Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit2

unit2

Published by vanichb, 2017-07-19 21:48:36

Description: unit2

Search

Read the Text Version

6ความหมายของระบบการทาฟารม์ ระบบการทาาฟารม์ (Farming Systems) เป็นการทากจิ กรรมการเกษตรทีเ่ ป็นระบบของเกษตรกรประกอบด้วยองค์ประกอบหรือกจิ กรรมต่าง ๆ หลายอย่างและมีความสัมพันธซ์ ่ึงกันและกัน โดยการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรและปจั จัยการผลติ ทม่ี ีอยู่ในครอบครัว ซ่ึงมิใช่แคพ่ ชื สตั ว์ ประมง และกิจกรรมอืน่ ๆเทา่ น้นั แตร่ วมการทากจิ กรรมอนื่ ๆ ดว้ ย ไม่วา่ จะเปน็ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม และอาจใช้ระยะเวลาส้ันหรือระยะเวลานาน ซงึ่ เป็นผลมาจากความรคู้ วามเข้าใจและความสามารถ ตลอดจนพฤตกริ รมของเกษตรกรท่ีมีตอ่

7สภาพแวดลอม้ ทางธรรมชาตทอิ ยูร่ อบตัวตัวเกษตรกร และการทาฟารม์มปี ัจจัยต่าง ๆ มาเกย่ี วขอ้ ง ท้ังดา้ นเทคโนโลยีการผลติ สภาพชีวภาพ เศรษฐกิจและสงั คม และสภาพส่งิ แวดล้อมตามธรรมชาติ ระบบการทาฟารม์ (Farming Systems) หมายถงึ ระบบการเกษตรของเกษตรกรโดยการใชป้ ระโยชน์จากทรพัยากรททม่ี อี ยู่ในครัวเรือน มีองค์ประกอบหรือกิจกรรมหลาย ๆ อยา่ งแตล่ ะกิจกรรมมีความสัมพนั ธ์ซง่ึ กันและกนั และแต่ละกจิ กรรมตา่ งก็มปี จั จยั หลายอย่างมาเกีย่ วขอ้ ง เช่น ปจั จัยทางกายภาพชีวภาพ เศรษฐกจิ สงั คมและสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงกจิ กรรม หนึง่ จะมีผลกระทบไปถึงกจิ กรรมอ่นื ๆ ดว้ ย ระบบการทาฟารม์ มิไดห้ มายถึงเพยี งพืชตา่ ง ๆ มีสตั วต์ ่าง ๆ ที่เลีย้ ง หรอื กจิ กรรมอน่ื ๆในฟารม์ เท่าน้ัน แต่หมายถึงขอบข่ายเชือ่ มโยงอนั สลับซบั ซอ้ นของ ดิน พชื สัตว์ แรงงาน เครื่องมือและ ปจั จัยการผลิตต่างๆ ทเี่ กษตรกรมอยู่รวมทง้ั อทิ ธพิ ลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ และสงั คมซง่ึ เปน็ เงอ่ื นไขของเกษตรกรในการผลิตตลอดจนการปรบั เทคโนโลยกี ารผลิตให้เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มดังกล่าว เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายและความพอใจของ เกษตรกร ตวั อย่างแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ของปจั จัยต่าง ๆ ในระบบการทาฟาร์มเหน็ ไดว้ ่าปัจจัยตา่ ง ๆ มีสว่ นสัมพนั ธ์กัน เช่น ผลผลิตจากพืชไร่เปน็ อาหารสตั ว์ วสั ดรุ องคอกมูลสตั ว์นามาใช้ทาปยุ๋ เปน็ ต้นวิชา หลกั การจัดการฟาร์ม วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

