Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book เรื่อง การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม

E-Book เรื่อง การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม

Published by vanichb, 2018-05-10 09:02:58

Description: E-Book เรื่อง การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม

Search

Read the Text Version

42

43 การวางแผนและงบประมาณฟารม์ เปน็ การกาหนดรูปรา่ งหน้าตา หรือแนวทางในการทางานล่วงหน้าเชน่ เดียวกับกิจกรรมอ่นื ๆ ในภาคการเกษตร จะตอ้ งกล่าวถงึ การปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ชนิดใด จานวนเทา่ ใด จะต้องเสียค่าใชจ้ ่ายจานวนเท่าไร และจะมีรายได้จากกจกิ รรมเหล่านน้ั เท่าไร เมื่อหกั ค่าใช้จ่ายออกจากรายได้แลว้ จะคงเหลอื กาไรเทา่ ใด เป็นต้น การวางแผนและงบประมาณฟาร์มจะช่วยใหผ้ วู้ างแผนได้มีโอกาสใชว้ ิจารณญาณในการผลติของตนเองอยา่ งสขุ ุม รอบคอบความหมายการวางแผนฟารม์ (Farm Planning) การวางแผนฟาร์ม คือ การวางแผนการผลิตโดยใช้ปัจจัยการผลิต เช่น ท่ีดิน ทนุ และแรงงานให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ุด โดยนามาวางแผนในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึง่ความหมายงบประมาณฟารม์ (Farm Budgeting) งบประมาณฟารม์ คอื การประมาณการคา่ ใช้จ่ายในการผลิตกิจกรรมหน่งึ ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่งตามแผนทไี่ ดว้ างเอาไว้ ค่าใช้จา่ ยเร่ืองปจั จยั การผลติ จานวนเทา่ ไร และผลทีค่ าดหวังเอาไว้ตามแผนจานวนเท่าไร รวมถงึ รายได้และกาไรดว้ ย

44ประเภทของการวางแผนและงบประมาณฟารม์ 1. การวางแผนและงบประมาณฟารม์ ท้ังหมด (Complete Farm Planning and Budgeting) การวางแผนและงบประมาณฟาร์มทงั้ หมดหรือการวางแผนและงบประมาณฟาร์มสมบรณู แ์ บบ หรือแบบครบถว้ น เป็นการวางแผนและงบประมาณที่จะจัดรปู หรือกาหนดรูปองค์ประกอบของฟารม์ วา่ ฟารม์ นั้นประกอบขน้ึ ดว้ ยกิจกรรมอะไร จะจดั การกับทรัพยากรทีม่ อี ยอู่ ยา่ งจากดั อย่างไรในแตล่ ะกจิ กรรมใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ทางบประมาณรายจ่ายและรายไดใ้ นแต่ละกิจกรรมของฟาร์ม วา่ เปน็ จานวนเท่าใด การวางแผนและงบประมาณดงั กลา่ วมกั จะทาในระยะเร่มิ แรกของฟารม์ 2. การวางแผนและงบประมาณฟาร์มบางส่วน (Partial Farm Planning and Budgeting) การวางแผนและงบประมาณบางส่วน หมายถงึ การวางแผนและงบประมาณในระยะเวลาหลังจากการวางแผนและงบประมาณฟารม์ ทงั้ หมดได้ดาเนินการแล้ว หรืออยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ กิจกรรมอยูใ่ นแตล่ ะปี ซง่ึมจี ุดประสงคท์ ต่ี อ้ งการแกไ้ ข ปรบั ปรงุ และเปล่ยี นแปลงใหม้ ีประสทิ ธภิ าพดีขึ้น หรือเปน็ การหลกี เล่ยี งปญั หาท่ีเกิดข้นึ แล้วในระยะแรก ๆ ของการดาเนินงาน สาหรบั การวางแผนและงบประมาณฟาร์มบางส่วนจะเป็นไปในทางกิจกรรมทเ่ี ฉพาะเจาะจงลงไป เชน่ กจิ กรรมการปลูกพชื กิจกรรมเล้ียงสัตว์ กจิ กรรมประมง เปน็ ต้น ในการเนน้ ลงไปนเี้ พ่อื หาทางปรับปรุง เปลย่ี นแปลงและแกไ้ ขบางอยา่ งง เพอ่ื ทจี่ ะขยายหรือลดพ้ืนที่การปลูกและจานวนสัตว์ที่เลยี้ ง การเปล่ียนแปลงกิจกรรมใหม่โดยนา กจิ กรรมใหม่มาเสริมหรือเพม่ิ เตมิ หรือนาเขา้ มาใหม่หมด นาเทคโนโลยีสมยั ใหมห่ รือพ้ืนบ้าน นาเคร่ืองจักรกลการเกษตร เครือ่ งมอื เครอื่ งใช้ เขา้ มาสนับสนนุ การทางานหรอื กิจกรรมเดิมท่ียงั ดาเนินการอยู่

45แตต่ ้องมีการปรบั ปรงุ เชน่ การเปลี่ยนแปลงพันธุ์ขา้ ว สตู รปยุ๋ เคมแี ละสารเคมีปราบศัตรพู ืช ตลอดจนการจัดการ การใช้แรงงานครอบครวั และแรงงานจา้ งใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากท่ีสุด นอกจากนีย้ งั รวมถึง การเกบ็ เกีย่ วการเก็บรกั ษา การขนส่ง และการจัดหาแหล่งตลาด เป็นตน้ ดงั น้ัน การวางแผนและงบประมาณบางส่วนจึงมีความสาคัญเชน่ กนั ในภาวะปจั จุบนั หรือสภาพทเี่ ป็นอยใู่ นท้องถ่ินของเกษตรกรเอง ซง่ึ ถา้ จาเป็นต้องมีการแกไ้ ข ปรบั ปรุงและเปล่ียนแปลง ก็ใชก้ ารวางแผนและงบประมาณฟาร์มบางส่วนเขา้ ชว่ ย สว่ นมากแล้วจะมีการแกไ้ ขปลี ะครัง้ ตามฤดกู าลผลิตของท้องถนิ่ เน่ืองจากแผนและงบประมาณทว่ี า่ นี้จะเกีย่ วข้องกบั การลงทุนและรายได้ ดงั น้นั ควรมีการพิจารณาให้รอบคอบและควรมีการวางแผนและงบประมาณไว้หลายชุด แลว้เลอื กเอาแผนและงบประมาณอนั ใดอนั หนง่ึ ท่เี หน็ วา่ ดที ี่สุดและเหมาะสมท่สี ุดลกั ษณะของแผนและงบประมาณฟาร์มทด่ี ี ในการวางแผนและงบประมาณฟารม์ นนั้ มีความสาคญั เป็นอย่างมากในการดาเนนิ กิจกรรม ก่อนอื่นจะต้องเข้าใจหรือรู้เสียกอ่ นว่า การวางแผนและงบประมาณท่ีดีน้ันเปน็ อยา่ งไร ซ่ึงสรปไุ ดด้ ังน้ี 1. กจิ กรรมแต่ละชนิดทีจ่ ะดาเนินการ ซึ่งกาหนดไวใ้ นแผนและงบประมาณน้ันตอ้ งมีขนาดเหมาะสมกับฟาร์มพอสมควร เพราะถา้ กิจกรรมใหญ่หรือเล็กเกนิ ไป อาจจะทาให้ทรัพยากรที่มอี ยู่อยา่ งจากัดจะสญู เสยีหรอื ใชอ้ ยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 2. ควรกาหนดการใชป้ ัจจยั การผลติ ต่าง ๆ อย่างเต็มที่ ซึง่ หมายถึง การใช้ท่ีดิน ทุน และแรงงานกลา่ วคือ ไม่ควรปลอ่ ยให้ท่ีดินวา่ งโดยเปลา่ ประโยชน์ หรือดไมไ่ ด้ใชแ้ รงงานในครอบครวั อย่างเต็มที่ ตลอดจนรู้จักใช้ทนุ และวสั ดุอุปกรณ์ในท้องถน่ิ ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทสี่ ุด

46 3. ควรกาหนดให้ใชว้ ิธีการผลติ ท่ีทนั สมัย ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ หรือวิชาการพน้ื บา้ นที่เหมาะสมซง่ึ สามารถทางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รวดเรว็ สะดวก และลดต้นทุนการผลิต ดงั น้นั แผนและงบประมาณควรเปดิ โอกาสใหม้ ีการนาเทคโนโลยดี งั กล่าวเข้ามามีบทบาทในการผลิต อยา่ งไรก็ตาม ก็ควรพิจารณาให้รอบคอบเสียก่อนในการท่ีจะนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ควรเปน็ เทคโนโลยีทีค่ อ่ นข้างแนน่ อนและเหมาะสมแตล่ ะทอ้ งถน่ิ 4. แผนและงบประมาณฟาร์มควรมีความยืดหยุน่ ไว้บ้าง หมายถงึ แผนและงบประมาณสามารถท่ีจะเปลีย่ นแปลง แกไ้ ข และปรับปรุงไดต้ ามภาวการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนในระหวา่ งดาเนินการ เช่น การขาดแคลนแรงงานอาจจาเปน็ ต้องใชแ้ รงงานหรือเคร่ืองจักรกลการเกษตรเข้ามาชว่ ย ระยะ เวลาในการดาเนินการ เงนิ ทุนหมนุ เวยี น กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา้ แหลง่ รับซ้ือ จานวนและคุณภาพท่ีตลาดตอ้ งการ เปน็ ต้น 5. ควรคานงึ ถงึ สภาพดนิ ฟ้า อากาศ และภมู ิประเทศ ดังน้นั การวางแผนและงบประมาณจึงจาเปน็ตอ้ งพจิ ารณาสภาพท้องทีว่ า่ เปน็ ท่ีลมุ่ ท่ดี อน หรือท่ีราบ ซึ่งแตล่ ะสภาพมีความเหมาะสมแต่ละกิจกรรมตา่ งกันเชน่ ท่ลี ุม่ เหมาะสาหรับทานาหรอื ขุดบอ่ เลี้ยงปลา เล้ยี งกุ้ง ส่วนท่ีดอนอาจจะเหมาะกับพืชไร่ เช่น มันสาปะหลงั ปอ ที่ราบอาจจะเหมาะสมกับทานา ปลูกผกั และพืชไร่บางชนิด นอกจากนี้ อณุ หภมู ิ ปริมาณนา้ ฝนและแหล่งน้ากม็ ีสว่ นในการวางแผน ตวั อย่างสาหรับแต่ละสภาพทีม่ ีความเหมาะสมตา่ งกนั เชน่ ภาคเหนอื ลกั ษณะพนื้ ท่เี ลก็ ๆ ตามเชงิภูเขา มีความชืน้ และอากาศคอ่ นขา้ งหนาว เหมาะสมสาหรบั การปลกู สตรอเบอรร์ ี่ องุ่น ลาไย ลิน้ จ่ี และพืชผักเปน็ ตน้ ส่วนภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลักษณะดนิ ไมค่ ่อยอุดมสมบรู ณม์ ากนกั ดนิ ร่วนปนทรายและดินทรายมีความแหง้ แล้ง เปน็ ที่ราบสูง เหมาะในการปลูกพืชไร่ เช่น มันสาปะหลัง ปอ ขา้ วโพด เป็นต้น ดังน้นั การวางแผนและงบประมาณกค็ วรคานึงถึงสภาพดิน ฟา้ อากาศ และภมู ิประเทศด้วย 6. ควรคานึงถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรายจา่ ยและรายรับ สาหรบั รายจา่ ยน้ันจะต้องพิจารณาแนวโน้มของราคาปัจจัยการผลิตดว้ ยวา่ ในอนาคตจะเพม่ิ ขึ้นเทา่ ไร จะเพ่มิ ในอตั ราที่รวดเร็วหรอื ค่อยเป็นค่อยไป รวมทง้ั

47รายจ่ายอน่ื ๆ ทมี่ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การวางแผน ส่วนรายรับนนั้ ขน้ึ อยู่กบั แผนที่วางไว้วา่ จะผลติอะไรได้จานวนเทา่ ไร จะผลิตเมอ่ื ไร โดยวิธีการใด และราคาผลผลิตที่คาดคะเนว่าจะได้รบั จากการผลติ กิจกรรมนนั้ ๆ โดยหลกั ท่วั ไปแผนและงบประมาณจะต้องลงทนุ ใหต้ ่าที่สดุ มีความเสี่ยงนอ้ ยทีส่ ดุ และได้กาไรมากที่สุด 7. ควรคานงึ ถงึ ความสามารถความชานาญของเจ้าของฟารม์ การกาหนดกจิ กรรมลง ในแผนและงบประมาณนั้นตอ้ งดูเกษตรกรหรือเจา้ ของฟาร์มเองว่ามคี วามสามารถ ความชานาญ และประสบการณม์ ากนอ้ ยแคไ่ หน เกษตรกรเคยปลกู พชื หรอื เลย้ี งสตั ว์ชนดิ เหลา่ นหี้ รือไม่ เช่น เกษตรกร มคี วามชานาญการปลกู ไม้ผล แต่กลับมาเล้ยี งสตั ว์หรอื เพาะเลี้ยงกุ้งเพราะเห็นวา่ มีราคาสงู และได้กาไรมาก หรอื อาจจะทาตามเพ่อื นบ้าน โดยทไ่ี ม่ไดไ้ ตรต่ รองให้รอบคอบถึงขดี ความสามารถเฉพาะตวั กอ็ าจจะทากิจการนั้นลม้ เหลว หรือไม่ประสบความสาเรจ็ เท่าท่ีควร อย่างไรก็ตามหากกจิ กรรมยงั ใหม่ มีผลตอบแทนสูง เหมาะสมกับสภาพพืน้ ท่ีแต่ไมเ่ คยทามาก่อน ก็ใหพ้ จิ ารณาเปน็ กจิ กรรมรอง โดยเรมิ่ ทาแต่นอ้ ยก่อน หากมีความชานาญมากข้นึ และไดผ้ ลดี ทราบถึงปญั หาและอุปสรรค จึงคอ่ ย ๆ ขยายออกไปเป็นกิจกรรมหลกั ก็ได้ 8. ควรคานึงถึงแผนและงบประมาณฟาร์มในเร่ืองความเส่ยี ง โดยปกติแล้วการทากจิ กรรมด้านการเกษตรมีความเสย่ี งมากมายอยู่แลว้ เชน่ สภาพดนิ ฟา้ อากาศ ปรมิ าณน้าฝน ความแหง้ แลง้ โรคแมลงและ สัตว์ศัตรพู ืช การเคลื่อนไหวของราคาและ การตลาด เป็นตน้ อยา่ งไรก็ตาม มิได้ หมายความวา่ หากทากิจกรรมดา้ นการเกษตร แลว้ จะต้องพบกบั ความเสยี่ งทกุ ครัง้ ไป ฉะนัน้ ทางแกไ้ ขคอื การวางแผนและงบประมาณอย่าง รอบคอบ โดย พิจารณาอย่างสขุ ุมและใหม้ ร ความเส่ียงนอ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะนอ้ ยได้ ในการ ดาเนนิ กจิ การไมค่ วรทากจิ กรรมที่ใหญเ่ กนิ ไป หรือมกี ารลงทุนสงู เพราะจะทาให้เกิดความเสีย่ งสูง ดังนนั้ ควรจะค่อย ๆ ขยายกจิ การออกไป นอกจากนี้แล้ว อาจจัดกิจกรรมรองหรือเสริมไว้รองรับกิจกรรมหลักเพื่อลดความเสี่ยง 9. ควรคานึงถงึ สภาวะการตลาดของผลผลติ ซึ่งอาจกล่าวได้วา่ ตลาดมคี วามสาคัญหรอื มอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากต่อระบบการผลติ ของการเกษตรบ้านเรา ดงั นนั้ การวางแผนและงบประมาณการผลิตควรคานึงถงึการตลาดและการเคล่ือนไหวของราคาผลผลิต มิใชม่ องแตล่ ดต้นทุนตา่ สุดอยา่ งเดยี วหรือทาอย่างไรใหผ้ ลผลิตสงู ควรพิจารณาดา้ นดงั กลา่ วด้วยข้ันตอนในการวางแผนและงบประมาณฟาร์ม โดยปกติแล้ว การวางแผนและงบประมาณมักจะทาควบคกู่ นั ไป เมอ่ื เกบ็ ข้อมูลและศึกษาสภาพการผลติ แล้วจะพิจารณาเลือกกจิ กรรมการผลิต วธิ ีการผลิต ผลิตเมอื่ ไร จานวนเท่าใด คานวณค่าใช้จ่าย คาดคะเน

48ผลผลิต รายได้ และกาไรท่ีไดร้ ับในแต่ละกิจกรรมของแผน ดงั น้นั การจัดทาแผนและงบประมาณฟารม์ มีขน้ั ตอนพอสรปุ ไดค้ อื 1. รวบรวมข้อมูลจากการสารวจ อาจจะได้มาจากการสารวจ สงั เกต สัมภาษณ์ หรือเอกสารอะไรก็ตาม จะเปน็ ขอ้ มูลตวั เลขหรอื เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative data) หรอื จะเป็นขอ้ มูลเชงิ พรรณนาหรือเชิงคณุ ภาพ (Qualitative data) หรือขอ้ มลู ทั้งสองอยา่ งรวมกนั หากเป็นขอ้ มลู ที่แท้จรงิ ของจุดที่จะดาเนินการวางแผนก็จะช่วยใหแ้ ผนและงบประมาณมีประสิทธิภาพมากขึ้น ขอ้ มูลดังกล่าว ได้แก่ ข้อมูลทางดา้ นการผลิตวธิ ีการผลติ ตน้ ทุนการผลติ ราคาปัจจัยการผลติ ราคาผลผลติ แหล่งรบั ซื้อผลผลิต นโยบายรัฐบาล ความต้องการภายในและภายนอกประเทศ ขีดจากดั ความสามารถของเกษตรกร ขดี จากดั ของทรัพยากรธรรมชาติความเชอ่ื และความศรทั ธา ค่านิยม ลักษณะของตัวเกษตรกร โดยสรปุ แล้วข้อมูลควรครอบคลุมถึงด้านเกษตร เศรษฐกจิ และสงั คม (Agro – Socioeconomic) 2. ศกึ ษาและรวบรวมทรัพยากรทงั้ หมดที่มีอยู่ ซ่ึงเป็นขอ้ มลู จากการสารวจหรือโดยวิธี ใดก็ตามซง่ึเป็นประโยชน์ในการวางแผนและงบประมาณฟาร์ม ซึ่งจะเป็นตัววัดว่าหลงั จากการวางแผนและดาเนินการไปแล้วผลจะเป็นอย่างไร ทรพั ยส์ นิ ลดหรือเพมิ่ ขน้ึ นอกจากนี้จะได้ทราบว่าจะต้องเพ่ิมทรัพยากรอะไรหรือขาดอะไร ทรัพยากรเหล่าน้ีได้แก่ ท่ีดิน แรงงาน เครอ่ื งมือและอุปกรณ์การเกษตร สิง่ ก่อสรา้ ง เงนิ ทนุ ดาเนินการเปน็ ตน้ 3. การเลือกกจิ กรรมทจ่ี ะดาเนนิ การลงในแผนการผลิต โดยพจิ ารณาในหลาย ๆ ดา้ น ขึน้ อยู่กับวตั ถปุ ระสงคว์ า่ วางแผนการผลิตเพื่อบริโภค เพอ่ื จาหนา่ ยให้ไดร้ าคาสงู เพอ่ื เพม่ิ รายได้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเส่ยี งนอ้ ยท่ีสดุ เพือ่ ความพอใจหรอื เพื่อดา้ นอื่น ๆ แต่โดยหลกั ทั่วไปการวางแผนการผลติ เพ่ือใหเ้ กษตรกรได้บรโิ ภคและเหลอื พอที่จะจาหน่ายซึง่ เปน็ การเพม่ิ รายได้ ยกฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขนึ้ สง่ิ สาคญัจะต้องเป็นกจิ กรรมท่ีเกษตรกรมีความตอ้ งการและสอดคล้องกับการตลาดด้วย 4. การคาดคะเนรายจา่ ยและรายได้จากกิจกรรมต่าง ๆ ท่ไี ด้กาหนดในแผนการผลติ ในเรื่องการผลิตนน้ั กิจกรรมแต่ละชนดิ จะตอ้ งมกี ารคิดต้นทนุ การผลิตไว้ก่อน สาหรบั สินค้าเกษตรโดยทว่ั ไปผู้ผลติ ไม่สามารถมสี ่วนกาหนดราคาของผลผลิต ดังนนั้ การวางแผนการผลิตและงบประมาณจงึ จาเป็นจะตอ้ งคานวณต้นทุนการผลติ หรือรายจ่ายแต่ละหมวดหมู่ ไดแ้ ก่ คา่ เมล็ดพันธ์พุ ชื พนั ธสุ์ ัตว์ คา่ เตรียมดนิ ค่าปุ๋ยและสารเคมีคา่ อาหารสัตว์ ค่าโรงเรอื นคา่ จา้ งแรงงานโดยคิดจากสภาพราคาทเ่ี ป็นจริงหรอื แนวโน้มทีร่ าคาปัจจัยการผลิตเหลา่ นีจ้ ะเพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งในด้านส่งเสรมิ หรือทเี่ กษตรกรปฏบิ ัตอิ ยู่มักจะคดิ เฉพาะคา่ ใช้จ่ายทเ่ี ป็นเงินสดคอื คา่ ใช้จา่ ยที่จา่ ยออกไปจริงในรูปเงนิ สด ในสว่ นของรายได้นนั้ ตามแผนการผลิตยังไมไ่ ดม้ ีการดาเนินการเปน็ เพียงแต่การคาดคะเนสถานการณ์การผลตวิ ่า ผลผลิตได้จานวนเท่าไร ราคาตอหน่วยเปน็ เท่าไร โดยอาศยัประสบการณ์ ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสารวจและรวบรวมมาศึกษาพจิ ารณาความเป็นไปได้ของแผนท่ีวางไว้ หากได้ข้อมลู ทแี่ ท้จริง การคาดคะเนกใ็ กลเ้ คยี งความจริงมาก ถงึ แมว้ า่ จะมีการเปล่ียนแปลงก็ตาม แตเ่ ป็นวิธีทดี ีท่สี ุดในการวางแผนกอ่ นปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในภาคสนาม

49 5. คดิ กาไรจากแผนการผลิตท่ีกาหนดไว้ หากกาไรกแ็ สดงวา่ การผลติ มีประสิทธภิ าพพอใชไ้ ด้ถ้าหากขาดทุนจาเป็นจะต้องมกี ารเปล่ียนแปลงการวางแผนและงบประมาณใหม่บางสว่ นหรืออาจจะทง้ั หมดกไ็ ด้ การคดิ หากาไรให้แยกประเภทของกจิ กรรมดา้ นพชื และสตั ว์แต่ละชนดิ โดยท่ีกาไรคิดได้จากผลต่างของรายได้กบั รายจา่ ยอย่างง่ายๆสาหรับรายได้และรายจ่ายได้จากการคานวณในการวางแผนและงบประมาณในข้อ 4ที่กล่าวมาแล้วการวางแผนและงบประมาณฟาร์มช่วยใหเ้ ราทราบอะไรบ้าง 1. เปน็ เครื่องมือในการตดั สินใจว่า จะทากิจกรรมดา้ นพชื หรอื ด้านสัตว์ หรือท้งั พืชและสัตว์ จึงจะเหมาะสมกบั สภาพฟาร์ม 2. กาหนดวธิ ีการผลิต ขน้ั ตอนการผลิต และการใช้ปัจจยั การผลิต 3. บง่ บอกถงึ ความสมั พนั ธแ์ ตล่ ะกิจกรรมในขบวนการผลิตและการจาหน่ายผลผลติ 4. การกระจายแรงงาน ได้แก่ แรงงานในครอบครัว แรงงานจา้ ง และแรงงานแลกเปลี่ยน ช่วงไหนควรจะจ้างแรงงานเพ่มิ เตมิ หรือแรงงานเหลือ หรือแรงงานเพียงพอตอ่ การผลติ 5. การกระจายเงินลงทนุ ในแตล่ ะข้นั ตอนของการผลิตและชนดิ ของกจิ กรรมวา่ ชว่ งไหนต้องใช้จ่ายเงนิในการลงทนุ ชว่ งไหนได้รับรายได้จากการจาหนา่ ยผลผลติ 6. ทาให้ทราบถึงการใชท้ ่ีดนิ ในช่วงการผลิตว่า ช่วงไหนทด่ี ินว่างเปล่า ช่วงไหนทีด่ ินกาลงั ใชใ้ นการผลิตเพอื่ ให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ทด่ี นิ 7. ทาให้ทราบถึงงบประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิตแต่ละกิจกรรมและทง้ั ฟารม์ 8. ทาให้ทราบถงึ รายไดแ้ ละกาไรจากการผลิตตามแผนทีว่ างไว้ในแต่ละกิจกรรมและทงั้ ฟารม์

50ขั้นตอนการวางแผนและงบประมาณฟารม์ ในการปรบั ปรุง และสง่ เสริมฟาร์ม คงเป็นทท่ี ราบกันทั่วไปวา่ การทจ่ี ะเบนเข็มหรือแนวทางของการปฏิบตั ทิ างการเกษตรของเกษตรกรจากการผลิตเพือ่ ใช้ในครอบครัวไปสู่การผลิตเพอ่ื การค้านน้ั ตอ้ งให้เกษตรกรรู้จกั การใชท้ ี่ดิน ทนุ แรงงานและทรัพยากรอื่น ๆ เพอื่ ใหไ้ ด้การผลิตท่ีมกี าไรสูงสุด น่ันคือ การใหเ้ กษตรกรเป็นนกั จัดการฟารม์ ท่ดี ี ร้จู ักการวางแผนและงบประมาณการผลิตโดยใช้ทรัพยากรดงั กล่าวใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในการผลติ ในการส่งเสริมและปรับปรุงสภาพไร่นาของเกษตรกรนั้น ได้กาหนดหรือสมมติฐานไว้ 4 ขน้ั ตอน โดยเร่ิมจากสภาพฟาร์มท่มี อี ยู่จริงในทอ้ งถนิ่ และศกึ ษาหาทางปรบั ปรงุ ใหเ้ จ้าของฟาร์มมีกาไรเพ่ิมพูน หลกั การ 4ขนั้ ตอน ได้กาหนดไว้ดงั น้ี ขน้ั ตอนที่ 1 การปรับปรุงดา้ นวิชาการ (Technological Improvement) ขัน้ ตอนที่ 2 การใช้ปจั จัยการผลิต (Bought Inputs) ข้นั ตอนที่ 3 การทดแทนและปรับเปลี่ยนกิจกรรมใหม่ (New Enterprise and Substitution) ขน้ั ตอนท่ี 4 การลงทุนในทรัพย์สนิ ถาวร (Investment) อย่างไรก็ตาม ในการท่จี ะปรบั ปรุงฟาร์มให้มีรายได้และกาไรสงู ขนึ้ กวา่ เดิม มใิ ช่เปน็ เรอื่ งง่าย สาหรับระบบการผลตขิ องเกษตรกรท่ีมีอยู่ ดงั น้ัน การปรับเปล่ยี นหรือเปล่ียนแปลงใด ๆ กต็ ามจะต้องใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ความเปน็ จริงในพน้ื ท่ี และตัวเกษตรกรเป็นหลกั ดังนัน้ กอ่ นจะมีการปรับปรุงฟาร์มในขน้ั ตอนตา่ งๆ จาเป็นต้องวิเคราะห์สภาพฟารม์ กอ่ นการปรับปรงุ

51การวเิ คราะหฟ์ าร์มก่อนการปรับปรงุ การวเิ คราะหส์ ภาพไรน่ ากอ่ นการปรบั ปรงุ จะดาเนนิ การหลังจากไดม้ กี ารสารวจและรวบรวมข้อมูลของฟาร์มมาแล้ว ประเดน็ สาคัญสาหรบั การวิเคราะห์คอื 1. ขนาดของฟาร์มและครอบครวั เป็นอย่างไร 2. มีกจิ กรรมประเภทไหนบา้ ง ลงทนุ และแรงงานไปเท่าไร และการกระจายแรงงานและทนุ เป็นอยา่ งไร 3. วิธีการผลิต รวมถึงการจัดการฟาร์ม เปน็ อยา่ งไร 4. กาไรต่อไร่หรือต่อหน่วยของกิจกรรมนน้ั มมี ากนอ้ ยแค่ไหน 5. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนนิ งาน จากที่กล่าวมาข้างตน้ ก็พอท่จี ะทาใหเ้ ราทราบวา่ ขอ้ มูลอะไรท่ีควรจะทราบเพ่ือจะนามาวิเคราะห์สภาพฟารม์ จงึ ขอแนะนาวา่ ควรประกอบด้วยหวั ขอ้ กวา้ ง ๆ ดังน้ี 1. ช่อื เจา้ ของฟารม์ สมาชกิ ในครอบครัว เพศ และวยั 2. สภาพการคมนาคม แหล่งรับซ้ือผลผลิต และจาหนา่ ยปัจจยั การผลิต 3. ขนาดของฟารม์ ระดับพื้นที่ และสภาพของดนิ 4. ปริมาณนา้ ฝน การกระจายน้าฝน แหล่งน้าเพอ่ื การเกษตรและอณุ หภมู ิ 5. วิธีการและระบบการปลูกพชื และเลีย้ งสัตว์ 6. สภาพการลงทุนและการใชแ้ รงงาน 7. ผลผลติ ท่ีได้รบั ราคาผลผลิต และแหลง่ ตลาด 8. รายได้ กาไรหรอื ขาดทนุ ในการดาเนนิ กิจกรรม 9. ขอ้ มูลด้านสังคม เชน่ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม

52 10. อื่น ๆ (โดยเฉพาะขีดจากดั และศักยภาพของฟาร์ม)แนวทางในการวเิ คราะห์สภาพฟารม์ กอ่ นการปรับปรุง 1. สามารถจัดทาแผนปฏิทนิ การปลกู พชื และเลีย้ งสตั วข์ องแตล่ ะกิจกรรมและทั้งฟาร์ม 2. คานวณค่าใช้จ่ายการผลติ แต่ละกิจกรรม (ตน้ ทุนการผลิต) และท้ังฟาร์ม 3. คานวณผลผลติ และราคาท่ีได้จากการสสารวจในแต่ละกจิ กรรมและทงั้ ฟารม์ 4. คานวณหากาไร (Gross Margin) แตล่ ะกจิ กรรมและทงั้ ฟารม์ 5. การใชเ้ งนิ ทุน โดยทาแผนกระแสเงนิ สด (Cash Flow) 6. ถา้ ทราบข้อมูลเกีย่ วกบั แรงงานกส็ ามารถคานวณการใช้แรงงานและการกระจายแรงงาน ในแตล่ ะกจิ กรรมและทงั้ ฟารม์ 7. หาผลตอบแทนการใช้ท่ีดิน เงนิ ลงทุน และแรงงานในแตล่ ะกจิ กรรมและทั้งฟารม์ 8. สรปุ ประเดน็ สาคญั และปัญหาอปุ สรรคในด้านการเกษตร เศรษฐกิจและสังคม โดยเร่ิมตน้ จากสภาพความเป็นจรงิ ในไร่นาของเกษตรกรกอ่ น จากสภาพฟาร์มหรือไรน่ าของ เกษตรกรทเ่ี ป็นอยู่จะสามารถเพ่มิ รายไดแ้ ละกาไรให้สูงข้นึ กวา่ เดิมไดอ้ ย่างไร โดยทเี่ กษตรกรไม่ควรท่ี จะลงทุนเพ่มิ จากเดิมในการผลิตแนวทางการปรบั ปรุงฟาร์มจงึ เร่มิ ตน้ จาก ขนั้ ตอนท่ี 1 คือ การปรับปรงุ ดา้ นวชิ าการเพยี งอยา่ งเดยี ว เพอ่ื ให้ผลผลิตเพิ่มข้ึนหรือทาใหต้ ้นทุนการผลิตลดลง หรือผลผลิตมีคณุ ภาพมากขึน้ หลังจากปรับปรุงด้านวิชาการแลว้ หากจะต้องปรบั ปรงุ ใหม้ รี ายได้และกาไรเพมิ่ มากข้นึ อกี ควรพจิ ารณาด้านการใชป้ ัจจัยการผลิต โดยเฉพาะการใชป้ ยุ๋ การใช้สารเคมี หรือสูตรผสมอาหารสตั ว์ เป็นตน้ ขั้นตอนที่ 2 การใช้ปจั จัยการผลติ โดยมจี ดุ เนน้ ว่าจะตอ้ งคุ้มคา่ กับการลงทนุ หรือก่อให้เกดิ กาไรสูงสุดจากการใช้ปัจจยั การผลิตแตล่ ะหน่วยเมอื่ ผ่านขน้ั ตอนท่ี 2 แลว้ ตอ้ งพิจารณาต่อไปวา่ กิจกรรมเดิมที่ทาอยู่มกี จิ กรรมใดบา้ ง สมควรจะขยายในเชิงปริมาณการผลติ หรือลดปริมาณการผลิตลง หรอื อาจจะต้องปรับเปลี่ยนกิจกรรมใหมเ่ ขา้ มาทดแทนกิจกรรมเก่า เพอื่ ใหม้ ีรายได้และกาไรมากข้ึนกว่าเดมิ ตลอดจนพิจารณาเรื่องความต้องการของตลาดและความสอดคลอ้ งของพื้นท่ี ขน้ั ตอนท่ี 3 เป็นการทดแทนและปรับเปลี่ยนกิจกรรมใหม่ หลังจากได้มีการพัฒนาและปรับปรุงฟาร์มผา่ นขนั้ ตอนตา่ ง ๆ เชน่ การปรับปรงุ ดา้ นวชิ าการ ด้านการใช้ปจั จยั การผลิตใหค้ ุ้มคา่ กบั การลงทุนและการทดแทนและปรับเปลี่ยนกจิ กรรมใหมแ่ ลว้ ข้ันตอนท่ี 4 คอื การลงทุนในทรพั ย์สนิ ถาวร เน่ืองจากอาจจะมีการขยายธรุ กจิ ฟาร์มให้ใหญ่ขนึ้ หรือมีกจิ กรรมใหม่ที่ต้องลงทุนและอาศัยปัจจยั พ้ืนฐาน ระบบการให้นา้ อุปกรณแ์ ละเครื่องจักรกลการเกษตร รวมทงั้

53ระบบการผลิตท่ีเชื่อมโยงระบบธรุ กจิ ในดา้ นการตลาดและสินเชอื่ มากขึ้น ซ่ึงจะส่งผลภาพรวมในระยะสั้นและระยะยาวของฟาร์มใหม้ รี ายได้และกาไรมากขึ้นกวา่ เดิม ตลอดจนมีความมั่นคงในระบบการผลิตแนวทางการปรับปรุงฟาร์มข้นั ตอนที่ 1 การปรบั ปรงุ ด้านวิชาการ : Technological Improvement ในการปรับปรุงข้นั ตอนท่ี 1 นีเ้ ป็นการปรบั ปรงุ ด้านวชิ าการโดยไมต่ ้องลงทุนเพิ่ม วิชาการใด ๆ ก็ตามท่ีนามาใช้ในฟาร์มเพือ่ ปรับปรงุ ใหด้ ขี ้นึ หรือให้กาไรสูงขึน้ กวา่ เดมิ โดยไม่ต้องเสยี เงนิ ทองหรือลงทนุ เพิม่จากเดมิ ที่เกษตรกรมปี จั จยั ทางทุนที่จากัด เมือ่ ได้พจิ ารณาจะเหน็ ได้ว่าส่ิงท่ีควรจะทาภายใตเ้ งื่อนไขดังกล่าวได้แก่ การเตรียมดนิ ที่ถกู ตอ้ งและเหมาะสม การปราบวัชพืชดว้ ยมือ วธิ ีการปลูก ระยะปลูก ฤดกู าลเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ เป็นต้น การปรับปรุงขน้ั ตอนท่ี 1 เป็นการวางแผนภายใต้ขีดจากัดหรือเงอื่ นไขต่อไปน้ี โดยทผ่ี ู้วางแผนจะทาอะไรไดบ้ า้ งให้ได้กาไรสูงขึ้นกว่าเดมิ >> ขดี จากัด (Constraints) และเงือ่ นไขในการปรบั ปรงุ ฟารม์ ขน้ั ตอนท่ี 1 << 1. จานวนพ้ืนที่ถือครองท่ีสามารถทาการเกษตรได้มเี ทา่ เดิม เกษตรกรไมส่ ามารถเพิม่ หรือลดพื้นทไี่ ด้ 2. ประเภทและชนดิ กิจกรรม (พืช สัตว์ ประมง) เหมือนเดิม รวมทงั้ ปริมาณการผลติ เทา่ เดมิ 3. ปจั จยั การผลติ ท่ใี ช้ เช่น แรงงานครวั เรอื น แรงงานจ้าง แรงงานแลกเปลี่ยน พันธพุ์ ชื พันธ์ุสัตว์ปุ๋ยเคมี ป๋ยุ ธรรมชาติ (ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ พชื สด) สารเคมี อาหารสตั วแ์ ละอ่ืน ๆ 4. อาศัยน้าฝน (ขึ้นอยกู่ บั สภาพฟาร์มเดมิ ) 5. ราคาผลผลติ แตล่ ะชนิดของกิจกรรม ขอใหเ้ สมือนหนึ่งมรี าคาเทา่ เดมิ 6. เกษตรกรมเี งินทนุ (เงินสด) เท่าเดิมในการลงทุน เชน่ เดยี วกับสภาพฟาร์มกอ่ นการปรับปรงุ >> ศักยภาพ (Potentials) หรอื แนวทางการปรบั ปรุงฟาร์มขน้ั ตอนที่ 1 << การปรับปรงุ ด้านวชิ าการทไ่ี มต่ อ้ งลงทุนเพ่ิม - การเตรียมดนิ อยา่ งดี มีประสทิ ธิภาพ และถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ - การใชพ้ ันธุ์ดี (โดยนาพนั ธเ์ุ กา่ มาแลกพนั ธใ์ุ หม่ในราคาท่ีเท่ากนั ) - การคดั และเตรยี มพันธ์ุดที ี่ถกู ต้อง รวมท้ังวิธกี ารปลกู พชื และเลี้ยงสตั ว์ - การใชแ้ รงงานครอบครัวให้มากท่ีสุดในการจัดการทกุ ข้นั ตอนการผลิต - การใชป้ ุย๋ คอกหรอื วสั ดุในท้องถน่ิ ให้เกดิ ประโยชนม์ ากทส่ี ุด - การกาหนดช่วงฤดูกาลปลูกพชื และเลยี้ งสัตว์ใหเ้ หมาะสมกับปริมาณน้าฝน - การกาหนดระยะปลกู หรือจานวนสัตว์ต่อคอก หรือจานวนลูกปลาตอ่ บ่อ - การเกบ็ เก่ยี วและรักษาตามเวลาทเี่ หมาะสมและถกู ตอ้ ง - การจัดการด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลให้ผลกาไรสงู ขนึ้

54 แม้ว่าเกษตรกรจะทราบถงึ วิธีการทถี่ กู ตอ้ งในการปลกู พชื และเล้ยี งสตั ว์ แตถ่ า้ ไม่มกี ารนาไปปฏิบตั ิจรงิในไร่นากจ็ ะไม่เกดิ ประโยชนต์ อ่ เกษตรกร ดงั นัน้ เจ้าหนา้ ที่ส่งเสรมิ การเกษตรหรือผู้ท่ีมีหน้าทร่ี ับผิดชอบจึงต้องใช้ความพยายามและกลวธิ ีอยา่ งสูงทีจ่ ะให้เกษตรกรยอมรบั และนาไปปฏิบัตใิ นไรน่ าของเกษตรกรจริง ๆ การปรบั ปรุงข้นั น้ถี อื วา่ มีความสาคัญท่ีสดุ ก็วา่ ได้ เพราะสภาพความเปน็ จรงิ เกษตรกรไมช่ อบการลงทุนเพ่ิมหรอื มีเงนิ ทนุ จากดั อยู่แล้ว และอีกหลาย ๆ อย่างทยี่ ากและลาบากในการเปลย่ี นแปลงความรู้ ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมของเกษตรกร อย่างไรกต็ าม หากมคี วามพยายามจนถงึ ทส่ี ุดแล้วกอ็ าจมีขอ้ ยกเว้น โดยส่วนรวมแล้วผลประโยชน์จะตกอยู่กับเกษตรกรเอง และเกษตรกรเป็นผูต้ ัดสนิ ใจ แนวทางในการทาแผนและงบประมาณฟารม์ ในขน้ั ตอนที่ 1 1. จดั ทาแผนปฏทิ ินการปลกู พชื และเลีย้ งสตั ว์ 2. คานวณค่าใช้จ่ายการผลิตแต่ละกจิ กรรม (งบประมาณ) 3. คาดคะเนผลผลติ ทีเ่ พมิ่ ข้ึนจากการปรับปรุงด้านวชิ าการ 4. ยดึ ถือราคาผลผลิตเท่าเดมิ 5. คานวณหากาไร (Gross Margin) 6. ทาแผนการใช้เงนิ ทนุ กระแสเงินสด (Cash Flow) 7. ใหค้ าแนะนาทางวิชาการประกอบการวางแผน 8. ทาแผนการใช้แรงงานและกระจายแรงงาน ถา้ มีข้อมูลและจาเป็น 9. หาผลตอบแทนการใชท้ ่ีดิน เงนิ ทุน และแรงงาน

55การปรับปรุงการใช้ปัจจัยการผลติ : Bought Inputs เกษตรกรมีผลกาไรสูงขน้ึ ดงั น้ันในการปรับปรุงขน้ั ตอนตอ่ ไปจะทาอยา่ งไรเมือ่ ทา่ นทราบปัญหา และจดุ อ่อนทางวิชาการและท่านไดใ้ ห้คาแนะนาแล้ว ต่อไปนี้เปน็ การลงทนุ โดยมีการปรับปรงุ เพ่มิ เติมในการใช้ปัจจัยการผลิต (Bought Inputs) ตามจานวนเงินทุนที่สามารถจะซอื้ ได้ เพ่ือใหก้ าไรสูงขึ้นกว่าเดมิ ปจั จัยการผลติ เหล่านไ้ี ดแ้ ก่ พนั ธุ์ ปยุ๋ ยา เคมี อาหารสัตว์ เป็นตน้ โดยทัว่ ๆ ไปควรทาความเขา้ ใจทฤษฎีเรอื่ งปัจจัยการผลติ และทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรท์ ใี่ ชใ้ นการจัดการฟาร์ม - ประเภทปัจจัยการผลติ ทางการเกษตร - ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจัยการผลติ กับผลผลติ * กฎวา่ ดว้ ยผลตอบแทนทไี่ มไ่ ดส้ ัดส่วน The Law of Non – Proportional Returns หรือ บางครง้ัเรียกวา่ กฎว่าด้วยการเพมิ่ ขึ้นในอตั ราท่ีลดนอ้ ยถอยลง The Law of Diminishing Returnsประเภทปจั จยั การผลติ ทางการเกษตร ปจั จัยการผลติ ในการผลติ ทางการเกษตร แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ปัจจยั คงที่ (Fixed Inputs) ปจั จยั ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงในชว่ งระยะเวลาท่ีทาการผลิต ซึ่งปัจจยัการผลติ ประเภทนี้จะทาการผลิตหรือไมก่ ็ตาม ผู้ผลิตจะต้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยในรูปของเงนิ สดหรือไม่เปน็ เงนิ สดอยู่แล้ว เช่น ค่าเสอ่ื มราคาของอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งจกั รกลการเกษตร คา่ ภาษที ีด่ ิน เป็นต้น

56 2. ปจั จัยผันแปร (Variable Inputs) คือปัจจัยท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เพ่ิมหรือลด) ในชว่ งระยะเวลาที่ทาการผลิต ซึ่งปัจจัยการผลิตประเภทนี้ ถ้าหากทาการผลิตมากจะต้องใช้ปัจจยั การผลิตมากและเสยี ค่าใช้จ่ายมากด้วย ในทางตรงกันข้ามถ้าหากทาการผลติ นอ้ ยจะตอ้ งใช้ปจั จยั การผลิตนอ้ ยและเสียค่าใช้จา่ ยนอ้ ยตามไปด้วย เช่น พนั ธพุ์ ชื พันธ์สุ ตั ว์ ปยุ๋ อาหารสตั ว์ สารเคมี แรงงาน ค่าซ่อมแซมอปุ กรณ์การเกษตร ค่าดอกเบ้ยี เงนิ กู้ เป็นตน้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปจั จยั การผลติ กบั ผลผลติกฎวา่ ด้วยผลตอบแทนที่ไมไ่ ด้สัดส่วนหรือ กฎวา่ ดว้ ยการเพ่ิมขึ้นอย่างลดน้อยถอยลงในการผลิตน้ันเม่อื ใสป่ ัจจัยผนั แปรใด ๆ เขา้ ไปในปัจจยั คงท่ีท่ีมีอย่อู ย่างจากดั แลว้ นนั้ ในตอนแรกผลผลิตท้ังหมดจะเพ่มิ ขน้ึอย่างรวดเร็ว (ผลผลติ เพิ่มขึ้นในอัตราท่เี พิ่มขึ้น) ต่อไปผลผลติ ท้งั หมดจะคอ่ ย ๆ เพ่ิมข้นึ อยา่ งลดน้อยถอยลง(ผลผลติ เพม่ิ ขน้ึ ในอัตราที่ลดลง) จนกระท่ังถงึ จดุ หน่ึงผลผลิตท้ังหมดเร่มิ ลดลง ในการใช้ปจั จัยการผลิตทางการเกษตรนน้ั ต้องมกี ารศกึ ษาและพิจารณาอยา่ งรอบคอบและมหี ลกั เกณฑ์ เพราะวา่ การผลิตทางด้านการเกษตรน้ันแตกต่างไปจากการผลติ ทางด้านอตุ สาหกรรม โดยทัว่ ไปแล้วถา้ ตอ้ งการผลผลิตมากก็ต้องใช้ปัจจยั การผลิตมากตามไปด้วย ในด้านการเกษตรถ้าใช้ปจั จยั การผลิตมากหรือมากเกนิ ไป แทนท่ีจะไดผ้ ลผลิตมากหรือเพ่ิมขน้ึ กอ็ าจจะลดลงได้ เพราะทางด้านการเกษตรนน้ั เก่ยี วขอ้ งกับสงิ่ มชี ีวติ และมปี ัจจยั ทางธรรมชาติมากมายที่ไม่สามารถควบคมุ ได้ ขอยกตัวอย่าง ข้าว ถา้ ใส่ปยุ๋ ในปริมาณต่าง ๆ กนั ผลผลติ จะเพ่มิ ในระดบัต่าง ๆ ดงั แสดงในตัวอย่างนี้ระดบั ที่ 1 2 3 4 5 6ปรมิ าณปุย๋ ท่ีใส่ (กก.) 0 10 20 30 40 50ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 180 220 280 300 310 300ใชป้ ุ๋ยเพ่ิม (กก.) 10 10 10 10 10ผลผลติ เพมิ่ 40 60 20 10 10

57 จากตวั อยา่ งน้ีจะเหน็ วา่ การใช้ปุ๋ยในระยะแรก ๆ นัน้ ผลผลิตทงั้ หมดเพ่ิมขึน้ มาก ถ้าหากใชป้ ุย๋ เกิน40 กก.ต่อไร่ หรือเกินระดบั ท่ี 5 ผลผลิตทั้งหมดจะลดลง เมื่อพิจารณาการเพิม่ ของผลผลติ แลว้ ผลผลติ เพิ่มจะเพิม่ ในอตั ราทลี่ ดลง เม่ือใส่ปุ๋ยเกิน 20 กก.ตอ่ ไรห่ รอื เกินระดบั ที่ 3 ลักษณะนเ้ี รียกวา่ การลดนอ้ ยถอยลงของผลผลิตเพิม่ขั้นตอนท่ี 2 การใชป้ จั จยั การผลิต จะต้องซือ้ ปจั จัยมาชว่ ยเพอ่ื จะทาใหผ้ ลกาไรสูงกว่าเดิม จะขอยกตวั อยา่ งการใช้ปยุ๋ เพ่อื เพิม่ ผลผลติ ของขา้ วทุก ๆ กโิ ลกรัมของปุ๋ยทใ่ี ช้ ผลผลติจะสูงเพมิ่ มากขึ้นถงึ ระดับหน่ึง (ขนึ้ อยูก่ บั สภาพท้องถน่ิ ) ปยุ๋ กโิ ลกรัมแรกอาจจะได้ผลผลิตเพม่ิ ขน้ึ กว่าปยุ๋ กโิ ลกรมั สุดท้าย ถ้าหากเพม่ิ จานวนป๋ยุ มากขน้ึ ไปเร่อื ย ๆ ผลผลิตสว่ นท่ีเพ่มิ ข้ึนจะเพม่ิ ทลี ะนอ้ ย ๆ จนกระทัง่ ไม่เพม่ิ ขน้ึ เลย ซง่ึ เรยี กปรากฏการณเ์ ช่นนี้วา่ ผลตอบแทนไมไ่ ด้สัดส่วนหรือลดน้อยถอยลง การท่ีจะเพ่ิมผลผลิตให้มากขนึ้ จนถงึ จดุ สูงสุด (Maximum Outputs) โดยการเพม่ิ จานวนปยุ๋ นนั้เปน็ ไปได้ แตม่ ิได้หมายความว่าจะเป็นสง่ิ จาเป็นท่ีจะทาใหไ้ ดผ้ ลกาไรสูงสุด (Maximum Profit) ระดบั การผลิตท่จี ะทาใหเ้ กษตรกรมผี ลกาไรน้นั ข้ึนอยูก่ บั ราคาของปยุ๋ ที่ใช้และราคาของขา้ ว และเนือ่ งจากราคาเปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ ระดบั หรือจานวนปัจจยั ที่เกษตรกรใช้จงึ ตอ้ งเปล่ยี นไปดว้ ย ตามท่ีกล่าวว่าผลผลิตเพม่ิ ขน้ึ ทีละน้อย ๆ (จากจานวนปุ๋ยทกุ ๆ กิโลกรมั ทีใ่ ชเ้ พิ่ม) ผลผลติ เพ่มิ (Marginal Product) กจ็ ะเพ่ิมอยู่เรอื่ ย ๆ เปน็ การเพม่ิ ในอัตราท่ีลดลง จนกระทงั่ ถงึ ระดบั หนึง่ ผลผลิตเพิม่ จะไม่เพิม่ ข้นึ คือ จะเทา่ กับศูนย์ (0)ณ จุดนีผ้ ลผลติ เปน็ การเพิ่มข้นึ ในอตั ราทล่ี ดลงทงั้ หมดจะสูงสุด ถ้าหากยังใสป่ จั จัย (ปยุ๋ ) เขา้ ไปอกี ผลผลิตท้งั หมดจะลดลง

58 จากทก่ี ล่าวมาแลว้ ข้างตน้ ว่า จุดกาไรสูงสดุ จะเกยี่ วขอ้ งกับราคาป๋ยุ และราคาข้าวท่ีไดร้ บั ผลผลิตข้าวท่ีเพม่ิ ขึน้ และปริมาณปุ๋ยที่ใช้เพมิ่ ขึน้ ในแต่ละชว่ งท่ใี หผ้ ลผลิตข้าวเพิ่มข้นึ แตผ่ ลผลิตสูงสุดเปน็ จุดที่ผลผลิตขา้ วที่เพิ่มขึน้ ไมม่ ีการเพิ่มอกี แล้วหรือเท่ากับศนู ย์ (0) ดงั นั้นจุดกาไรสงู สดุ มิใชเ่ ป็นจุดเดียวกบั จดุ ผลผลิตสูงสดุ กล่าวโดยสรปุ ระยะหรอื ชว่ งของการเพิม่ ผลผลติ หรอื ผลไดจ้ ะมี 3 ระยะดงั นี้ ระยะที่ 1 ผลผลติ หรอื ผลไดเ้ พิม่ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็ (การเพมิ่ ขึ้นในอตั ราท่ีเพิ่มขนึ้ ) เรยี กว่า IncreasingReturns ระยะที่ 2 ผลผลติ หรือผลไดเ้ พมิ่ ข้ึนอยา่ งลดน้อยถอยลง (การเพ่ิมขนึ้ ในอตั ราที่ลดลง) เรียกว่าDiminishing Returns ระยะท่ี 3 ผลผลิตหรอื ผลได้ลดลง (การเพ่มิ ขนึ้ เท่ากับศูนย์) เรียกวา่ Decreasing Returns) การแสดงกราฟความสมั พันธร์ ะหวา่ งปัจจัยผันแปรกับผลผลติ ทไี่ ด้รับในการใชป้ จั จัยผนั แปรทรี่ ะดับตา่ ง ๆ >> ขีดจากดั (Constraints) และเงือ่ นไขในการปรบั ปรุงฟารม์ ขน้ั ตอนท่ี 2 << 1. จานวนเน้ือทเ่ี ท่าเดิมไมม่ ีการขยายหรือลด 2. กิจกรรมพชื และสตั วเ์ หมอื นเดมิ รวมทง้ั เนื้อทที่ ี่ดาเนนิ กิจกรรม 3. ใช้แรงงานให้มปี ระสิทธิภาพและเนน้ การใช้แรงงานในครอบครัว 4. อาศัยนา้ ฝน (ขน้ึ อยูก่ บั สภาพฟาร์มเดมิ ) 5. ราคาผลผลิตเท่าเดมิ

59 6. มีการเพิ่มทนุ ได้ในการซ้ือปจั จยั การผลิต แตต่ อ้ งอยู่ในกาลงั ความสามารถของเกษตรกร >> ศักยภาพ (Potentials) ในการปรบั ปรุงฟาร์มขั้นตอนที่ 2 << เกษตรกรสามารถมีการเพม่ิ เงนิ ทนุ ในการซื้อปัจจัยการผลิตได้ แตต่ ้องอย่ใู นกาลงั ความสามารถและการตดั สินใจของเกษตรกรวา่ จะเพิ่มทนุ ไดอ้ ีกสักเทา่ ไร โดยเน้นในหลักการงา่ ยๆ วา่ ทนุ ท่ีเพ่มิ ขน้ึ จากการใส่ปัจจยั ลงไป ควรจะน้อยกวา่ รายได้ท่เี พม่ิ ข้ึนจากการเพิม่ ทนุ ลงไป แนวทางในการทาแผนปรับปรงุ ฟารม์ ขน้ั ตอนที่ 2 1. จดั ทาแผนปฏทิ นิ การปลูกพชื และเล้ียงสตั ว์ 2. คานวณคา่ ใช้จ่ายการผลติ แต่ละกิจกรรม (งบประมาณ) 3. คาดคะเนผลผลิตทีเ่ พิ่มขน้ึ จากการปรบั ปรงุ โดยใช้ปัจจัยการผลติ 4. ยดึ ถือราคาผลผลิตเท่าเดิม 5. คานวณหากาไร (Gross Margin) 6. ทาแผนการใชเ้ งินทนุ กระแสเงินสด (Cash Flow) 7. ใหค้ าแนะนาทางวิชาการประกอบแผนการผลติ 8. ทาแผนการใช้แรงงานและกระจายแรงงาน ถ้ามขี ้อมลู และมีความจาเป็น 9. หาผลตอบแทนการใชท้ ่ีดนิ เงินทุน และแรงงานทคี่ มุ้ ค่าท่สี ดุขั้นตอนท่ี 3 การทดแทน และปรบั เปล่ียนกจิ กรรมใหม่ (New Enterprise and Substitution) สาหรบั การปรับปรงุ ขน้ั ตอนที่ 3 เปน็ การเลอื กกจิ กรรมหรือทดแทนกจิ กรรมใหไ้ ด้กาไรของฟารม์ มากขน้ึ เราควรจะทาความเข้าใจเบอ้ื งตน้ ของลกั ษณะแต่ละกจิ กรรมท่ีมีผลต่อกนั เพ่ือจะช่วยให้ มปี ระสิทธภิ าพในการผลติ1. เลือกกจิ กรรม การเลือกกิจกรรม หมายถึง การเลือกพชื ท่ีจะปลูกด้วยกัน หรืออาจจะมีการเล้ียงสัตว์ประกอบเข้าดว้ ยกนั ในการผลิตหลาย ๆ อยา่ งน้ัน เพือ่ ท่ีจะลดความเส่ียง เพราะการผลติ ทางการเกษตรมีความเสีย่ ง เช่นกิจกรรมใดกจิ กรรมหนงึ่ ลม้ เหลว กย็ ังมีกิจกรรมอื่นมาทดแทนได้ แต่ในบางครงั้ การทากิจกรรมหลาย ๆ อย่างถ้าหากวา่ เกษตรกรไม่พรอ้ มหรอื ขีดความสามารถจากัด สภาพความเหมาะสมและทรัพยากรไม่เอื้ออานวยก็อาจจะทาให้กิจกรรมท้ังหมดลม้ เหลวได้ ดังน้ันควรพิจารณาให้รอบคอบเสียก่อนการเลือกกจิ กรรมท่ีทาร่วมกันซง่ึ พอแยกความสัมพนั ธอ์ อกไดด้ ังนี้ 1.1 กิจกรรมท่ีเป็นศัตรซู ่ึงกนั และกนั (Antagonistic Enterprise) กจิ กรรมชนิดนีเ้ มื่อนาเข้าไปในฟาร์มแล้วจะมีผลกระทบกระเทอื นต่อกจิ กรรมอื่น ๆ โดยอาจจะนาเชอื้ โรค หรือเปน็ ตัวพาหะ หรอื ทาลายซง่ึกันและกนั (ศัตรู)เช่น การเล้ียงปลากนิ เน้ือ (ปลาช่อน ปลาดกุ ) กบั ปลากินพชื (ปลานลิ ) หรอื การเลย้ี งปลานา้ เค็มในแถบชายทะเลและชกั นา้ เข้ารอ่ งสวน น้าเคม็ ในรอ่ งสวนทเี่ ลีย้ งปลา จะทาให้สวนผลไม้ตายได้ เป็นตน้

60 1.2 กจิ กรรมท่แี ข่งขนั กัน (Competitive Enterprise) กจิ กรรมทแ่ี ข่งขันในดา้ นการใชท้ รัพยากรธรรมชาตใิ นการผลิต เชน่ การปลกู หอมแดงกับกระเทยี มในแถบภาคเหนอื หากมีการปลกู พืชหอมแดงก็ต้องลดเนื้อทปี่ ลูกกระเทียม เนื่องจากท่ีดินเปน็ ปัจจัยการผลิตทจ่ี ากัด หรือการใช้แรงงานในการปลกู ข้าวโพดกับถัว่ลิสงหรอื ฝ้ายรวมกนั พืชทงั้ สองชนดิ มกั มีความตอ้ งการใช้แรงงานในคราวเดยี วกัน ฉะนน้ั กิจกรรมทงั้ สองตัวอยา่ งนี้ จงึ ตอ้ งแยง่ เรอ่ื งที่ดนิ และแรงงาน เป็นตน้ 1.3 กิจกรรมที่สนบั สนุน (Complementary Enterprise) กิจกรรมท่ที าด้วยกัน อานวยประโยชน์ใหก้ นั และกันในแง่ของผลผลติ หรอื สิ่งพลอยได้ ซง่ึ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ซ่ึงกันและกนั การปลูกถว่ั เหลอื งกับขา้ วโพดหรือฝ้าย การปลกู ผกั เลี้ยงสุกร เศษผักให้หมูกนิ ส่วนมลู หมใู ช้เปน็ ปุย๋ คอกในสวนผกั 1.4 กจิ กรรมท่ีเป็นอิสระซ่ึงกันและกนั (Independent Enterprise) กิจกรรมซงึ่ ไมม่ คี วามสมั พันธ์เกีย่ วขอ้ งกนั กับกิจกรรมอน่ื เลย เช่น การปลกู มันสาปะหลัง การเล้ียงปลา การเลย้ี งไกก่ บั สวนมะพร้าว ซึ่งในช่วงระยะแรก ๆ อาจจะมผี ลตอ่ กันในแง่ของแรงงานและทนุ แตใ่ นระยะยาวไมค่ อ่ ยจะมผี ล เพราะช่วงเกบ็เกี่ยวตา่ งกัน ซ่ึงสามารถหลบหลกี ได้ 1.5 กิจกรรมแทรก (Supplementary Enterprise) กจิ กรรมท่ีเพ่มิ เข้าไปเพ่อื ให้มีการใชป้ ัจจยั การ ผลิตให้เต็มที่ แต่จะไมม่ ผี ล กระทบกระเทือนต่อการเพ่ิม ผลผลิตและรายได้ เช่น การเลย้ี ง หมแู ละไก่ ในบรเิ วณเดยี วกันการ ทาสวนครัว และปลูกพชื ร้ัวกนิ ได้ เปน็ ต้น เปน็ การใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชนแ์ ละใชป้ จั จัยใหม้ ี ประสิทธิภาพ ไม่มีการเอื้อ อานวยหรือแข่งขนั กนั

612. หลกั การเลอื กกิจกรรมเขา้ ด้วยกนั 2.1 พิจารณาถึงรายได้ 2.1.1 เลอื กกิจกรรมหลกั (Main Enterprise) กจิ กรรมหลักหรอื กิจกรรมใหญเ่ ปน็ กจิ กรรมท่ีสามารถเขา้ กันกบั กจิ กรรมย่อยได้ และรายได้ส่วนใหญ่มากจากกจิ กรรมหลักน้ี 2.1.2 เลือกกจิ กรรมรอง (Minor Enterprise) กจิ กรรมรองท่ีสามารถเอ้ืออานวยประโยชน์กับกิจกรรมหลักได้ คอื สนับสนนุ (Complement) หรอื เสรมิ กจิ กรรมยอ่ ยอื่น ๆ ไดด้ ว้ ยรายได้ของฟาร์มจะเปน็ รายได้รองจากกิจกรรมหลัก 2.1.3 เลือกกิจกรรมแทรก (Supplementary Enterprise) กิจกรรมยอ่ ย ๆ เป็นการเสรมิรายไดแ้ ละเพ่อื ใหเ้ กิดการใช้ปจั จัยการผลิตใหม้ ีประสิทธิภาพและเต็มที่ กิจกรรมชนิดนอ้ี าจจะเพ่มิ รายได้เพยี งเล็กน้อยหรอื ไมเ่ พ่ิมเลยกไ็ ด้ หรอื อาจจะใช้บริโภคภายในครัวเรือนเท่าน้ัน 2.2 พิจารณาถงึ การใช้ปจั จัยการผลิตและอืน่ ๆ 2.2.1 ควรให้มกี ารใช้ทดี่ นิ ตลอดปี 2.2.2 ควรให้มีการใช้แรงงานในครอบครัวใหม้ ากท่ีสุดและแรงงานอื่นๆเปน็ ไปอย่างสมา่ เสมอตลอดปี 2.2.3 ควรให้มกี ารใช้เงนิ ทนุ หมุนเวียนอยูต่ ลอดเวลาและมรี ายได้และกาไรสม่าเสมอ 2.2.4 ควรพิจารณาถึงเงินทุนทีม่ ีจากดั 2.2.5 ควรให้มกี ารใช้เคร่อื งจกั รกลการเกษตรสม่าเสมอ 2.2.6 ควรใหม้ ีโอกาสสามารถเปลี่ยนแปลงทางเลือกหรอื ปรบั ปรงุ กจิ กรรมไดต้ ลอดเวลา ตามสถานการณ์ เชน่ การปลกู หมนุ เวยี น การปลูกพืชสลับ การปลูกพชื เหล่ือมกัน 2.2.7 ควรให้มีการทากิจกรรมแบบผสมผสาน เออ้ื อานวย และใช้ประโยชน์จากกันและกนั >> ขีดจากดั (Constraints) และเง่อื นไขในการปรับปรุงฟาร์มขัน้ ตอนที่ 3 << 1. จานวนเน้ือทีเ่ ทา่ เดิม แต่สามารถเพิ่มหรือลดในแตล่ ะกิจกรรมตามความต้องการได้ เมอ่ื รวมเนอื้ ท่ีของกจิ กรรมท้ังหมดแล้วจะตอ้ งเท่าเดมิ เหมือนคร้ังแรก 2. สามารถเปลย่ี นแปลงกจิ กรรมทดแทนหรือปรบั ปรงุ ได้ 3. ใชแ้ รงงานให้มีประสทิ ธิภาพ เนน้ การใชแ้ รงงานในครอบครวั 4. อาศัยนา้ ฝน (ขึน้ อยกู่ บั สภาพฟารม์ เดมิ ) 5. ราคาผลผลติ เท่าเดมิ 6. กาไรของฟาร์มจะตอ้ งมากกวา่ เดิม >> ศักยภาพ (Potentials) ในการปรับปรงุ ฟาร์มขัน้ ตอนท่ี 3 << เกษตรกรสามารถเพ่ิมเงินทนุ ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง และทดแทนกิจกรรมได้ หากพจิ ารณาวา่กิจกรรมเกา่ ไมส่ ามารถทารายได้ หรือมีปัญหาด้านการตลาด หรือราคาผลผลิตตกต่า หรอื เปน็ กิจกรรมทีแ่ ย่งทรพั ยากรกับกจิ กรรมอนื่ ๆ ภายในฟาร์ม นอกจากนี้ยังสามารถนาความรู้เร่อื งระบบการปลกู พืชเช่น การปลกูพชื หมนุ เวียน การปลกู พืชแซม การปลกู พชื เหลอ่ื มฤดเู ปน็ ตน้ มาผสมผสานในระบบการผลิตของฟาร์ม

62ตลอดจนผสมผสานดา้ นพชื สตั ว์ และประมงในลกั ษณะเกษตรผสมผสาน แนวทางในการทาแผนปรับปรงุ ฟารม์ ข้ันตอนที่ 3 1. จัดทาแผนปฏทิ ินการปลกู พืชและเล้ยี งสตั ว์ 2. คานวณค่าใช้จ่ายการผลิตแต่ละกิจกรรม (งบประมาณ) 3. คาดคะเนผลผลิตทเี่ พิ่มข้ึนจากการปรบั ปรงุ 4. ยึดราคาผลผลิตเทา่ เดมิ ตามชนดิ ของผลผลิต 5. รายไดร้ วมและกาไรรวมจะต้องมากกว่าเดิมจากขั้นตอนที่ 2 6. คานวณหากาไร (Gross Margin) แตล่ ะกิจกรรม 7. ทาแผนการใช้เงินทุน กระแสเงินสด (Cash Flow) 8. ใหค้ าแนะนาทางวชิ าการประกอบกิจกรรมใหมห่ รอื ปรับปรุง 9. ทาแผนการใช้แรงงานและกระจายแรงงาน ถ้ามขี ้อมูลและมคี วามจาเปน็ 10. หาผลตอบแทนการใช้ท่ีดิน เงนิ ทนุ และแรงงานขั้นตอนท่ี 4 การลงทนุ ในทรพั ยส์ ินถาวร (Investment) การปรับปรงุ ขั้นตอนท่ี 4 นี้ เป็นการทดแทนกจิ กรรมในสภาพทมี่ ีน้าชลประทาน เราสามารถวางแผนให้มีกิจกรรมตลอดทง้ั ปี อย่างน้อยทส่ี ดุ สามารถส่งเสริมวางแผนปลกู พชื และเลย้ี งสัตว์ไดถ้ งึ 2 – 3 ครัง้ในรอบ 1 ปี โดยผู้วางแผนมอี ิสรเสรีในการวางแผนตามภาวะจากัดของการตลาด ขีดจากัดของทรัพยากรและความสามารถทางวิชาการที่มีอยู่ ตลอดจนภาวะของสงั คมในท้องถิ่น เนื่องจากมีน้าชลประทานจึงอาจจะมีการซอื้ เครอื่ งสบู น้าและท่อสง่ น้าบ้าง และเน่ืองจากมีกจิ กรรมมากขน้ึ ตอ้ งทางานแข่งกับเวลา กอ็ าจจะมกี ารซื้อรถไถเดินตาม เคร่อื งพน่ สารเคมี เปน็ ตน้ ปัจจัยเหล่าน้ถี อื วา่ เป็นการลงทุนในทรัพยส์ นิ ถาวร การลงทุนดา้ นนี้จึงจาเปน็ ต้องพจิ ารณาให้รอบคอบเสียกอ่ น กอ่ นท่จี ะตดั สินใจซื้อหรือสร้าง เชน่ การซื้อรถแทรกเตอร์มาใช้ตอ้ งพิจารณาว่า ซ้ือรถแทรกเตอร์ท่ีใช้แล้ว ราคาถูกหรือจะซ้ือของใหม่ หรอื เช่ารถแทรกเตอร์ นอกจากนีใ้ นการสร้างโรงเรือนหรอื คอกสัตวก์ เ็ ชน่ เดยี วกัน จะต้องพิจารณาว่า จะสรา้ งอยา่ งดีสามารถใช้งานได้หลาย ๆ ปี หรือจะสรา้ งอยา่ งปานกลางและราคาถูก การลงทนุ ดังกลา่ วคอ่ นข้างจะใช้เงนิ ทุนจานวนมาก กอ่ ให้เกิดความยุ่งยากในการตัดสินใจพอสมควรวา่ ควรจะลงทุนในปัจจบุ นั หรือจะลงทุนในอนาคต และอาจจาเปน็ ต้องอาศยัแหล่งเงินทุนซึ่งเกยี่ วกับระบบสินเช่ือ อยา่ งไรก็ตามขั้นตอนน้ีค่อนข้างจะเป็นระดบั ทเ่ี กษตรกรมเี งนิ ทนุ พรอ้ มในการลงทุนการผลติ การปรับปรุงขน้ั ตอนท่ี 4 การลงทนุ ในทรัพย์สินถิ าวร หากมีการลงทุนในทรัพย์สินถาวรแล้วผู้วางแผนหรอื เจ้าของฟาร์มควรมคี วามร้ทู างดน้ เศรษฐศาสตร์ ดงั ต่อไปน้ี 1. ระบบการผลติ โดยเทคโนโลยีสมยั ใหม่ 2. ภาวะการผลิตและการตลาด 3. ระบบธนาคาร แหลง่ สนิ เชอ่ื และประเภทของเงนิ ทุน

634. มูลค่าเงินปจั จุบันและมูลคา่ เงนิ ในอนาคต5. สนิ เชอ่ื และการคิดอตั ราดอกเบี้ยในระบบการกยู้ ืม6. คา่ เส่ือมราคา ค่าเสยี โอกาส7. จดุ คุ้มทนุ8. ค่าใชจ้ ่ายคงทีแ่ ละผนั แปร9. การจัดการและบริหารฟาร์ม10. อื่น ๆ >> ขีดจากัด (Constraints) และเงือ่ นไขในการปรบั ปรุงฟาร์มข้ันตอนที่ 4 << 1. จานวนเน้ือที่สามารถเปลย่ี นแปลงได้ 2. สามารถเปล่ียนแปลง ทดแทนกิจกรรมได้ 3. มกี ารจา้ งแรงงาน และใช้เครือ่ งจกั รกลการเกษตรได้ 4. เนน้ การใชแ้ รงงานในครอบครัวเป็นอนั ดบั แรก 5. อาศยั แหลง่ นา้ ชลประทาน บ่อบาดาล สระน้า คลอง ทงั้ นข้ี น้ึ อยกู่ บั สภาพฟารม์ เดิม 6. ราคาของผลผลติ เทา่ เดมิ 7. กาไรรวมของฟารม์ จะตอ้ งสูงขึน้ มากกว่าเดมิ >> ศักยภาพ (Potentials) ในการปรบั ปรุงฟาร์ม ขั้นตอนที่ 4 << เกษตรกรสามารถมีเงินทุนเพมิ่ ซึ่งอาจจะหามาได้จากการจาหนา่ ยผลิตผลการเกษตรในรอบปีท่ผี ่านมา หรอื เงินออม หรอื กองทนุ หมุนเวยี นต่าง ๆ หรอื ขอรบั บรกิ ารสินเชื่อจากภาครัฐบาลและเอกชน ในการลงทุนทรัพยส์ ินถาวร เชน่ เครื่องสูบนา้ และท่อส่งน้า รถไถเดินตาม เครอ่ื งพ่น สารเคมี เครือ่ งเกบ็ เก่ียว เคร่ืองนวดหรอื กะเทาะเมล็ด เครือ่ งผสมอาหาร เครอ่ื งรีดนม โรงเรือน เก็บผลผลิต รถแทรกเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากโครงสรา้ งปจั จัยพ้นื ฐานเอือ้ อานวย เชน่ ระบบน้าชลประทาน ถนนหนทางสะดวก ระบบไฟฟ้าและน้าประปาระบบตลาดและสินเชอื่ ตลอดจนสถาบันการศึกษาและวจิ ัย ระบบขา่ วสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

64เทคโนโลยี (Information Technology) เปน็ ตน้ นอกจากนีแ้ ลว้ การผลติทางการเกษตรมีการผลิตในเชิงการคา้ มากขึ้น มธี รุ กจิ ของกิจกรรมภายในฟาร์มมากขน้ึ แรงงานมีจากัด ดังน้นั การแข่งขนั เชิงการผลิตและการคา้ จึงมมี ากขนึ้ ด้วย จึงทาให้ระบบการผลิตทเี่ ป็นอยู่ตอ้ งปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงใหท้ นั สมัยและทางานแข่งกบั เวลา เพื่อให้ได้สินคา้ ที่มีคณุ ภาพดี ตรงตามความตอ้ งการของตลาด >> แนวทางในการทาแผนปรบั ปรุงฟารม์ ขัน้ ตอนท่ี 4 ใชข้ ้อเดยี วกับขน้ั ตอนท่ี 3 <<แนวทางการวเิ คราะห์และส่งเสรมิ การวางแผนการผลติ จากแผนทไี่ ด้วางไว้นัน้ จะเปน็ จริงได้จะตอ้ งอยู่บนพ้ืนฐานของความเปน็ ไปได้หลายอยา่ ง กอ่ นที่จะนาแผนไปใช้เราจะต้องพิจารณาและวเิ คราะหก์ อ่ นวา่ แผนนั้นมีความเปน็ ไปได้มากน้อยเพียงไร และอะไรบ้างจะต้องเสี่ยงอันเนือ่ งมาจากขอ้ มูลที่เราไดม้ าไมช่ ัดเจน หรือยังไมผ่ ่านการพสิ จู น์ และยงั ขาดขอ้ มลู อะไรบ้างดังนั้นขอ้ มูลจากฟาร์มท่ีจะนามาวางแผนถือได้ว่าเป็นส่งิ สาคญั ท่ีสุดในการวางแผน หากขอ้ มลู เปน็ ข้อมูลทีแ่ ท้จริงจากฟาร์มถูกต้องมากเทา่ ไร และมากพอที่จะนามาวางแผนได้ แผนที่เกิดขน้ึ กจ็ ะมคี วามถกู ตอ้ งและมีประสทิ ธิภาพมากข้ึนตามไปดว้ ย ในการวางแผนการส่งเสรมิ อาจจะไมเ่ หมอื นกบั การวางแผนในการฝกึ ปฏิบัติ สาหรับการฝึกปฏบิ ตั ินั้นได้แบง่ ออกเปน็ ข้นั ตอนต่าง ๆ โดยเริ่มจากการเก็บและรวบรวมข้อมูล วเิ คราะหข์ อ้ มูลกอ่ นการปรับปรงุ การปรบั ปรุงข้ันตอนที่ 1 วิชาการทีไ่ มต่ อ้ งลงทนุ การปรับปรงุ ขัน้ ตอนที่ 2 การใช้ปจั จยั การผลิต การปรบั ปรงุ ขั้นตอนท่ี 3 การทดแทนกิจกรรม และการปรับปรงุ ข้นั ตอนท่ี 4 การลงทุนในทรัพย์สนิ ถาวร ขน้ั ตอนเหล่าเกดิจากผศู้ ึกษาสภาพการเกษตรทั่ว ๆ ไปในไร่นานามาแบ่งข้ันตอนเพ่อื ให้เห็นภาพพจน์ เปน็ ข้ันตอนและมี

65หลกั เกณฑ์ เพื่อใช้ ในการฝึกปฏิบัติใหผ้ ู้ฝึกเหน็ รูปแบบ และพฒั นาความรู้ปรับปรุงไรน่ าเปน็ ข้ันตอนจากฟาร์มที่ไมม่ ีความย่งุ ยาก จนกระทั่งมกี ารลงทุนและสลับซบั ซอ้ นขน้ึ ตามลาดับ แตใ่ นสภาพความเป็นจรงิ ฟารม์ ของเกษตรกรไม่จาเป็นจะตอ้ งเรม่ิ จากขน้ั ตอนท่ี 1 แลว้ พฒั นาปรับปรุงมาเป็นขนั้ ตอนที่ 2 หรือขน้ั ตอนที่ 3 หรือขน้ั ตอนท่ี 4 ตามลาดับ ฟาร์มของเกษตรกรหรือสภาพความเปน็ จริงในท้องถน่ิ จะอยูไ่ หนกไ็ ด้ นอกจากนี้ ฟาร์มของเกษตรกรอาจจะไมไ่ ด้อยู่ในขั้นตอนใดเลยกล่าวคือ มีส่วนของขั้นตอนต่าง ๆ ปะปนกนั ไปกไ็ ด้ ฉะน้นั นักส่งเสริมควรจะใชว้ จิ ารณญาณวินจิ ฉัยวา่ ควรจะทาอยา่ งไร เพื่อท่ีจะปรับปรงุ ฟาร์มใหด้ ขี ึน้ มกี าไรมากข้ึน ในทางปฏิบัตนิ กั สง่ เสริมอาจจะใชแ้ นวขนั้ ตอนตา่ ง ๆที่เรยี นรูจ้ ากการฝกึ อบรมมาผสมผสานกันทกุ ขน้ั ตอนหรือบางขนั้ ตอน หรือใช้ประสบการณ์ ความร้ขู องตนเองหรอื ความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รับมา ตลอดจนเอกสารหรือคาแนะนาต่าง ๆ มาประกอบการวางแผนส่งเสริมในการ ปฏิบตั ิจริง จะขอยกตวั อยา่ งฟารม์ ของ เกษตรกรรายหนง่ึ ซึ่งจากการเก็บขอ้ มูลจาก ฟาร์มดังกล่าว เกษตรกรรายน้ีอาจจะมี การ ใชป้ จั จัยการผลตแิ ล้ว เช่น ปุ๋ย สารเคมี พนั ธุ์ดี เป็นต้น มีการปลูกพืช เลีย้ งสตั วห์ ลายชนิด อาศัยน้าชลประทาน แต่ผลผลติ ยังไม่ดพี อ นกั สง่ เสริมต้องวิเคราะห์ ฟาร์มดูวา่ อะไรบ้างท่ี นกั สง่ เสริมจะชว่ ยได้ อะไรยงั เป็นปญั หาอยู่ เช่น อาจจะเปน็ ปัญหาด้านวิชาการฤดูกาล ปลกู ชว่ งการเกบ็ เก่ยี ว ระยะปลูก การเตรียมดิน หรอื การใช้ปจั จยั การผลิตอาจจะมากไปไมค่ ุ้มกับรายได้ทีไ่ ดร้ ับ เป็นตน้ จากท่ีกล่าวมาแล้ว ข้อมูลจะมคี วามสมั พนั ธ์กบั การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม ถ้าขอ้ มูลดี การวางแผนก็จะดีตามไปด้วย ดังนัน้ อยากจะใหน้ ักส่งเสริมตระหนกั และไตร่ตรองให้มาก โดยเฉพาะขอ้ มูลจากการทดลองและแหลง่ อน่ื ๆ ที่จะนามาใช้ว่า มีความแตกต่างจากสภาพฟารม์ ทเ่ี ปน็ จริง สักเท่าไร และมีอะไรบ้างท่เี ปน็ ขีดจากัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook