนั ใหผ้ ้รู ับผิดชอบระดับภาคของแต่ละภาคประสานงานและสรรหาตามความเหมาะสม 4.3 กรรมการระดับชาติ สว่ นกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตดั สนิ5. กตกิ าเพิม่ เตมิ 5.1 กฎและกติกาการแข่งขัน ใชก้ ฎและกติกาการแข่งขันของสมาคมครอสเวิรด์ เอแมท็ คาคม และซูโดกุแห่งประเทศไทย 5.2 อปุ กรณใ์ นการแข่งขัน ผ้เู ขา้ แขง่ ขันทกุ ทมี จะตอ้ งเตรียมอุปกรณใ์ นการแข่งขันมาเอง ได้แก่ กระดานที่ใชใ้ นการแข่งขัน, แป้นวางเบย้ี , ตวั เบยี้ และเบ้ยี สารอง (กรณีตัวเบ้ยี หาย) โดยทาสญั ลกั ษณ์ เครอ่ื งหมาย หรือเขยี นชื่อโรงเรยี นให้เรียบร้อย เพอ่ื ใช้ในการแข่งขนั 5.2.1. รุ่นประถมศึกษาใช้อุปกรณก์ ารแขง่ รุ่นประถมศกึ ษา กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบย้ี 70 ตวั ) 5.2.2 รุ่นมธั ยมศกึ ษา ใช้อปุ กรณก์ ารแข่งขันรุ่นมาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ชอ่ ง (เบ้ีย 100 ตัว)ศิลปหัตถกรรมนกั เรียนครัง้ ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๑
5.3 เวลาในการแขง่ ขัน 5.1 กฎและกตกิ าการแขง่ ขัน ใช้กฎและกติกาการแขง่ ขนั ของสมาคมครอสเวิร์ด เอแม็ท คาคมและซูโดกแุ หง่ ประเทศไทย 5.2 อปุ กรณใ์ นการแข่งขัน ผู้เขา้ แขง่ ขนั ทุกทมี จะต้องเตรยี มอุปกรณ์ในการแข่งขนั มาเอง ไดแ้ ก่กระดานที่ใช้ในการแขง่ ขัน, แป้นวางเบ้ยี , ตวั เบยี้ และเบ้ียสารอง (กรณีตวั เบ้ียหาย) โดยทาสัญลักษณ์เครื่องหมาย หรอื เขียนชื่อโรงเรยี นใหเ้ รยี บรอ้ ย เพอื่ ใชใ้ นการแขง่ ขนั 5.2.1. รุ่นประถมศึกษาใช้อปุ กรณก์ ารแขง่ ร่นุ ประถมศึกษา กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบ้ีย 70 ตัว) 5.2.2 รุน่ มธั ยมศึกษา ใช้อปุ กรณก์ ารแข่งขันรุ่นมาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบีย้ 100 ตัว) 5.3 เวลาในการแขง่ ขนั 5.3.1 ใช้เวลาแข่งขนั ฝั่งละ 22 นาที โดยใช้นาฬิกาจับเวลาแบบเปล่ียนสลบั (Switch Toggle) หรอืChess Clock ทุกเกม เพ่ือป้องกนั ปัญหาความล่าชา้ ในการเลน่ การตดั เกม และการถ่วงเวลา 5.3.2 หากไมม่ ีนาฬิกาใหใ้ ช้แทบ็ เล็ตพซี ีหรือสมาร์ทโฟน (แนะนาให้ใชร้ ะบบ Android) โดยติดตง้ัแอพพลิเคชัน่ สาหรบั จบั เวลาเพมิ่ เติม ซึ่งสามารถดาวนโ์ หลดแอพพลเิ คช่ันลงบนแท็บเลต็ พีซีหรอื สมาร์ทโฟนเพือ่ นามาใชจ้ ับเวลาได้ โดยพิมพค์ น้ หาใน App Store คาว่า “Scrabble Clock” หรือ “Chess Clock” ฯลฯ 5.3.3 ผ้เู ขา้ แขง่ สามารถนาสมาร์ทโฟนที่มีโปรแกรมนาฬิกาจับเวลามาใชใ้ นการแขง่ ขันได้ ค่แู ขง่ ขนัสามารถตรวจสอบและทดสอบการใชง้ านของนาฬกิ าทค่ี ูต่ ่อสู้เตรียมมาก่อนได้ 5.3.4 ก่อนแข่งใหต้ รวจสอบแบตเตอรี่ทเี่ หลอื ก่อนใช้ทุกครั้ง เพ่อื ป้องกนั เครื่องดบั ระหว่างแขง่ ขนั 5.3.5 เมอ่ื ผ้เู ข้าแขง่ ขนั ฝา่ ยใดฝ่ายหนง่ึ ร้องขอให้มีการใช้นาฬกิ าในเกมนั้น ค่ตู ่อสู้ไม่มสี ิทธปิ ฏิเสธหรือเลย่ี งการใชน้ าฬิกาได้ 5.3.6 หากมผี ูเ้ ลน่ ใชเ้ วลาเกนิ จะถกู หักคะแนนนาทีละ 10 คะแนน เศษวนิ าทจี ะถูกนับเปน็ 1 นาทีตัวอยา่ งเชน่ นาย A ใชเ้ วลาตดิ ลบ -3.18 นาที จะถอื วา่ นาย A ใช้เวลาเกนิ 4 นาที และจะถูกหักคะแนน 40คะแนน ตามกฎ (นาฬิกาทใ่ี ช้ต้องตง้ั ค่าโปรแกรมให้เวลาตดิ ลบได)้ ผู้เล่นควรฝกึ การใช้นาฬิกาจับเวลาใหช้ านาญกอ่ นแข่งเพอื่ ให้การแขง่ ขนั เป็นไปตามมาตรฐานสากล 5.3.7 หา้ มกรรมการตัดสินทาการตัดเกมการแขง่ ขัน ต้องใหผ้ ู้เข้าแขง่ ขันเล่นจนจบเกมเทา่ น้นั หากมีการตดั เกมการแขง่ ขัน ผ้ฝู กึ สอนหรือผู้เขา้ แข่งขนั สามารถประท้วงกรรมการผตู้ ดั สนิ ได้ หรือหากต้องมกี ารตดัเกมจรงิ ต้องได้รับการยนิ ยอมจากผเู้ ขา้ แข่งขนั และผูฝ้ ึกสอนเช่นกนั 5.3.8 กรณไี มใ่ ชน้ าฬิกา กรรมการตอ้ งชแ้ี จงเงื่อนไขกบั ผู้เข้าแข่งขันและครูผูฝ้ ึกสอนก่อนเร่ิมการแขง่ ขัน และต้องไดร้ ับการยินยอมจากทกุ ฝา่ ย และบริหารจัดการเวลาในการแข่งขันอย่างเหมาะสม 5.4 การขอตรวจสมการ (Challenge) 5.4.1 ผู้เลน่ จะสามารถขอตรวจสมการไดก้ ็ต่อเมื่อคตู่ อ่ สู้ขานแต้มและกดเวลาแล้วเท่านั้น หากคตู่ ่อสู้ยังไม่ขานแต้มและไมก่ ดเวลาการขอชาเลน้ จ์ไมเ่ ป็นผล 5.4.2 การขอโฮลด์ (Hold) ในกรณีขอพิจารณาสมการท่คี ู่แข่งขนั ลง คแู่ ข่งขันจะยังไมส่ ามารถจบั เบย้ีขึ้นมาเพิม่ ได้ จนกว่าคแู่ ข่งขันท่ีขอโฮลดย์ อมรบั สมการน้ันๆ (เวลาในการขอโฮลด์ ไม่เกิน 1 นาที) 5.5 คะแนนในแต่ละเกม ทมี ท่ีชนะจะได้ 2 คะแนน , เสมอได้ทีมละ 1 คะแนน และแพ้ได้ 0 คะแนน 5.6 การจัดอนั ดับคะแนน ให้นับคะแนนรวมจากเกมที่ชนะ และเสมอ ก่อนเปน็ ลาดบั แรก หากคะแนนเทา่ กนั ให้ใชแ้ ตม้ ผลต่างสะสม (Difference) เป็นตัวตดั สิน 5.7 แต้มผลต่างสูงสุดต่อเกม Maximum Differenceศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนคร้ังท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๓๒
5.7.1 เอแม็ทรุ่นประถมศกึ ษา แตม้ ตา่ งสงู สุดไมเ่ กิน 150 แต้ม ถ้าเกินกวา่ น้นั ให้ปัดลงเหลือ 150แต้ม เฉพาะเกมสุดท้ายแต้มต่างไม่เกนิ 120 แต้ม ถา้ เกนิ ใหป้ ัดลงเหลือ 120 แต้ม 5.7.2 เอแม็ทรุ่นมธั ยมศึกษา แต้มต่างสงู สดุ ไม่เกิน 250 แต้ม ถา้ เกนิ กว่านั้นให้ปดั ลงเหลือ 250 แต้มเฉพาะเกมสดุ ท้ายแต้มต่างไมเ่ กนิ 200 แตม้ ถ้าเกนิ ให้ปัดลงเหลือ 200 แตม้ 5.7.3 รอบชงิ ชนะเลศิ ไม่มี Maximum Difference 5.7.4 ชนะบาย (Bye) ในกรณที ่ไี ม่มคี ู่แข่งขันผเู้ ข้าแขง่ ขนั จะได้ชนะในเกมนน้ั ๆ เอแมท็ รนุ่ประถมศกึ ษาจะได้คะแนนสะสม 80 แต้ม มัธยมศกึ ษาได้ 100 แต้ม 5.8 การหยุดเกม ในกรณที ่ีจาเปน็ ตอ้ งหยุดเกมต้องไม่มีการคดิ สมการ และให้คว่าเบี้ยทุกครัง้ เช่นตรวจสอบคะแนนใหต้ รงกัน , ตัวเบยี้ ชารุด(ให้เรียกกรรมการเท่านน้ั ) เปน็ ตน้ หมายเหตุ ไม่อนุญาตใหผ้ เู้ ข้าแขง่ ขันเขา้ ห้องน้าหรือลุกจากโตะ๊ แขง่ ขันระหวา่ งการแข่งขัน ต้องทากิจธรุ ะใหแ้ ลว้ เสรจ็ ก่อนเริ่มการแข่งขันในแต่ละเกม 5.9 ห้ามเล่นเคร่ืองมือสือ่ สาร ใสห่ ูฟัง หรอื คุยโทรศพั ท์ขณะแข่งขนั 5.10 ให้จับถุงเบ้ียในระดับสายตาหรือให้พ้นสายตา จับเบีย้ ให้ครบและวางเบยี้ ทจี่ บั ลงบนโต๊ะก่อนใส่ในแปน้ วางเบี้ยเท่าน้นั ห้ามวางถุงเบย้ี บนโต๊ะแลว้ จบั เบีย้ หา้ มจับเบ้ียใต้โต๊ะ หรอื เปิดเบี้ยดใู ตโ้ ตะ๊ ตามกฎกตกิ าและมารยาทในการแขง่ ขนั ผเู้ ล่นฝ่ายตรงข้ามสามารถตักเตือนไดห้ ากผ้เู ล่นอีกฝ่ายมีพฤตกิ รรมดังกลา่ วและสามารถเรยี กกรรมการมาตกั เตือนหากยงั ทาซา้ เมื่อจับเบีย้ เสรจ็ แล้ว ใหร้ ดู เชือกปิดถุงเบีย้ ใหเ้ รียบร้อย 5.11 การทุจริตในการแขง่ ขัน ผ้เู ข้าแขง่ ขนั ท่ีทุจรติ ในการแขง่ ขันจะถูกปรับแพใ้ นเกมนัน้ ๆ ไมใ่ ห้รบัรางวัล หรือให้ออกจากการแขง่ ขัน และโรงเรยี นจะถูกตัดสิทธ์จิ ากการแข่งข้นั ในปถี ัดไปสาหรับกิจกรรมดงั กลา่ ว ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของกรรมการตัดสิน 5.12 ผฝู้ กึ สอนสามารถเขา้ ในบรเิ วณสนามแข่งขนั ได้ โดยต้องเว้นระยะห่างจากโตะ๊ ทน่ี ักเรียนของตนแขง่ ขนั อย่างน้อย 3 เมตร (กรรมการอาจจดั พืน้ ท่สี าหรับผูฝ้ กึ สอนบรเิ วณสนามแขง่ ขนั ) และไมส่ ่งเสียงดังหรือรบกวนสมาธิของผเู้ ขา้ แข่งขนั รวมถึงรบกวนการทาหน้าท่ีตดั สนิ ของกรรมการ ผูฝ้ ึกสอนสามารถพูดคุยแนะนานกั เรยี นของตนไดห้ ลังจบการแข่งขนั แตล่ ะเกมเทา่ นั้น ไมส่ ามารถแนะนาระหวา่ งทาการแข่งขันได้ หากเกดิ ปญั หาในการแข่งขนั สามารถขอฟงั คาชีแ้ จงจากกรรมการได้ เพ่ือใหเ้ กิดความกระจ่างในการแขง่ ขนั 5.13 กตกิ าและมารยาทในการแขง่ ขันเพ่ิมเติม สามารถศึกษาไดจ้ ากแหล่งข้อมูลด้านล่าง กลุ่มเอแม็ท งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น https://www.facebook.com/groups/413508119031182/ เพจครอสเวริ ด์ เอแม็ท คาคม งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน https://www.facebook.com/Crossword.AMath.Kumkom/ กลุ่มกิจกรรมการตอ่ สมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) นายรววั ฒั น์ วุฒิไชยา โทร 089-941-5944 นายธวชั ชัย ธีรอาภรณ์ โทร 083-089-5840 นายศาตรา อทุ ัยโรจนรัตน์ โทร 098-831-0646ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๓๓
7. การแขง่ ขันซโู ดกุ1. ประเภทและจานวนผ้เู ข้าแข่งขนั1.1 แขง่ ขนั ประเภทเด่ยี ว1.2 จานวนผเู้ ขา้ แขง่ ขนั1) นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จานวน 1 คน2) นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส) จานวน 1 คน3) นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 (สามญั ) จานวน 1 คน4) นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 จานวน 1 คน2. วิธดี าเนนิ การ และรายละเอยี ดหลักเกณฑก์ ารแข่งขัน2.1 ระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษาให้ตัวแทนนกั เรยี นแตล่ ะโรงเรียนเข้ารว่ มแขง่ ขนั ทั้งหมด 2 รอบๆ ละ 60 นาที ใช้โจทยป์ ริศนา 10ขอ้ ตามรูปแบบที่กาหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทั้งสองรอบจะใช้โจทย์ปรศิ นรูปแบบเดยี วกัน ผ้เู ข้าแขง่ ขนั ท่ีไดค้ ะแนนสงู สดุ จะไดร้ ับการคัดเลือกเป็นตวั แทนระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา เขา้ สู่การแข่งขนั ระดบั ภาคต่อไป2.2 ระดับภาคให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาแขง่ ขันท้ังหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทย์ปรศิ นา10 ข้อตามรูปแบบที่กาหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทง้ั สองรอบจะใชโ้ จทย์ปริศนารูปแบบเดียวกนั ผู้เข้าแขง่ ขนั ที่ได้คะแนนสูงสดุ 3 ลาดับแรก จะไดร้ ับการคัดเลือกเปน็ ตัวแทนระดับภาค เขา้ สู่การแข่งขนั ระดับชาติตอ่ ไป2.3 ระดับชาติใหต้ วั แทนนกั เรยี นแตล่ ะภาค แข่งขนั ท้งั หมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใช้โจทย์ปรศิ นา 10 ข้อ ตามรูปแบบท่ีกาหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทั้งสองรอบจะใช้โจทยป์ รศิ นารปู แบบเดียวกนัผู้เขา้ แข่งขนั ท่ีได้คะแนนสงู ทีส่ ุด 2 อันดบั แรกเข้าสู่รอบชงิ ชนะเลศิ และผเู้ ข้าแข่งที่ได้คะแนนอันดับท่ี 3 และ 4จะเขา้ สูร่ อบชงิ อนั ดับที่ 32.4 การแข่งขนั รอบชิงชนะเลิศในการแข่งขันระดับชาติให้ตัวแทนนกั เรยี นท่ีได้คะแนนสงู ที่สุด 2 อันดบั แรก แขง่ ขันรอบชงิ ชนะเลศิ และตัวแทนนักเรียนทไ่ี ด้คะแนนอันดับที่ 3 และ 4 แข่งขันรอบชงิ อนั ดบั ที่ 3 โดยแข่งขนั ทั้งหมด 3 รอบ ๆ ละ 10 นาที ใชโ้ จทย์ปริศนา 1 ขอ้ นกั เรียนท่สี ามารถทาโจทย์ได้ถกู ตอ้ งและทาเสร็จเปน็ ลาดบั ที่ 1 จะไดร้ ับ 1 คะแนน หากนักเรยี นคนใดได้ 2 คะแนนก่อน ถือเปน็ ผทู้ ีไ่ ด้รบั รางวลั ชนะเลศิ และ รางวัลรองชนะเลศิ อันดับท่ี 2ตามลาดับ2.5 รปู แบบปริศนาซโู ดกุที่ใชใ้ นการแข่งขัน 2.5.1 ระดับประถมศกึ ษา ประกอบดว้ ยปรศิ นาซโู ดกุทัง้ หมด 10 รูปแบบ ดงั นี้ 1. 6 x 6 Classic Sudoku 6. 9 x 9 Classic Sudoku 2. 6 x 6 Alphabet Sudoku 7. 9 x 9 Alphabet Sudoku 3. 6 x 6 Diagonal Sudoku 8. 9 x 9 Diagonal Sudokuศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครัง้ ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๓๔
4. 6 x 6 Jigsaw Sudoku 9. 9 x 9 Jigsaw Sudoku5. 6 x 6 Thai Alphabet Sudoku 10. 9 x 9 Even-Odd Sudoku2.5.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาประกอบด้วยปริศนาซโู ดกุตาราง 9 x 9 ทัง้ หมด 10 รปู แบบ ดงั นี้1. Classic Sudoku 6. Consecutive Sudoku2. Diagonal Sudoku 7. Asterisk Sudoku3. Alphabet Sudoku 8. Thai Alphabet Sudoku4. Jigsaw Sudoku 9. Diagonal Jigsaw Sudoku5. Even-Odd Sudoku 10. Windoku Sudoku3. กติกาการแข่งขนั และวิธีการนบั คะแนนซูโดกุ 3.1 ให้ตวั แทนนกั เรียนแข่งขันท้ังหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทย์ปริศนา 10 รปู แบบ รูปแบบละ1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทงั้ สองรอบจะใช้โจทยป์ รศิ นารปู แบบเดยี วกัน 3.2 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาซูโดกุได้ภายในเวลาที่กาหนด และถูกต้อง จะได้รับคะแนนประจาโจทย์ปรศิ นา ขอ้ ละ 10 คะแนน หากทาปรศิ นาไม่ถูกตอ้ ง สามารถทาผิดได้ขอ้ ละ 2 ชอ่ งเท่าน้ันโดยจะหักคะแนนช่องละ 3 คะแนน 3.3 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาท้ังหมดได้ถูกต้องภายในเวลาท่ีกาหนดในแต่ละรอบ(รวมถึงปรศิ นาท่ีผิดไม่เกิน 2 ช่อง) จะได้รับคะแนนโบนัสเวลาเพิ่มนาทีละ 3 คะแนน โดยคานวณจากเวลาท่ีเหลืออยู่เป็นนาที (เศษของนาทีปัดท้ิง) คูณด้วย 3 (ถ้าแก้โจทย์ปริศนาไม่ถูกต้อง และผิดเกิน 2 ช่อง ตั้งแต่ 1ตารางขึ้นไป จะไม่ได้รับคะแนนโบนัส) ตัวอย่างการคิดคะแนนโบนัสเวลา เช่น ถ้ากาหนดเวลาในรอบให้ 30นาที แต่นาย Z ทาเสร็จและถกู ต้องภายในเวลา 20 นาที 40 วนิ าที นาย Z จะได้คะแนนโบนัสเวลาในรอบน้ีเทา่ กบั 9 นาที x 3 คะแนนต่อนาที = คะแนนโบนัสเวลา 27 คะแนน4. เกณฑก์ ารตัดสนิ ร้อยละ 80-100 ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรียญทอง ร้อยละ 70-79 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรยี ญเงิน รอ้ ยละ 60-69 ได้รบั รางวัลระดบั เหรียญทองแดง ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60 ไดร้ ับเกียรตบิ ัตร เวน้ แต่กรรมการจะเหน็ เปน็ อย่างอนื่ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปน็ ส้นิ สุด5. สถานท่จี ดั การแข่งขนั ควรใชห้ ้องเรียนท่ีมโี ต๊ะ เก้าอี้ ทสี่ ามารถดาเนนิ การแขง่ ขันไดพ้ รอ้ มกนั6. การเข้าแขง่ ขันระดับภาคและระดับชาติ 6.1 ให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทมี ที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแขง่ ขันในระดับชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป)ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๕
6.2 ในกรณีแข่งขนั ระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ท่ีมีผู้ชนะลาดับสูงสุดไดค้ ะแนนเท่ากนั และในระดับภาคมมี ากกว่า ๓ คน ให้ใชโ้ จทยป์ รศิ นาซูโดกุสารอง รูปแบบ 9x9 Classic 1 ตาราง ใช้เวลา 10 นาที ตัวแทนนกั เรียนท่สี ามารถทาโจทยไ์ ด้ถูกต้องและทาเสร็จเป็นลาดบั ท่ี 1 ถือเป็นผ้ชู นะตวั อย่างโจทย์ปรศิ นาซโู ดกทุ ใ่ี ชใ้ นการแข่งขัน6 x 6 Classic Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในช่องว่างไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 2x36 x 6 Alphabet Sudokuเตมิ ตวั อกั ษร A ถงึ F ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด2x3ศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๖
6 x 6 Diagonal Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในช่องว่างไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางย่อยขนาด 2x3 และแนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้6 x 6 Jigsaw Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในช่องวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบดว้ ยเสน้ สดี าหนาศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๓๗
6 x 6 Thai Alphabet Sudokuเตมิ ตวั อกั ษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ ไมใ่ หซ้ า้ กนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 2 x 39 x 9 Classic Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งว่างไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3x3ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียนครงั้ ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๘
9 x 9 Alphabet Sudokuเตมิ ตวั อกั ษร A ถงึ I ลงในช่องวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด3x39 x 9 Diagonal Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องว่างไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และแนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๙
9 x 9 Jigsaw Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบดว้ ยเสน้ สดี าหนา9 x 9 Odd-Even Sudoku เตมิตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3x3 โดยทช่ี ่องทแ่ี รเงาจะตอ้ งเตมิ เลขคเู่ ทา่ นัน้ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๐
9 x 9 Consecutive Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3x3ถา้ มแี ถบสดี าอยรู่ ะหวา่ ง 2 ช่องใด ตวั เลขในสองชอ่ งนนั้ จะตอ้ งมคี า่ เรยี งกนั แต่ถา้ ไมม่ แี ถบสดี าอยู่ระหว่าง 2 สองช่องใดแสดงวา่ ตวั เลขในสองช่องนนั้ หา้ มมคี ่าเรยี งกนั9 x 9 Asterisk Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และชอ่ งทแ่ี รเงา 9 ชอ่ งศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียนครงั้ ท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๔๑
9 x 9 Windoku Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และชอ่ งแรเงาขนาด 3x39 x 9 Thai Alphabet Sudokuเตมิ ตวั อกั ษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ, ช, ซ, ฌ ไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3 x 3ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๒
9 x 9 Diagonal Jigsaw Sudokuเตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องว่างไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบดว้ ยเสน้สดี าหนา และ แนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครัง้ ท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๓
8. การแขง่ ขนั เวทคณิต1. ระดับและคุณสมบัติผูเ้ ขา้ แข่งขนัการแขง่ ขันประเภทเด่ยี ว แบ่งเปน็ 4 ระดบั ดังน้ี1. ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3ผเู้ ขา้ แขง่ ขันตอ้ งเปน็ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 เท่านัน้2. ระดบั ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6ผ้เู ขา้ แขง่ ขันตอ้ งเปน็ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 เท่านัน้3. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาผู้เข้าแขง่ ขันตอ้ งเปน็ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเท่านั้น4. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาผเู้ ขา้ แข่งขนั ต้องเปน็ นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเทา่ นนั้2. ประเภทและจานวนผเู้ ข้าแขง่ ขัน2.1 ประเภทเด่ียว2.2 จานวนผู้เข้าแขง่ ขันระดับละ 1 คน3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแข่งขัน3.1 ส่งรายชือ่ นักเรียนผู้เข้าแขง่ ขนัส่งรายช่ือนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด3.2 การจัดการแข่งขนัใช้ขอ้ สอบเป็นเคร่ืองมือในการแขง่ ขนั โดยข้อสอบแบง่ เป็น ๒ ฉบบั ผู้เขา้ แขง่ ขันไดร้ ับข้อสอบคนละ ๑ ชดุ ดังนี้ฉบับที่ ๑ ข้อสอบประเภทเขียนคาตอบ แบ่งเปน็ ๔ ตอน รวม 100 คะแนน ได้แก่ ตอนที่ ๑ การบวก จานวน 30 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนท่ี ๒ การลบ จานวน 30 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนที่ ๓ การคูณ จานวน 20 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนท่ี ๔ การหาร จานวน 20 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาทีฉบับที่ ๒ ข้อสอบประเภทแสดงวธิ ีทาและตอบ รวม 100 คะแนน กาหนดเวลา 60 นาที ตอนท่ี 1 การบวก จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน ตอนท่ี 2 การลบ จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน ตอนที่ 3 การบวกลบระคน จานวน 1 ขอ้ ข้อละ 4 คะแนน ตอนที่ 4 การคณู จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน ตอนที่ 5 การหาร จานวน 8 ขอ้ ขอ้ ละ 3 คะแนนศิลปหัตถกรรมนักเรียนคร้งั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๔
3.3 กตกิ าและวิธกี ารแข่งขัน กตกิ าการแขง่ ขนั ๑. ชแ้ี จงระเบียบการแข่งขนั ใหผ้ ู้เขา้ แขง่ ขันเขา้ ใจตรงกันกอ่ นเริม่ การแขง่ ขัน ๒. ใช้ขอ้ สอบเป็นเครื่องมือในการแข่งขัน 3. อนญุ าตให้ผู้เข้าแข่งขันนาอปุ กรณ์เข้าไปในห้องสอบแข่งขัน ได้แก่ ดนิ สอ ปากกา ยางลบปากกาลบคาผิด ให้ผูเ้ ขา้ แขง่ ขันเตรยี มมาเอง ๔. ไมอ่ นุญาตใหน้ านาฬิกาดจิ ติ อล เคร่ืองมือคานวณ เคร่ืองมือส่ือสารทุกชนิด เข้าห้องสอบ ๕. ให้นาบัตรประจาตวั ผู้เขา้ แข่งขันและบตั รครผู ู้ดูแลนักเรียน (พิมพ์จากระบบ) มาในวนั แข่งขันด้วย 6. นกั เรียนท่เี ป็นตัวแทนเขา้ ร่วมแขง่ ขันระดับชาติ ตอ้ งเปน็ บุคคลคนเดยี วกบั ผูท้ ี่ไดร้ บั การคดั เลือกจากระดบั ภาค และระดบั เขตพน้ื ทเ่ี ทา่ น้นั วธิ กี ารจดั การแขง่ ขนั การสอบ ฉบบั ท่ี 1 1. ในการสอบ เม่ือผ้แู ข่งขนั เข้านั่งประจาท่ีเรยี บรอ้ ยแลว้ กรรมการจะวางข้อสอบโดยควา่ ข้อสอบไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพื่อให้นักเรียนกรอกช่ือ นามสกุล ช้ันโรงเรยี น ใหเ้ รียบร้อย แล้วคว่าขอ้ สอบไวท้ เ่ี ดิมโดยเรยี งตามลาดบั ตอนที่ 4 การหารไวล้ ่างสดุ ตามดว้ ยการคณู การลบ และการบวก ตามลาดับ (หา้ มเปดิ ขอ้ สอบจนกวา่ กรรมการจะใหส้ ญั ญาณ) 2. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนที่ 1 การบวก เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบให้ผู้แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไวด้ ้านขวามอื ของผ้แู ข่งขัน กรรมการเก็บขอ้ สอบตอนที่ 1 การบวก 3. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนที่ 2 การลบ เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบให้ผู้แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้านขวามอื ของผูแ้ ขง่ ขัน กรรมการเกบ็ ข้อสอบตอนที่ 2 การลบ 4. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนที่ 3 การคูณ เม่ือกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบให้ผู้แข่งขันเริ่มทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้านขวามือของผูแ้ ข่งขัน กรรมการเกบ็ ข้อสอบตอนที่ 3 การคูณ 5. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนที่ 4 การหาร เม่ือกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบให้ผู้แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เมื่อหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้านขวามือของผูแ้ ข่งขัน กรรมการเก็บขอ้ สอบตอนที่ 4 การหารศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนครงั้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๕
วิธีการจัดการแข่งขันการสอบ ฉบับที่ 2 1. ในการสอบ เม่ือผแู้ ข่งขันเขา้ นั่งประจาท่ีเรยี บร้อยแลว้ กรรมการจะวางข้อสอบโดยควา่ ข้อสอบไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพื่อให้นักเรียนกรอกช่ือ นามสกุลช้นั โรงเรยี น ใหเ้ รียบรอ้ ย แลว้ ควา่ ขอ้ สอบไวท้ เี่ ดิม (หา้ มเปิดขอ้ สอบจนกวา่ กรรมการจะให้สัญญาณ) 2. เมือ่ กรรมการใหส้ ัญญาณเร่ิมทาข้อสอบ ใหผ้ ู้แข่งขันเริม่ ทาขอ้ สอบฉบบั ที่ 2 จับเวลา ๖0 นาทีเมื่อหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางปากกา/ดินสอ และวางข้อสอบไว้ด้านขวามือของผู้แข่งขัน กรรมการเก็บข้อสอบฉบับท่ี 2 3.4 โครงสรา้ งขอ้ สอบระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 3ฉบับที่ โครงสรา้ งข้อสอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ขอ้ รวม (นาที)ฉบับที่ 1 การบวกจานวนเตม็ บวก 2 - 4 หลกั 3 จานวน 10 10ประเภท การบวกจานวนเตม็ บวก 3 - 5 หลัก 4 จานวน 10 10 30 5เขียน การบวกจานวนเตม็ บวก 4 - 6 หลกั 5 จานวน 10 10คาตอบ การลบตัวตั้งจานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ บวก 10 10 2 หลัก ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก การลบตวั ต้งั จานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ บวก 10 10 30 5 3 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก การลบตัวตงั้ จานวนเตม็ บวก 4 – 5 หลัก ตัวลบจานวนเตม็ บวก 10 10 4 หลัก ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก การคณู จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั กับ จานวนเตม็ บวก 1 - 2 หลกั ๕ ๕ การคณู จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั กับ จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั ๕ ๕ ๒0 5 การคณู จานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั กบั จานวนเตม็ บวก 2 – 3 หลกั 10 10 การหารตัวต้งั จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลัก ตวั หารจานวนเตม็ 1๐ 1๐ ๒0 5 บวก 1 หลกั ผลหารลงตัว 1๐ 1๐ การหารตวั ตง้ั จานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลัก ตัวหารจานวนเตม็ บวก 1 – 2 หลกั ผลหารลงตวัศิลปหัตถกรรมนกั เรียนครัง้ ท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๖
ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3ฉบับท่ี โครงสร้างขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ขอ้ รวม (นาท)ีฉบบั ท่ี 2 ตอนท่ี 1 การบวกแบบทดจดุ 26ประเภท การบวกจานวนเต็มบวก 2 - 4 หลกั 3 จานวน 3 9 24แสดงวิธที า การบวกจานวนเตม็ บวก 3 – 5 หลกั 4 จานวน 39และตอบ การบวกจานวนเตม็ บวก 4 – 6 หลกั 5 จานวน ตอนที่ 2 การลบ ( 2 จานวน ) การลบโดยใชห้ ลกั ทบสบิ ตวั ต้ังจานวนเต็มบวก 3 หลกั 26 ตัวลบจานวนเต็มบวก 3 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก การลบโดยใชห้ ลกั ทบสบิ ทบเกา้ ตวั ตงั้ จานวนเต็มบวก 3 หลกั 26 ตัวลบจานวนเตม็ บวก 3 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก 24 การลบโดยใช้การลบตรงหลกั ตวั ตัง้ จานวนเต็มบวก 3 หลัก ตวั ลบจานวนเต็มบวก 3 หลกั ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก 26 การลบโดยใชว้ ธิ ีนขิ ลิ มั ตัวต้ังจานวนเต็มบวก 3 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ บวก 3 หลัก ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก 26 ตอนที่ 3 การบวกลบระคน การบวกลบระคน จานวนเตม็ บวก 2 – ๓ หลัก ๔ จานวน ๖๐ ผลลพั ธ์เปน็ จานวนเต็มบวก ๑๔๔ ตอนท่ี 4 การคณู ( 2 จานวน ) การคูณโดยการจดั ตาแหน่งผลคณู จานวนเต็มบวก 3 หลกั กับ 26 จานวนเตม็ บวก 2 หลัก 3 9 24 การคูณแนวต้งั และแนวไขว้ จานวนเต็มบวก 3 หลกั กับ 39 จานวนเต็มบวก 3 หลกั การคูณโดยวธิ ีเบี่ยงฐาน จานวนเตม็ บวก 2 หลัก กับ 4 12 จานวนเตม็ บวก 2 หลัก 24 ตอนที่ 5 การหาร ( 2 จานวน ) การหารโดยใชว้ ธิ ีนขิ ลิ มั ตวั ต้ังจานวนเต็มบวก 3 หลกั 4 12 ตวั หารจานวนเตม็ บวก 2 หลัก ผลหารลงตวั การหารโดยใช้วธิ พี าราวารท การหารตัวตงั้ จานวนเต็มบวก 3 หลกั ตัวหารจานวนเตม็ บวก 2 หลัก ผลหารลงตวัศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนครง้ั ท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๗
ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6ฉบับท่ี โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ขอ้ รวม (นาท)ีฉบบั ที่ 1 การบวกจานวนเตม็ บวก 3 – 5 หลัก 3 จานวน 10 10ประเภท การบวกจานวนเตม็ บวก 4 - 6 หลกั 4 จานวน 10 10 30 5เขยี น การบวกจานวนเตม็ บวก 6 - 7 หลกั 5 จานวน 10 10คาตอบ การลบตัวต้ังจานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั ตวั ลบจานวนเต็มบวก 10 10 3 หลัก ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก การลบตัวต้งั จานวนเตม็ บวก 4 - 5 หลกั ตัวลบจานวนเต็มบวก 10 10 30 5 3 - 4 หลกั ผลลบเปน็ จานวนเต็มบวก การลบตวั ต้งั จานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลัก ตัวลบจานวนเต็มบวก 10 10 5 - 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก การคูณจานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลัก กบั จานวนเตม็ บวก 2 - 3 ๕ ๕ หลัก การคณู จานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลัก กับ จานวนเตม็ บวก 2 - 3 ๕ ๕ ๒0 5 หลกั การคูณจานวนเตม็ บวก 3 - 5 หลัก กับ จานวนเตม็ บวก 2 – 3 10 10 หลกั การหารตัวตง้ั จานวนเต็มบวก 3 - 4 หลกั ตัวหารจานวนเต็มบวก 1๐ 1๐ ๒0 5 2 - 3 หลกั ผลหารลงตัว หรอื ไมล่ งตวั (ตอบเปน็ เศษเหลอื ) 1๐ 1๐ การหารตัวต้งั จานวนเตม็ บวก 4 - 5 หลกั ตัวหารจานวนเต็มบวก 2 – 4 หลัก ผลหารลงตวั หรือ ไมล่ งตวั (ตอบเป็นเศษเหลือ)ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๘
ระดบั ประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ฉบบั ที่ โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ข้อ รวม (นาที)ฉบับที่ 2 ตอนที่ 1 การบวกแบบทดจดุประเภท การบวกจานวนเต็มบวก ๓ – 5 หลกั 3 จานวน 26แสดงวิธที า การบวกจานวนเต็มบวก 4 – 6 หลกั 4 จานวน 3 9 24และตอบ การบวกจานวนเตม็ บวก 6 – 7 หลัก 5 จานวน 39ตอนที่ 2 การลบ ( 2 จานวน )การลบโดยใชห้ ลกั ทบสิบ ตัวตั้งจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั 2 6ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวกการลบโดยใช้หลกั ทบสบิ ทบเก้า ตวั ตั้งจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั 2 6 24ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก 2 6การลบโดยใช้การลบตรงหลกั ตัวต้ังจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลักตัวลบจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวกการลบโดยใชว้ ิธนี ิขิลมั ตัวตัง้ จานวนเต็มบวก 5 – 7 หลัก 2 6ตัวลบจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวกตอนที่ 3 การบวกลบระคน ๑ ๔ ๖๐การบวกลบระคน จานวนเตม็ บวก 3 – 4 หลัก ๔ จานวน ๔ผลลัพธ์เปน็ จานวนเตม็ บวกตอนท่ี 4 การคณู ( 2 จานวน )การคูณโดยการจัดตาแหนง่ ผลคณู จานวนเต็มบวก 3 หลกั กบั 2 6จานวนเต็มบวก 2 หลักการคูณแนวต้งั และแนวไขว้ จานวนเตม็ บวก 3 หลัก กบั 3 9 24จานวนเตม็ บวก 3 หลักการคณู โดยวิธีเบ่ียงฐาน จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั กับ 39จานวนเต็มบวก 2 - 3 หลักตอนท่ี 5 การหาร ( 2 จานวน )การหารโดยใช้วิธีนขิ ิลัม ตัวตง้ั จานวนเต็มบวก 3 หลัก 4 12ตวั หารจานวนเตม็ บวก 2 หลกั ผลหารลงตวั 4 24การหารโดยใช้วธิ พี าราวารท การหารตัวตัง้ จานวนเต็มบวก3 หลัก ตัวหารจานวนเตม็ บวก 2 หลัก ผลหารลงตวั 12ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๙
ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3ฉบบั ที่ โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ขอ้ รวม (นาที)ฉบับท่ี 1 การบวกจานวนเตม็ 4 – 6 หลัก 4 จานวน 55ประเภท การบวกจานวน 4 – 6 หลักทม่ี ีทศนิยมไม่เกนิ 2 ตาแหนง่ 5 5เขียน 4 จานวนคาตอบ การบวกจานวนเตม็ 5 - 7 หลัก 5 จานวน 55การบวกจานวน 5 – 7 หลกั ทมี่ ที ศนยิ มไม่เกิน 3 ตาแหนง่ 5 5 30 55 จานวนการบวกจานวนเตม็ 6 - 8 หลกั 6 จานวน 55การบวกจานวน 6 - 8 หลกั ท่ีมที ศนยิ มไมเ่ กนิ 3 ตาแหนง่ 5 56 จานวนการลบตัวต้งั จานวนเตม็ 4 - 6 หลกั ตวั ลบจานวนเต็ม 3 - 5 หลกั 10 10การลบตัวตง้ั จานวนเต็ม 5 - 7 หลัก ตัวลบจานวนเต็ม 3 - 4 หลัก 10 10 30 5การลบตัวตั้งจานวนเตม็ 6 – 8 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ 5 - 7 หลกั 10 10การคณู จานวนเตม็ 4 - 5 หลกั กบั จานวนเตม็ 2 - 3 หลกั 10 10 20 5การคณู จานวนเตม็ 5 - 6 หลกั กับ จานวนเต็ม 2 – 3 หลกั 10 10การหารตัวต้งั จานวนเตม็ บวก 4 - 5 หลกั ตวั หารจานวนเต็มบวก 10 10 20 52 - 3 หลกั ผลหารลงตวั หรือ ไมล่ งตัว (ตอบเป็นเศษเหลอื ) 10 10การหารตัวตง้ั จานวนเตม็ บวก 4 - 6 หลกั ตวั หารจานวนเตม็ บวก3 – 4 หลกั ผลหารลงตัว หรอื ไมล่ งตัว (ตอบเป็นเศษเหลอื )ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนคร้งั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๕๐
Search