8ความหมายของคาท่ีเกี่ยวข้องกบั ระบบการทาฟารม์ พืชเป็นองคป์ระกอบสาคญั ของระบบการทาฟารม์ ทงั้ นี้เพราะพืชเป็นอาหาร ยารักษาโรค ทอี่ ยู่อาศัย ธาตอุ าหารบารุงดินซึง่ เปน็ ส่วนสาคญั ของสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติมนุษยพ์ ยายามท่ี จะจดั ระบบการปลูกพชื ให้สะดวกและงา่ ยต่อการดูแลรักษาและเกบ็ เก่ียวผลผลิต จงึ ไดเ้ ปลย่ี นระบบ จากการทปี่ ลอ่ ยให้พชื ทป่ี ลูกขึน้ ปะปนกันอยา่ งไม่เป็นระเบยี บเชน่ ในสภาพธรรมชาติ มาเปน็ การปลกู อย่างเป็นแถวเปน็ แนวบา้ งหว่านเป็นผืนเดยี วกันบา้ ง ซ่ึงสามารถแบ่งระบบการปลูกพชื ตามวิธิการปลูก ระบบการปลูกพืช (Cropping System) เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการผลติ พชื ในฟารม์ หนงึ่ ๆ รวมไปถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ทีจ่ าเปน็ สาหรับการปลูกพชื และความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับส่ิงแวดล้อม ซึง่ ปจั จุบันมีลกั ษณะของระบบการปลกู พชื แบบต่าง ๆ มากมาย แบ่งระบบการปลูกพชื ไดก้ วา้ ง ๆ ออกเป็น 5 ระบบ คือ 1. ระบบการปลกู พชื ร่วม (Intercropping) หมายถึง ระบบการปลูกพืชต้ังแต่สอง ชนิดรว่ มกัน ในเวลาเดียวกนั หรือเวลา ใกล้เคียง กนั อาจเป็นรปู แบบใดก็ได้ ใน 2 รูปแบบ ดังนี้ 1.1 การปลกู แบบแซมเป็นแถว (Row Intercropping) หมายถึง ระบบการปลกู พชื รว่ มท่ีมอี ย่างนอ้ ยหน่งึ ชนดิ ที่ปลูกเป็นแถว ที่เหลอื นอกจากน้อี าจจะปลกู เปน็ แถวสลับกับพืชแรกหรือปลกู ไม่เป็นแถวอยู่ในระหวา่ งแถวของพชื แรกกไ็ ด้ 1.2 การปลูกแบบผสม (Mixed Intercropping) หมายถงึ การปลูกพืชร่วมท่ไี ม่เป็นแถวเปน็ แนวโดยปลกู ผสมกันไปตามความเหมาะสมของสภาพทีต่ อ้ งการตามธรรมชาติเช่นเดียวกับสภาพป่าไม้ในธรรมชาติ การปลกู พชื ร่วมในเวลาเดยี วกัน ใชเ้ ครือ่ งหมาย + แสดงการรว่ มของระบบ เชน่ ขา้ วโพด + ถัว่ ลิสงหมายถงึ การปลูกขา้ วโพดร่วมกับถัว่ ลิสงในเวลาเดียวกัน เป็นต้นวชิ า หลกั การจดั การฟารม์ วนชิ บญุ ผ่องเสถียร

9 2. ระบบการปลูกแบบรับช่วง (Relay Cropping) หมายถึง ระบบการปลกู พืชท่ีสองขณะทพี่ ชื แรกยัง ไมเ่ กบ็ เกี่ยวและหลงั จากพชื แรก ออกดอก โดยปลกู ในพนื้ ท่เี ดยี วกนั ซึ่ง อาจปลกรู ะหว่างแถว (inter – row) หรือ ปลูกผสม (Mixed) กไ็ ด้ การปลูกแบบรบั ช่วงร่วมกัน ใชเ้ ครื่องหมาย – แสดงการร่วมในระบบ เชน่ ข้าว – ถวั่ เหลอื ง หมายถงึการปลูกขา้ วแลว้ รบั ช่วงโดยการปลกู ถัว่ เหลืองก่อนการเกบ็ เก่ียวขา้ ว เป็นต้น 3. การปลูกพชื หมุนเวียน (Crop Rotation) การปลกู พืชสองชนิดหรือมากกว่าลงบน พื้นทเ่ี ดยี วกัน แต่ว่าปลกู ไม่พร้อมกัน โดยมี การจัด ลาดับพชื ทป่ี ลูกอยา่ งมรี ะเบียบ (Regular Sequence) ชนิดของพชื และหลักปฏบิ ัติในการปลกู พืชหมุนเวียน - เลอื กพืชให้เหมาะสมกบั ดิน ภูมปิ ระเทศและภมู ิอากาศ พืชทีเ่ ลือกควรสามารถปรบั ตวั เข้ากับสภาพแวดลอ้ มได้ เช่น ไมเ่ ป็นพืชที่ตอ้ งมีการพรวนดินบอ่ ยครง้ั - ในระบบการปลกู พืชหมนุ เวียนตอ้ งมีพชื ตระกูลถ่ัวหรือตระกูลหญ้า ซ่งึ มีการเจริญเตบิ โตอย่างหนาแน่น เพื่อเป็นการรักษาหรอื เพ่ิมปรมิ าณไนโตรเจนและอินทรยี วัตถุในดิน เพราะพชื บางชนิดทป่ี ลกู ในระบบพืชหมนุเวียน จะนาไนโตรเจนจากดินไปใช้เป็นจานวนมากในแต่ละปี เช่น ข้าวโพด มนั ฝรั่ง ยาสบู ฝา้ ยเป็นตน้ ตามปกติ ในระบบการปลกู พืชหมุนเวียนจะมีการปลูกพืชตระกลู ถ่ัวผสมกับหญา้ ตงั้ แต่ 1 ใน 4 ถงึ1 ใน 3 ของพ้นื ท่ีปลูกพืชหมนุ เวยี นหรือมากกว่า - การเลอื กลาดบั พชื การจัดลาดับพืชที่ปลกู ก่อนหลงั จะมีอทิ ธิพลต่อผลผลติ พชื ท่ีปลูกตามมา เช่นข้าวโพดท่ีปลกู ตามหลังพชื ตระกูลถวั่ ทีม่ ีรากหยงั่ ลึก ทาใหข้ ้าวโพดไดผ้ ลผลิตสูงกว่าเพราะ รากสามารถชอนไชไปในดินไดม้ ากกวา่ และไดร้ บั ไนโตรเจนจากเศษเหลอื ของพืชตระกูลถวั่ การจดั ลาดบั พชื ในระบบพืชหมนุ เวยี นมีความสาคัญในเขตพ้ืนที่ค่อนข้างแหง้ แลง้ เพราะจะทาให้มีความชืน้ ในดินเหลอื อย่แู ตกต่างกนั แล้วแต่ชนดิวชิ า หลักการจดั การฟาร์ม วนชิ บญุ ผอ่ งเสถียร

10ของพืชที่มีระบบรากแตกต่างกัน เช่น ข้าวโพดจะมีรากต้นื เม่ือเปรยี บเทยี บกับขา้ งฟ่าง พืชท่ีปลูกหลงั ข้าวโพดจงึ มีปรมิ าณความช้นื ที่เป็นประโยชน์ เหลือทจี่ ะใช้มากกว่าพชื ที่ปลกู ตามข้าวฟา่ ง ทาให้ผลผลิตของพืชทป่ี ลูกตามข้าวโพดสูงกว่าพืชที่ปลูก ตามขา้ วฟ่าง เป็นต้น 4. ระบบการปลกแู บบทวิกสกิ รรมหรือแบบรวม (Double of Sequential Cropping) หมายถงึระบบการปลกู พืชแรกจนเกบ็ เกีย่ วแลว้ จงึ ปลกู พืชทส่ี องตามทันทีหรอื เว้นช่วงไม่นานนกั โดยเฉพาะในสภาพของพื้นที่ทีย่ งั มีความชน้ื และนา้ ในดินเหลือจากการปลูกพชื แรกเพียงพอต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชท่ีสอง 5. ระบบการปลกู แบบตา่ งระดับ (Multi – Storeyed Cropping) หมายถึง การปลูกพชื ที่มีความสงู และความต้องการแสงสว่างแตกต่างกันในพื้นทเี่ ดียวกัน เช่น พืชตระกูลถวั่ โกโก้ กาแฟ พรกิ ไทย กานพลูและมะพร้าว ในพื้นท่ีและในเวลาเดียวกัน ซง่ึ แตล่ ะ่ ชนิดมคี วามสูงและความต้องการแสงแดดแตกต่างกันและสามารถอยรู่ ่วมกนั ได้ 6. ระบบการปลกู แบบราทนู (Ratoon Cropping) หมายถึง การใช้พืชที่สามารถจะยดื ระยะเวลาให้ผลผลิตได้มากกว่าหนง่ึ ฤดูกาลโดยไมต่ อ้ งมีการปลกู ใหม่ โดยใชว้ ธิ ีการตดั ใหเ้ หลือตอซึง่ จะแตกกงิ่ กา้ นและใหผ้ ลได้ใหม่ เช่น ฝ้าย อ้อย ข้าวฟ่าง สับปะรด ละหุง่ เปน็ ต้นประเภทของระบบการทาฟาร์ม การทากจิ กรรมการเกษตรของเกษตรกรมคี วามแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะครัวเรือน มีการจดั สรรทรัพยากรที่มีอยอู่ ย่างมรี ะบบ ซ่ึงเกิดจากการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์ การจัดระบบการทาฟาร์ม โดยการปลกู พืชหลายวชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนชิ บญุ ผอ่ งเสถยี ร

11ชนดิ ในพนื้ ที่เดยี วกนั ย่อมแก่งแย่งปจั จัยสาคัญในการเจริญเตบิ โตร่วมกนั การใชว้ ิธใี ดก็ตามท่ีเป็นการลดการแขง่ ขันการเจริญเติบโตของพืชดงั กล่าวให้นอ้ ยที่สุด และการให้ประโยชน์ซง่ึ กนั และกัน ตลอดจนการให้ประโยชน์แกเ่ กษตรกรมากทส่ี ุด นับว่าเป็นการจัดระบบการทาฟาร์มท่ีดี ถ้าพิจารณาระบบการทาฟาร์ม(Farming Systems) ตามลกษั ณะของพืชทป่ี ลูก สามารถแบง่ ระบบการทาฟาร์มได้ 4 ประเภทคอื 1. ระบบการทาฟาร์มท่ีมขี า้ วเปน็ พืชหลัก (Rice Base Farming System) เป็นระบบการทาฟาร์มในสภาพทร่ี าบล่มุ ทม่ี ีการปลกู ขา้ วเป็นพืชหลกั ในฤดูฝนตามด้วยพชื อ่ืน ๆ (พืชไร่ พืชผัก กอ่ นหรือหลังการปลกู ขา้ ว) ตวั อย่าง การปลกู พชื ท่มี ขี า้ วเป็นพชื หลกั ขา้ วนาปี – ขา้ วนาปรงั ข้าวนาปี – พืชผัก ถ่ัวเขยี ว – ขา้ วนาปี – ข้าวโพดฝักอ่อน งา – ขา้ วนาปี – ถวั่ เหลอื ง ข้าวนาปี – ถั่วลสิ ง – ขา้ วโพดหวานวิชา หลกั การจัดการฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถยี ร

12 2. ระบบการทาาฟารม์ ที่มพี ชื ไร่เป็นพืชหลกั (Field Crop Base Farming System) เป็นระบบการทาาฟารม์ ในท่ดี อนซึ่งเกษตรกรปลกู พชื ไร่เป็นพืชหลกั แล้วตามด้วยพืชอ่ืน ๆ ตัวอย่าง การปลูกพืชท่มี พี ชื ไรเ่ ปน็ พชื หลกั ขา้ วโพด – ถัว่ ลิสง ข้าวโพด – ข้างฟา่ ง ข้าวโพดฝกั อ่อน – ถว่ั เหลือง – ข้าวโพด งา – ข้าวโพด – ขา้ วฟ่าง 3. ระบบการทาฟารม์ ที่มีพชื สวนเปน็ พชื หลกั (Perennial Crop Base Farming System) เป็นระบบการทาฟารม์ ทั้งในสภาพท่ดี อนและที่ลมุ่ โดยมีพชื สวนปลูกเป็นพชื หลกั ซง่ึ ในสภาพท่ีลมุ่ จาเป็นต้องปลูกแบบยกรอ่ ง สว่ นในสภาพท่ดี อนไม่จาเปน็ ตอ้ งปลูกแบบยกรอ่ ง ในการจัดระบบการทาฟาร์มท่มี พี ืชสวนเป็นหลกั นั้น นิยมปลกู ไม้ผลเป็นพืชหลักและปลกูไม้ผล พชื ผัก พชื ไร่ เป็นพืชแซม ซึง่ พืชแซมเหล่านี้สว่ นใหญจ่ ะเป็นพชื ทีส่ ามารถทาเงนิ ใหเ้ กษตรกรภายในระยะเวลาอนั ส้นั ไม้ผลที่แนะนาใหป้ ลูกเป็นพชื หลัก ไดแ้ ก่ สม้ โอกระท้อน ขนนุ มะขามหวาน มะม่วง มะปรางหวาน ลองกอง มังคุด ไม้ผลทแ่ี นะนาใหป้ ลูกเปน็ พืชแซม ได้แก่ ไม้ผลที่กล่าวในขา้ งตน้ แตป่ ลูกระยะชิดเพื่อการขยายพันธุ์ และพุทรา น้อยหนา่ ฝรง่ั กล้วย มะละกอ พชื ผักทแ่ี นะนาใหป้ลกูเปน็ พืชแซม ได้แก่ มะเขือ ฟัก แตงกวา มะระ ถว่ั ฝักยาว ข้าวโพดฝักออ่ น แตงไทย พรกิ ตะไคร้ โหระพา สะระแหน่ พชื ไร่ทีแ่ นะนาใหป้ ลกู เปน็ พชื แซม ได้แก่ ถ่ัวเหลืองรบั ประทานฝกั สด ถว่ั ลิสงวชิ า หลกั การจัดการฟารม์ วนชิ บุญผ่องเสถยี ร

13 4. ระบบการทาฟารม์แบบไรน่าสวนผสม และการเกษตรแบบผสมผสาน (MixedFarming and Integrated FarmingSystem) เปน็ ระบบการเกษตรท่ีมี การปลูกพืชหรือเลยี้ งสัตว์ ประมง และกจิ กรรมอน่ื ๆ หลายชนิดในฟาร์ม เพ่ือตอบสนองตอ่การบริโภค เพอ่ื ลดความเส่ียงจากราคาผลผลติที่ไม่แนน่ อน อาจมีการจัดการให้กจิ กรรมการผลติ ผสมผสานเก้อื กลู กัน เพอ่ื ลดต้นทนุ การผลิตและคานงึ ถึงสภาพแวดล้อมเช่น การปลกู ไมย้ ืนต้นในนา การเลยี้ งหมูควบคู่กับ การเลี้ยงปลาในนาขา้ ว เป็นต้นวชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถยี ร

14รปู แบบระบบการเกษตรแบบยงั่ ยืนทเ่ี หมาะสม เกษตรกรรมย่ังยนื (Sustainable agriculture) หมายถงึ การทาการเกษตรท่ีตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคและเปน็ มติ รกบั สภาพแวดล้อม และความสมดุลของสภาพธรรมชาติ หมายถึง ระบบการผลติ ทางการเกษตรหรอื ระบบฟาร์มในรูปแบบต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับภูมนิ เิ วศของแต่ละพ้นื ท่ีจดั เปน็ ระบบการผลติ ท่ีเหมาะสม (Appropriate production system) กบั สภาพทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในไร่นาท่ีแตกตา่ งกันออกไป ซึ่งรูปแบบของระบบการผลตทิ างการเกษตรแบบยงั่ ยนื นัน้ จาแนกออกเปน็ ลักษณะต่าง ๆ ตามองค์ประกอบท่ีสาคัญและมหี ลากหลายรปู แบบหรือชอื่ เรยี กทไี่ มเ่ หมือนกนั กไ็ ด้ตามแต่ลกั ษณะการผลิตว่าจะเนน้ หนกั ด้านใด หรือมจี ุดเด่นที่ต่างกันออกไปอย่างไร รปู แบบหลัก ๆ ทชี่ ัดเจนและเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจกันท่วั ไป ไดแ้ ก่ 1. เกษตรผสมผสาน (Integrated farming) เนน้ กิจกรรมการผลิตมากกว่าสองกจิ กรรม ขน้ึ ไปในเวลาเดียวกนั และกิจกรรมเหล่านีเ้ กอื้ กลู ซ่ึงกนั และกนั เป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้มากข้ึนจากการใช้ประโยชน์ทรพั ยากรทด่ี นิ ทม่ี ีจากดั ในไร่นาใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด จุดเด่น คอื เปน็ การจัดการความเสี่ยง (Risk management) และการประหยัดทางขอบข่าย(Economy of scope) 2. เกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic farming) เนน้ หนักการผลติ ทไ่ี ม่ใช้สารอนินทรยี เ์ คมีหรอื เคมีสงั เคราะห์แตส่ ามารถใช้อินทรียเ์ คมีได้ เช่น สารสกัดจากสะเดา ตะไคร้หอม หรือสารสกัดชวี ภาพ เพือ่ เพม่ิ ความอุดมสมบรู ณ์แก่ทรพั ยากรดิน จดุ เดน่ คอื เป็นการสรา้ งความปลอดภัยด้านอาหาร (Food safety) ใหแ้ ก่ผูบ้ ริโภควชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม วนิช บุญผอ่ งเสถยี ร

15วชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม 3. เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) เน้นหนัก การทาการเกษตรท่ีไมร่ บกวนธรรมชาติหรือรบกวนให้นอ้ ย ทส่ี ดุ ที่จะทาได้ โดยการไม่ไถพรวน ไมใ่ ช้สารเคมีไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี และไม่กาจดั วชั พืช แตส่ ามารถมีการคลมุ ดนิ และใชป้ ยุ๋ พืชสด ได้ จุดเด่น คอื เปน็ การฟืน้ ฟคู วามสมดลุ ของระบบนิเวศ (Rehabilitation of ecological balance) และลดการพง่ึ พา ปัจจัย ภายนอก 4. เกษตรทฤษฎีใหม่(New theory agricultural) เน้นหนกั การจดั การทรพั ยากรนา้ ในไรน่ าใหเ้ พียงพอเพอ่ื ผลติ พืช อาหาร โดยเฉพาะข้าวเอาไวบ้ รโิ ภคในครัวเรือน รวมทงั้ มี การผลิตอื่น ๆ เพอ่ื บรโิ ภคแล่ะจาหนา่ ยสว่ นที่เหลือแกต่ ลาด เพือ่ สร้างรายได้อย่างพอเพียง จดุ เดน่ คอื เปน็ การสร้างความม่ันคงดา้ นอาหาร (Food security) ซ่งึ เปน็ ข้ันพ้นื ฐานของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ครวั เรอื น 5. วนเกษตร (Agroforestry) เน้นหนกั การมีต้นไม้ ใหญ่ และพืชเศรษฐกิจหลายระดับท่เี หมาะสมกับแตล่ ะพน้ื ท่ี เพื่อการใช้ ประโยชนป์ า่ ไม้ของพชื หรอื สัตว์ชนิดต่าง ๆ ท่ีเก้อื กลู กนั ทง้ั ยงั เป็นการเพมิ่ พ้นื ที่ของทรัพยากรป่าไมท้ ี่มีจากัดได้อกี ทางหนึ่ง จดุ เด่น คือ เปน็ การคงอย่รู ว่ มกันของป่าและการ เกษตรทั้งยังเพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) วนิช บุญผอ่ งเสถยี ร

16วชิ า หลักการจดั การฟาร์ม วนิช บญุ ผ่องเสถียร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook