Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน นายณัฐวุฒิ ศรีสนิท

PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน นายณัฐวุฒิ ศรีสนิท

Published by nuttawut_sapit, 2021-11-13 05:35:08

Description: PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน ครู ไม่มีวิทยฐานะ นายณัฐวุฒิ ศรีสนิท

Search

Read the Text Version

1PA1/ส แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สำหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ ครู (ยังไม่มวี ทิ ยฐานะ) โรงเรียนอนุบาลเมอื งเสลภูมิ สำนักงานพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา่ งวนั ที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565 ผู้จดั ทำข้อตกลง ชือ่ นายณัฐวุฒิ นามสกุล ศรสี นทิ ตำแหนง่ ครู (ยังไม่มีวทิ ยฐานะ) สถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลเมอื งเสลภมู ิ สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 3 รับเงนิ เดอื นในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดอื น 2x,xxx บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการ เรียนรู้จริง)  ห้องเรยี นวชิ าสามญั หรือวิชาพน้ื ฐาน  หอ้ งเรยี นปฐมวยั  ห้องเรียนการศกึ ษาพิเศษ  ห้องเรียนสายวชิ าชพี  หอ้ งเรียนการศกึ ษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไมม่ ีวิทยฐานะ) ซึ่งเปน็ ตำแหน่งที่ดำรงอย่ใู นปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไว้ดังต่อไปน้ี ส่วนที่ 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่ 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชัว่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ช่วั โมง/สปั ดาห์ดงั น้ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน ป.3 จำนวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ รายวิชา ภาษาไทย ชัน้ ป.4 จำนวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า ภาษาไทย ชนั้ ป.5 จำนวน 4 ชวั่ โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/รายวิชา การงานอาชพี ป.4 จำนวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ศิลปะ ป.4 จำนวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวชิ า ประวัติศาสตร์ ป.4 จำนวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น/รายวิชา ลกู เสอื ป.3 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น/รายวชิ า ชมุ นมุ แนะแนว จำนวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์

2 1.2 งานสง่ เสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สปั ดาห์ -การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ -การสรา้ งและพัฒนาสือ่ การเรยี นการสอน จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ -การพัฒนาจดั ตกแต่งห้องเรียน จำนวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ -การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ -การมีส่วนร่วมในชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC) จำนวน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 4 ช่วั โมง/สปั ดาห์ -คณะกรรมการพัฒนาฝา่ ยบรหิ ารงานท่วั ไป จำนวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์ -คณะกรรมการโครงการห้องเรยี นพเิ ศษ (IEP) จำนวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 8 ช่วั โมง/สปั ดาห์ -งานอา่ นออกเขียนได้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ -งานหอ้ งเรียนสีขาวปลอดอบายมขุ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ -งานกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม วถิ ีพทุ ธ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ -งานกจิ กรรมลดเวลาเรยี น จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

3 2. งานทจี่ ะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตำแหนง่ ครู(ให้ระบุรายละเอยี ดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะดำเนินการอยา่ งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยกไ็ ด้) งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้วี ัด (Indicators) ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียน ลักษณะงานท่ปี ฏิบัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบ)ุ กบั ผู้เรียน (โปรดระบุ) เปลีย่ นแปลงไปในทาง ทด่ี ขี ึ้นหรือมีการพฒั นา มากข้ึนหรือผลสัมฤทธิ์ สงู ข้ึน (โปรดระบุ) 1. ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม 1. จัดทำหลกั สูตรกล่มุ 1. นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ 1. นกั เรยี นร้อยละ 80 ถึงการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร สาระการเรียนรู้ ตรงตามหลักสูตรตอ้ งรู้ มีความรู้ตามตวั ช้วี ดั ท่ี การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัด ภาษาไทยช้นั ป.3 หลกั สตู รสมรรถนะและ ต้องรู้ในรายวชิ า กิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือ ตวั ช้วี ัดทีก่ ำหนดอย่างมี ภาษาไทย กลุ่มสาระ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง ประสิทธภิ าพ เรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นป.3 เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดการ ตรงตามหลักสตู ร เรียนรู้ การศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สมรรถนะท่ีกำหนด เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศที่สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี น และ 2. ออกแบบหน่วยเรยี นรู้ 2. นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ 2. นกั เรยี นร้อยละ 80 การอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ กลมุ่ สาระเรยี นรู้ ตามหนว่ ยการเรียนรู้ มคี วามรู้ตามหลกั สตู ร ผเู้ รียน ภาษาไทยช้นั ป.3 รายวชิ าภาษาไทย ท่ีตอ้ งรู้ตามตัวช้ีวดั ชั้นป.3 ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ และมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามที่กำหนดไว้ 3. จดั ทำแผนการจัดการ 3. นกั เรยี นไดเ้ รียนร้ตู าม 3. นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 เรียนรรู้ ายวชิ าภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู้ ไดเ้ รยี นรูอ้ ย่างมีความสขุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทยกลุ่ม และมคี วามร้ตู ามตัวชวี้ ดั ภาษาไทยช้ัน ป.3 สาระการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รสมรรถนะ/ ภาษาไทย ช้ันป.3 ท่มี ี หลกั สูตรต้องรู้และสง่ ผล คณุ ภาพ และบนั ทกึ ผล ใหม้ ีความเข้าใจใน หลังการสอนท่สี ะท้อน เนื้อหาทค่ี รไู ดท้ ำการ ผลในการจัดกิจกรรม สอน การเรียนรู้

4 งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators) ทจี่ ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกดิ ขน้ึ กบั ผูเ้ รยี น ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังให้เกดิ ข้นึ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ การ ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมิน (โปรดระบ)ุ กับผ้เู รยี น (โปรดระบ)ุ เปลีย่ นแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรอื มีการพัฒนา มากขึน้ หรอื ผลสัมฤทธิ์ สงู ขนึ้ (โปรดระบ)ุ 4. ผลติ สือ่ การสอน 4. นักเรยี นได้รบั การ 4. นักเรียนรอ้ ยละ 80 ในรายวชิ าภาษาไทย พัฒนาในการเรยี นการ เกดิ ทักษะการเรียนรู้ กลมุ่ สาระเรียนรู้ สอนโดยใช้ส่อื พัฒนา ทกั ษะการคิด ทกั ษะ ภาษาไทยชั้น ป.3 ทักษะรายวิชาภาษาไทย การทำงาน ทกั ษะการ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ แก้ปญั หา ทักษะการ ภาษาไทย ช้นั ป.3 เชอื่ มโยง และทักษะ ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ การสอ่ื สาร ตามเกณฑ์ที่ 5. สรา้ งเครื่องมอื วดั 5. นักเรยี นไดร้ บั การวัด กำหนดไว้สง่ ผลให้มี ประเมินผลการเรยี นรู้ ประเมินผลโดยใช้ สมรรถนะตามตัวชีว้ ดั ตรงตามหลกั สูตร ตามมาตรฐาน และ เคร่ืองมือและแบบ ตวั ชว้ี ัดรายวชิ าตรงตาม ประเมนิ ตามตวั ชว้ี ัด 5. นักเรียนร้อยละ 80 หลักสตู รท่ีตอ้ งรู้ ที่หลากหลาย มี มีผลสมั ฤทธิ์ผ่านตาม เกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษา ประสทิ ธิภาพและ กำหนดไวท้ กุ ตัวช้ีวดั นา่ เชื่อถอื จัดเก็บข้อมูล เปน็ ระบบ 6. ศึกษาข้อมูลนกั เรียน 6. นกั เรียนไดร้ ับการ 6. นักเรียนรอ้ ยละ 80 เป็นรายบุคคลเพ่อื หา แก้ปัญหาโดย มีทักษะการแก้ปัญหา แนวทางแกป้ ัญหา กระบวนการวจิ ัยใน ผ่านเกณฑ์ตามทก่ี ำหนด และจดั ทำวจิ ยั ในช้นั ชนั้ เรยี น ไว้ เรยี น 7. นักเรียนมีส่วนร่วมใน 7. นักเรียนร้อยละ 80 7. จดั บรรยากาศ ในเรยี นการสอน รปู แบบ การจัดบรรยากาศในช้ัน มคี วามสนใจและ Online On–Hand เรียนมีความพึงพอใจ กระตือรือร้นในการร่วม Onsite ใหเ้ อ้ือตอ่ การจดั และได้ช่วยเหลือจัดป้าย ทำกจิ กรรมส่งผลให้ กิจกรรมภายใต้ชว่ ง นเิ ทศ มีมุมแสดงผลงาน นักเรยี นมีความสขุ ใน สถานการณ์ Covid-19 ของตนเอง การเรยี นรสู้ ง่ ผลต่อการ พัฒนาผลสมั ฤทธิ์

5 ของนกั เรียนใหส้ งู ขึ้น งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators) ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกดิ ข้นึ กบั ผูเ้ รียน ลกั ษณะงานทปี่ ฏิบตั ิ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ข้นึ ที่แสดงให้เห็นถึงการ ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบ)ุ กับผเู้ รียน (โปรดระบุ) เปล่ียนแปลงไปในทาง ท่ดี ขี ้นึ หรือมกี ารพัฒนา มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ สูงขน้ึ (โปรดระบุ) 8. จดั กิจกรรมแนะแนว 8. นักเรยี นช้นั ป.3 8. นกั เรียนรอ้ ยละ 100 พัฒนาคณุ ลักษณะที่ดี เป็นผู้มีคณุ ลกั ษณะที่ดี มคี ุณลักษณะทีพ่ งึ ของนักเรยี น ป.3 และ ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผอู้ นื่ ประสงคต์ ามที่ กิจกรรมครูประจำช้นั โรงเรียน และสงั คม สถานศึกษากำหนดไว้ พบนกั เรยี นในชั่วโมงเชา้ ก่อนเข้าเรียนใน สถานการณป์ กติ 2. ดา้ นการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ลักษณะงานทีเ่ สนอให้ 1. จัดทำขอ้ มูลในระบบ 1. นักเรียนมรี ะบบข้อมูล 1. นักเรยี นร้อยละ 100 ครอบคลุมถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ สารสนเทศของนกั เรยี น สารสนเทศ สะดวกตอ่ มขี ้อมลู ในระบบ ของผู้เรียนและรายวิชาการดำเนินการตาม ชน้ั ป.3 และในรายวิชา การใชง้ านและมี สารสนเทศครบถว้ น ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงาน ทท่ี ำการสอน เอกสาร ประสทิ ธิภาพ และ ในทุกดา้ นเปน็ ระบบและ วิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา งานประจำชน้ั แบบ ปพ. สามารถนำขอ้ มูลมาใชไ้ ด้ รายบุคคล และการประสานความรว่ มมอื กับผู้ปกครอง ต่าง ๆ ทันที ภาคเี ครอื ข่าย และหรือสถานประกอบการ 2. ออกเยี่ยมบ้าน 2. นักเรยี นชั้น ป.3 2. นักเรียนร้อยละ 100 นกั เรียน ชน้ั ป.3 มขี ้อมลู พ้ืนฐานเปน็ ได้รับการดแู ลเอาใจใส่ อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ รายบคุ คล และ ตรงตามความต้องการ 2 ครั้ง ทัง้ แบบเยย่ี มตาม ชว่ ยเหลอื ในเรอ่ื งตา่ งๆ รายบุคคลและมี สภาพจรงิ และ Online จากข้อมูลการเยยี่ มบ้าน ความสมั พนั ธ์อันดี จัดหาทนุ การศึกษา ระหว่างครูและนกั เรยี น นกั เรยี นยากจน 3. โครงการต่างๆ 3. นกั เรียนได้เรยี นรู้ 3. นกั เรียนรอ้ ยละ 100 ทไี่ ดร้ บั มอบหมายตาม ในกิจกรรมท่ีหลากหลาย ได้รบั การพัฒนา มีสว่ น ทโ่ี รงเรียนแต่งตง้ั ตามโครงการและ รว่ มในกิจกรรมทาง ให้รบั ผิดชอบ จัดเก็บ กิจกรรมท่ที างโรงเรียน วิชาการทโ่ี รงเรยี นจัดข้นึ ขอ้ มลู สารสนเทศของ ได้กำหนดข้ึนตลอดปี เกิดประโยชนอ์ ยา่ งมี โรงเรยี นและปฏิบตั ิ การศึกษา ระบบ ตรวจสอบได้

6 หน้าท่ีตามที่ไดร้ ับ มอบหมาย งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วัด (Indicators) ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ท่ี ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ให้เกิดขน้ึ แสดง ให้เห็น ถึง การ ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมิน (โปรดระบ)ุ กับผูเ้ รียน (โปรดระบุ) เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ี ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สงู ขึ้น (โปรดระบุ) 4. รว่ มประชมุ ผ้ปู กครอง 4. นักเรียนได้รับความ 4. นักเรียนร้อยละ 80 ผ่านกลมุ่ ไลน์ (Line) ชว่ ยเหลอื จากผู้ปกครอง ไดร้ ับการดแู ลจดั สรรหา และจดั ประชุมปกติ หนว่ ยงานอ่ืนทเี่ กีย่ วขอ้ ง ทุนการศกึ ษาทำให้ ติดตาม การเรียนรหู้ ลาย และมขี อ้ มูลในระบบ นกั เรยี นมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ี ชอ่ งทาง สารสนเทศของโรงเรียน ข้นึ และการเรยี นของ นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ ่ี สูงขึน้ 3. ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง 1. เพื่อพัฒนาตนเองโดย 1. นกั เรียนได้รับการจัด 1. นักเรียนร้อยละ 100 การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ การเข้าอบรม/ประชุม/ กิจกรรมการเรยี นการ ได้รับการจดั กจิ กรรมการ ต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน สัมมนาตลอด สอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็น เรียนการสอนด้วยวธิ กี าร เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการ ปงี บประมาณ 2565 ใน สำคัญ มีกิจกรรมท่ี ทห่ี ลากหลายและ เรียนรู้ และการนำความรู้ความสามารถ สาขาและวิชาเหมาะสม หลากหลายเหมาะสม เหมาะสมกบั เนื้อหา ทักษะท่ไี ด้จากการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ กบั ระดับของตนเองเพอ่ื ตามความแตกตา่ ง ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ นำมาพัฒนาสอื่ และการ ระหว่างบุคคล ทำให้ ทางการเรียนสูงข้ึน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนา จดั กิจกรรมการด้านการ นักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ที่ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เรียนการสอนทั้งรูปแบบ สงู ขน้ึ 2. นักเรียนรอ้ ยละ 80 การอบรมแบบปกติ และ 2. นกั เรียนชนั้ ป.3 ไดร้ บั การแกไ้ ขเมอื่ เกดิ Online ได้รับการแกไ้ ขปญั หาใน ปัญหาทางการเรยี นรู้ 2. เขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ การเรยี น ได้เหมาะสม และปัญหาอน่ื ๆ ท่พี บ เพื่อพัฒนางานด้าน และความแตกต่าง เห็นอย่างต่อเนอื่ ง วิชาชพี (PLC) นำความรู้ ระหวา่ งบุคคลทำ เปน็ ระบบ มีผลสัมฤทธ์ิ ท่ไี ดม้ าสร้างสื่อและ นักเรยี นมผี ลการเรียนท่ี ทสี่ งู ข้ึน และได้รบั การ นวัตกรรมเพ่ือแกป้ ญั หา ดขี ้นึ รวมถงึ ได้รบั การ พฒั นา แกป้ ญั หาในการ นักเรยี นชน้ั ป.3 พัฒนาจากส่ือนวัตกรรม เรียนอย่างต่อเนื่อง การเรยี นการสอนท่คี รูได้

7 พฒั นาขนึ้ และนำมาใช้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าภาษาไทย หมายเหตุ 1. รปู แบบการจดั ทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ PA 1 ให้เปน็ ไปตามบรบิ ทและสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกนั ระหวา่ งผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรบั ผิดชอบหลักที่สง่ ผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของ รายวชิ าหลกั ท่ที ำการสอนทกุ ระดับช้นั ในกรณีทส่ี อนหลายรายวชิ า สามารถเลอื กรายวชิ าใดวิชาหน่ึงได้ โดยจะต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมนิ ผลการพฒั นางานตามข้อตกลง สามารถประเมินไดต้ ามแบบการประเมนิ PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการ เรยี นรู้ในบรบิ ทของแต่ละสถานศึกษา และผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผเู้ รียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็น สำคญั โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

8 ส่วนที่ 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทเี่ ป็นประเดน็ ทา้ ทายในการพฒั นาผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ีข้ึนหรือมีการ พฒั นามากขนึ้ (ทง้ั นี้ ประเด็นทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏบิ ัตทิ ค่ี าดหวงั ที่สงู กว่าได)้ ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกการอ่าน การเขยี นคำอกั ษรนำและคำควบกลำ้ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรแู้ ละคุณภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น การอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวัน เพราะเมื่ออ่านออกเขียนได้ก็จะเกดิ ความร้คู วามเขา้ ใจ นำไปสู่การสร้างความคดิ การตัดสนิ ใจแก้ปัญหาและกา้ วทันต่อเหตุการณข์ องโลกในยุคปัจจุบัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยใน ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นอนบุ าลเมือง เสลภูมิ ปัญหาที่พบ คือ การใช้ภาษาของนักเรียนมีข้อบกพร่องหลายประการ ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน แต่ที่เป็นปัญหามากคือปัญหาการเขียน โดยเฉพาะเรื่องคำควบกล้ำ นักเรียนอ่านอักษรควบกล้ำไม่ชัดเจน เช่น อา่ นอกั ษรควบ ร โดยไมอ่ อกเสียงควบกล้ำ เช่น แปรง ออกเสียงเปน็ แปง ปราบ ออกเสยี งเป็น ปาบ ครู ออกเสยี งเป็น คู อ่านอกั ษรควบ ล ไม่ออกเสยี ง ล กลำ้ เชน่ กลาง ออกเสยี งเป็น กาง ปลอด ออกเสยี งเป็น ปอด เนื่องมาจากนักเรียนส่วน ใหญ่ขาดทักษะด้านการอ่านการเขียน ทักษะเกี่ยวกับหลักภาษาและการใช้ภาษา นักเรียนมีความสับสนทางด้าน ภาษาไทย เพราะอิทธิพลของการใช้ภาษาถ่ินในชีวิตประจำวัน ความเคยชนิ กับการพูดของคนในชุมชน และครอบครัวของ นักเรียนท่ีใช้ภาษาในท้องถ่ินของตนในการสื่อสารกัน ทำให้ออกเสียงคำควบกล้ำไม่ชัดเจน ซึ่งมีผลทำให้การเขียนสะกด คำควบกล้ำไมถ่ ูกต้องตามไปด้วย เมือ่ การอา่ นการเขยี นไม่ถกู ต้องก็มีผลทำให้การสื่อสารผิดเพีย้ นตามไปด้วย ซึ่งถือ ว่าเป็นปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญอย่างยิ่งในการที่จะเรียนรู้ในกลุ่มสาระอื่น ๆ ต่อไป การฝึกทักษะภาษาไทยต้องอาศัย องค์ประกอบหลายๆ อยา่ ง เชน่ การฝกึ ย้ำซ้ำทวน ฝึกบอ่ ยๆ จึงจะทำใหผ้ เู้ รียนจำได้ ฟังเข้าใจ พูด อ่านและเขยี นได้ ถูกต้อง วิธีท่ีจะฝึกทักษะทางภาษาให้ได้ผลดีอีกวิธีหน่ึงคือ ได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและ ทักษะเพิ่มขึ้น การสอนภาษาไทยที่ครูใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นการสอนแบบบรรยายนักเรียนอ่านตามครู เขียนตาม ครู ยึดเนื้อหาในหนังสือเรียนเป็นหลัก ไม่มีสิ่งเร้าใจ ใช้เทคนิคเดิม ๆ ผู้เรียนเบื่อหน่ายไม่สนใจ การเรียน การจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนด้วยแบบฝึกทักษะเป็นอกี วิธหี นึ่งที่ชว่ ยให้ผูเ้ รียนเข้าใจในบทเรียนไดด้ ีขึ้น เพราะแบบฝกึ ทักษะเปน็ สว่ นประกอบทีส่ ำคัญในการสอนภาษา แบบฝึกทักษะจะทำใหเ้ ดก็ เกิดความแม่นยำ คลอ่ งแคล่วในแตล่ ะ ทกั ษะ สามารถใช้ภาษาส่ือความหมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ มคี วามคิดและเหตุผล และยังสามารถเร้าความสนใจของ นักเรยี นได้เป็นอยา่ งดีและสรา้ งความสนกุ สนานโดยไมเ่ กดิ ความเบ่ือหนา่ ยในการฝกึ ซ้ำ ดังนั้นการสอนภาษาไทยให้นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทยได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็วและถูกต้อง เครื่องมือสำคัญอย่างหน่ึงที่ใช้ฝึกทักษะทางภาษาคือ แบบฝึก ดังท่ีกรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ

9 กล่าวว่า การสอนภาษาไทยให้สนุกตอ้ งให้นักเรียนได้ทำแบบฝึกหัดใหม้ ากที่สุด ในแบบฝึกหัดนั้นย่อมมีคำตอบท่ถี ูก และผิด เมือ่ ครูชีแ้ จงใหท้ ราบว่าขอ้ ไหนถูกและข้อไหนผิดจะทำใหน้ ักเรียนรู้สึกสนุกยิ่งขน้ึ การใช้แบบฝึกเป็นสื่อการ สอนทจ่ี ัดทำขน้ึ เพ่อื ให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาทำความเข้าใจ ฝกึ ฝนจนเกดิ แนวคิดที่ถูกต้องและเกดิ ทักษะในเร่อื งใดเรื่องหนงึ่ นอกจากนี้แบบฝึกหัดยังเป็นเครื่องช่วยบ่งชี้ให้ครูทราบว่า ผู้เรียนหรือผู้ใช้แบบฝึกมีความรู้ความเข้าใจ บทเรียนและสามารถนำความรู้ไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด แบบฝึกมีความสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอน และมี ความสำคัญในการช่วยเหลือให้นักเรียนพัฒนาทักษะทางภาษา ซึ่งในการฝกึ ทักษะจำเป็นต้องอาศัยแบบฝึกทักษะใน การฝึกฝน หรือฝึกปฏิบตั ิเพือ่ ให้ผูเ้ รียนไดเ้ กิดการเรียนรู้จากการปฏบิ ัติด้วยตนเองและช่วยให้ผู้เรียนสามารถเขยี นได้ ถกู ตอ้ งแมน่ ยำ สอ่ื ความหมายได้และเกดิ การเรยี นรูไ้ ด้ดี จากหลักการและเหตุผลดงั กล่าว จึงได้ดำเนินการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านทกั ษะการอ่านและการ เขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการ เรยี นร้ภู าษาไทย สำหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เพ่อื สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนเกดิ การพัฒนาทางด้านการอ่านและการ เขียนคำควบกลำ้ ได้อยา่ งถกู ต้องและเปน็ พ้นื ฐานสำคัญในการเรยี นรู้ในระดบั สูงข้ึนต่อไป 2. วธิ กี ารดำเนินการใหบ้ รรลผุ ล 2.1 ศึกษาเอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แนวคดิ ทฤษฎีการเรยี นการสอน เพ่ือออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.2 ศกึ ษาปญั หาของนกั เรยี น วิเคราะห์ข้อมลู ทพี่ บในการจดั การเรยี นการสอน ด้วยกระบวนการ PLC 2.3 ศึกษาเทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning 2.4 ศึกษาเทคนคิ การใชแ้ บบฝึกทักษะและออกแบบสื่อพฒั นาการอา่ นและการเขียน เพือ่ ใหเ้ หมาะสม กบั เนื้อหาผ้เู รียนและมีประสิทธิภาพ 2.5 จดั ทำแบบฝกึ ทกั ษะการพฒั นาการอ่านและการเขียนตามท่ไี ด้ออกแบบไว้ 2.6 นำแบบฝึกทักษะไปทดลองใช้แล้วนำผลทีไ่ ด้มาปรับปรุง พฒั นา ใหเ้ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ มากยิ่งข้ึน 2.7 สร้างแบบประเมนิ ผลการอา่ นและการเขียน ก่อนเรยี น - หลังเรยี น 2.8 ประเมินผลการอ่าน การเขียน ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึก ทักษะการอ่าน การเขยี นคำอกั ษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 2.9 ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ออกแบบ ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 2.10 ประเมินและสะท้อนผลการอ่านและการเขียน หลังการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกแบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 2.11 นำผลการประเมินและสะท้อน มาบันทึกในระบบสารสนเทศผลสัมฤทธิ์ เพื่อให้มีข้อมูลท่ี จะสามารถนำไปพัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตั้งไว้

10 3. ผลลัพธ์การพฒั นาทค่ี าดหวงั 3.1 เชิงปรมิ าณ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 80 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนคำอักษรนำและคำควบกล้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี น 3.2 เชงิ คณุ ภาพ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถอ่านออก เขียนได้ มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่องการอ่าน การเขยี นคำอักษรนำและควบกลำ้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 2551 ลงชอื่ (นายณัฐวฒุ ิ ศรีสนทิ ) ตำแหน่ง ครู ผู้จดั ทำข้อตกลงในการพัฒนางาน 1 / ตลุ าคม / 2564 ความเหน็ ของผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เหน็ ชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน โดยมขี อ้ เสนอแนะเพอ่ื นำไปแกไ้ ข และเสนอเพ่อื พจิ ารณา อกี คร้ัง ดงั น้ี ......................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................................................ (นายจรี วัฒน์ เพยี รชนะ) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมอื งเสลภมู ิ ................/.............../..................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook