Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงานถอดเเละพันคอลย์มอเตอร์เกียร์-ยี่ห้อ-GTR-3-HP-3.2 (1)

คู่มือการปฏิบัติงานถอดเเละพันคอลย์มอเตอร์เกียร์-ยี่ห้อ-GTR-3-HP-3.2 (1)

Description: คู่มือการปฏิบัติงานถอดเเละพันคอลย์มอเตอร์เกียร์-ยี่ห้อ-GTR-3-HP-3.2 (1)

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน การถอดและพันคอยล์ มอเตอรเ์ กยี ร์ ยหี่ อ้ GTR 3 HP นายธนกร แกว้ นมุ่ รหสั 6241040011 สาขาเทคโนโลยไี ฟฟ้า วทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคใต้ อ้างองิ รายวิชา : การเขียนรายงานในอาชีพ รหัส : 20- 4000-1101 ทีป่ รึกษา : ดร.สมหวัง ศภุ พล

สารบัญ 1 1 บทนำ 3 ขั้นตอนการถอดและพนั คอยลม์ อเตอรเ์ กียร์ 9 เครือ่ งมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวัง 13 01.การถอดเชค็ มอเตอร์ 16 02.การถอดคอยลม์ อเตอร์ทีช่ ำรุด 19 03.การพันคอยล์มอเตอร์และลงคอยล์มอเตอร์ 21 04.การตรวจสอบวงจร 23 05.การอาบน้ำยาวานชิ ลวดมอเตอร์ 26 06 การตรวจสอบรายละเอียดก่อนส่งงาน 27 ภาคผนวก 45 ภาคผนวก ก มอเตอรไ์ ฟฟ้า 56 ภาคผนวก ข การตรวจเช็คมอเตอร์ ภาคผนวก ค การบำรุงรกั ษามอเตอร์ 59 ประวตั ิผู้จัดทำ หมายเหตุ ถา้ ไมจ่ บใน 1 หนา้ หนา้ ถัดไปให้พมิ พค์ ำวา่ \" สารบัญ(ต่อ) \".

-1- บทนำ ปัจจบุ นั มอเตอรไ์ ฟฟา้ มีบทบาทสาคญั ตอ่ ชวี ิตประจาวนั ทง้ั ภายในบา้ นท่ีทางานสถานที สาธารณะตา่ ง ๆ และมอเตอรไ์ ฟฟา้ เป็นอปุ กรณท์ ีนยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในโรงงานตา่ ง ๆ เป็นอปุ กรณ์ ทใ่ี ชท้ างานรว่ มกบั เคร่อื งจกั รกลในงานอตุ สาหกรรม มอเตอรม์ หี ลายแบบท่ีใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั งาน มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั มอเตอรช์ นดิ นีจ้ ะใชก้ บั แรงดนั ไฟฟ้า 220 v/380v 50 เฮิรท์ มีสายไฟเขา้ ไปตวั มอเตอร์ จานวน 3 เสน้ ดงั นนั การพนั มอเตอรไ์ ฟฟ้ า 3 เฟส มีความสาคญั มากเม่ือนาเอามอเตอรไ์ ปใชง้ าน เม่ือ มอเตอรม์ ี ปัญหาท่ีจะพนั ใหม่ จาตอ้ งอาศยั ช่างพนั มอเตอรท์ ่ีมคี วามชานาญงาน ดงั นนั การทาความเขา้ ใจถงึ วิธีการการ พนั มอเตอรไ์ ฟฟา้ 3 เฟส จงึ มคี วามสาคญั ท่ีจะทาการศกึ ษา จงึ มกี ารจดั ทาค่มู อื นเี้ พ่อื ใหค้ วามรูแ้ ละทกั ษะ การพนั มอเตอรไ์ ฟฟา้ 3 เฟส โดยมงุ่ เป้ าไปทปี ระชาชนท่ี ยงั ขาดความรูก้ ารพนั มอเตอรไ์ ฟฟา้ เพ่อื ใหม้ ีความรูแ้ ละทกั ษะการพนั มอเตอรไ์ ฟฟ้ า 3 เฟส เพ่ือนาไปใชง้ านใน ชีวิตประจาวนั ,ในหนว่ ยงาน ภาครฐั /เอกชนและประกอบอาชพี ไดต้ อ่ ไป ขนั้ ตอนการถอดและพนั คอยล์มอเตอร์เกยี ร์ 3 Ø มี 6ข้ันตอน การถอดเชค็ มอเตอร์ 01 การถอดคอยลม์ อเตอร์ท่ชี ำรุดออก 02 การพนั คอยล์มอเตอรแ์ ละลงคอยล์ 03 มอเตอร์

-2- ข้นั ตอนการถอดและพนั คอยล์มอเตอร์เกียร์ 3 Ø มี 6ขั้นตอน การวัดตรวจสอบวงจร 04 การอาบนำ้ ยาวานิชลวดมอเตอร์ 05 การตรวจสอบรายละเอยี ดก่อนสง่ งาน 06

-3- เคร่ืองมืออปุ กรณ์และข้อควรระวงั การถอดและพนั มอเตอรเ์ กียร์ 3 Ø คอ้ น (Hammer) ไขควง (screwdriver) ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง ควรจบั ค้อนใหถ้ นดั มือและเล็งใหด้ มี ิฉะน้ัน หา้ มกดไขควงแรงเกินไปเพราะจะทำให้ อาจทำใหต้ ีถกู มอื ได้ หวั นอตเสยี หาย ประแจ ( wrench) ประแจตวั ท(ี T-wrench) ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ควรใช้ ขนาดของประแจใหเ้ หมาะสมกบั ควรใช้ ขนาดของประแจให้เหมาะสมกบั งานที่จะทำ งานทจ่ี ะทำ คมี (pliers) ประแจหกเหลย่ี ม (hex wrench) ขอ้ ควรระวัง ขอ้ ควรระวัง ไมค่ วรใช้กบั ช้ินงานทใ่ี หญ่เกนิ กวา่ คมี จะ จับได้ ควรใช้ ขนาดของประแจให้เหมาะสมกบั งานท่ีจะทำ

-4- เครื่องมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวงั การถอดและพนั มอเตอร์เกยี ร์ 3 Ø สามขาดดู ลกู ปนื เวอรเนีย ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง ไมค่ วรจบั ชน้ิ งานทมี่ ขี นาดใหญ่จนเกนิ ไป วัดขนาดใหเ้ หมาะสมกับช้ินงาน เครื่องอดั ไฮโดรลิค คีมล็อค ข้อควรระวัง ขอ้ ควรระวัง ผใู้ ช้ควรศึกษากอ่ นใช้งาน ควรใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ชิ้นงาน แปรงทาสี เหล็กสกัดส่ิว ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ใชเ้ สรจ็ ควรล้างแปรงทาสีให้สะอาด ควรใชใ้ ห้เหมาะกบั ชนิ้ งาน

-5- เครือ่ งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวัง การถอดและพันมอเตอรเ์ กยี ร์ 3 Ø สวา่ นไฟฟา้ แปรงลวดกลมเหล็ก ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง ควรจับสว่านให้ถนัดมอื ตอนจะใชง้ าน ก่อนใชง้ านควรตรวจเช็คความเรียบร้อย ในการตดิ ตง้ั ก่อนใช้งาน แคมปแ์ อมป์ (clamp meter) นำ้ ยาวานิช ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ใชเ้ สรจ็ ควรปดิ ฝาถังให้สนิท กอ่ นใช้งานควรต้ังย่านวัดให้ตรงกบั ที่ใช้ งาน หลอดไฟอนิ ฟาเรดให้ความรอ้ น กระดาษไมลาร์ ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง การให้ความร้อนตอ่ ช้ินงาน ช้นิ งานนัน้ ควรวดั ขนาดและตดั กระดาษไมลาร์ให้ ตอ้ งมวี ัสดุทีท่ นตอ่ ความร้อน ตรงกบั ช้นิ งาน

-6- เครอื่ งมืออปุ กรณ์และข้อควรระวงั การถอดและพันมอเตอรเ์ กียร์ 3 Ø ลวดทองแดง ไมโครมเิ ตอร์ ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ควรระวงั ไมใ่ ห้ลวดทองแดงเกดิ การ ควรใชก้ บั ช้นิ งานทมี่ ีผิวเรยี บ ถลอกเสยี หาย ปลอกสายใยแกว้ แท่นตดั กระดาษ ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั ควรตัดกระดาษให้เหมาะสมกบั ชิน้ งาน ควรตัดขนาดให้เหมาะสมกับชิ้นงาน ถงั เชอ่ื ม หัวเช่ือมทองเลอื ง ขอ้ ควรระวัง ข้อควรระวัง ควรปิดวาลวท์ กุ ครัง้ หลังใช้งานและไม่ ควรปิดวาลวท์ ุกครงั้ หลังใช้งานและไม่ ควรวางไว้ใกล้กับวัตถุไวไฟ ควรวางไว้ใกลก้ ับวตั ถุไวไฟ

-7- เครื่องมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั การถอดและพันมอเตอร์เกียร์ 3 Ø จารบี น็อต ข้อควรระวงั ข้อควรระวงั ควรใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ชิ้นงาน ควรใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ชิ้นงาน ลกู ปืน หางปลา ขอ้ ควรระวัง ข้อควรระวัง ควรใช้ให้เหมาะสมกับช้ินงาน ควรใช้ให้เหมาะสมกบั ช้นิ งาน คมี ย้ำหางปลา เทอรม์ นิ อล ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง ควรใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ชิน้ งาน ควรยดื นอ็ ตให้แนน่

-8- เครื่องมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั การถอดและพันมอเตอรเ์ กยี ร์ 3 Ø ฝาครอบสายไฟ ใบพัดระบายความร้อนมอเตอร์ ข้อควรระวัง ขอ้ ควรระวงั ควรยดื น็อตให้แน่น ควรยืดน็อตให้แนน่ ฝาครอบใบพัดระบายความร้อนมอเตอร์ สีกันสนิม ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ควรยดื น็อตใหแ้ นน่ ควรปิดฝาทุกครั้งหลังใช้งาน

-9- 01 การถอดเช็คมอเตอร์ เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั

- 10 - 01 ข้ันตอนปฏบิ ตั ิงาน การถอดเช็คมอเตอร์ 1.คลายนอ็ ตถอดฝาครอบใบพดั 2.ถอดใบพดั ระบายความร้อน 3.คลายนอ็ ตฝามอเตอร์เพอื่ เชค็ มอเตอร์ 4.ถอดเกยี ร์มอเตอร์

- 11 - 01 5.นามอเตอร์ทถี่ อดมาตรวจเชค็ ว่ามสี ว่ นทไ่ีหน 6.ทาการวดั แกนเพลาด้านใบพดั ขนาดจะต้อง เสยี ไมต่ ่ากว่า22มลิ ลเิมตร 7.อดั ลูกปืนดว้ ยเครอ่ื งไฮโดรลกิ 8.เชค็ เบอร์ลูกปืน(6305,6306)

- 12 - 01 9.ลา้ งเกยี ร์ดว้ ยน้ามนั เบนซนิ เพอ่ื เชค็ ลูกปืน

- 13 - 02 การถอดคอยล์มอเตอร์ทช่ี ำรดุ ออก เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวงั

- 14 - 02 ข้นั ตอนการถอดคอยล์ มอเตอร์ทช่ี ำรดุ ออก 1. เชค็ วงจรและการลงคอยลข์ องมอเตอร์ 2.สกดั หวั สายมอเตอร์นาลวดมอเตอร์ออก 3. นาเหลก็ ปางใส่ไปทขี่ ดลวดแลว้ ใชค้ ้อนตี 4.การนบั รอบลวดมอเตอร์

02 - 15 - 5.ดงึ กระดาษรองฉนวนของเก่าออก 6. ขดั ทาความสะอาดมอเตอร์

- 16 - 03 การพันคอยลม์ อเตอร์และลงคอยลม์ อเตอร์ เครื่องมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวงั

- 17 - 03 ขัน้ ตอนการพนั คอยล์มอเตอร์ และลงคอลยม์ อเตอร์ 1.การตดั กระดาษไมล่าร์รองร่องสลอ็ ต 2. ทาการรองร่องสลอ็ ต 3.การวดั ลวดมอเตอร์(ลวดเบอร์22) 4. วดั และทาแบบพนั คอลยม์ อเตอร์ .

- 18 - 5.ทาการพนั คอลย์มอเตอร์(พนั 84รอบ) 6. การลงคอลย์มอเตอร์ 7.การกนั คอลย์มอเตอร์แต่ละเฟส 8. ต่อหวั สายมอเตอร์(แบบสตาร์) 9.ทาการเชอื่ มหวั สายมอเตอร์ 10.มดั เชอื กคอลย์มอเตอร์

- 19 - 04 การวดั ตรวจสอบวงจร เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั

- 20 - 04 ขัน้ ตอนการตรวจสอบวงจร 1.ทาการประกอบมอเตอร์ 2. ทาการทดลองและวดั แอมปม์ อเตอร์

- 21 - 05 การอาบนำ้ ยาวานชิ ลงลวดมอเตอร์ เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวงั

- 22 - 05 ขน้ั ตอนการอาบน้ำยาวานชิ ลวดมอเตอร์ 1.ทาการอาบน้ายาลงบนลวดมอเตอร์ 2.อบมอเตอร์ด้วยหลอดอนิ ฟาเรท

- 23 - 06 การตรวจสอบเกบ็ รายละเอยี ดก่อนสง่ งาน เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั

- 24 - 06 ข้ันตอนการตรวจสอบเก็บ รายละเอียดกอ่ นส่งงาน 1.ประกอบเกยี ร์ 2.ใส่จาราบลี งไปในเกยี ร์ทป่ี ระกอบไว้ 3.ปิดฝาครอบเกยี ร์แลว้ ขนั นอ็ ตให้แนน่ 4.นาโรเตอร์ใสเ่ ขา้ ไปในเกยี ร์ทปี่ ระกอบ

- 25 - 06 6.ทาสเีกบ็ รายละเอยี ดมอเตอร์ 5. .นามอเตอร์ใส่เขา้ กบั เกยี ร์ทป่ี ระกอบไว้ 7.ใสใ่ บพดั ระบายความร้อน 8.ใส่ฝาคอบใบพดั ระบายความร้อน 9.ใสก่ ลอ่ งไฟและเทอร์มนิ อล(ต่อแบบสตาร์) 10.ตรวจเชค็ งานก่อนส่งงาน

-1- ภาคผนวก

-1- ภาคผนวก ก. มอเตอร์ไฟฟ้า

-1- มอเตอรไ์ ฟฟ้า (องั กฤษ: electric motor) เป็นอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ท่แี ปลงพลงั งานไฟฟา้ เป็นพลงั งานกล การทำงานปกตขิ องมอเตอรไ์ ฟฟ้าสว่ นใหญเ่ กดิ จากการทำงานรว่ มกนั ระหว่างสนามแม่เหลก็ ของแมเ่ หล็กในตวั มอเตอร์ และสนามแมเ่ หล็กท่เี กดิ จากกระแสในขดลวดทำใหเ้ กดิ แรงดดู และแรงผลักของสนามแม่เหล็กท้งั สอง ในการใชง้ านตัวอยา่ งเช่น ใน อตุ สาหกรรมการขนสง่ ใช้มอเตอรฉ์ ุดลาก เปน็ ต้น นอกจากนนั้ แลว้ มอเตอรไ์ ฟฟา้ ยงั สามารถทำงานไดถ้ งึ สองแบบ ไดแ้ ก่ การสร้าง พลังงานกล และ การผลติ พลงั งานไฟฟา้ มอเตอรไ์ ฟฟ้าถูกนำไปใชง้ านท่หี ลากหลายเชน่ พดั ลมอุตสาหกรรม เครอ่ื งเป่า ปมั๊ เคร่อื งมอื เคร่อื งใช้ในครวั เรือน และ ดสิ ก์ไดรฟ์ มอเตอรไ์ ฟฟ้าสามารถขบั เคลอื่ นโดยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (DC) เช่น จากแบตเตอรี่, ยานยนตห์ รอื วงจรเรยี งกระแส หรือจากแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับ (AC) เชน่ จากไฟบา้ น อนิ เวอร์เตอร์ หรือ เคร่อื งป่นั ไฟ มอเตอร์ขนาดเล็กอาจจะพบในนาฬกิ า ไฟฟ้า มอเตอร์ทัว่ ไปท่มี ีขนาดและคณุ ลักษณะมาตรฐานสงู จะใหพ้ ลังงานกลทีส่ ะดวกสำหรับใชใ้ นอุตสาหกรรม มอเตอรไ์ ฟฟ้าทใ่ี หญ่ ทีส่ ุดใช้สำหรบั การใช้งานลากจูงเรอื และ การบีบอัดทอ่ สง่ น้ำมนั และปั้มป์สูบจดั เกบ็ น้ำมนั ซ่ึงมีกำลงั ถึง 100 เมกะวตั ต์ มอเตอรไ์ ฟฟ้า อาจจำแนกตามประเภทของแหลง่ ทม่ี าของพลงั งานไฟฟา้ หรอื ตามโครงสร้างภายในหรอื ตามการใช้งานหรือตามการเคลื่อนไหวของ เอาต์พตุ และอื่น ๆ อปุ กรณเ์ ชน่ ขดลวดแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และลำโพงท่ีแปลงกระแสไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ การเคลอ่ื นไหว แต่ไมไ่ ดส้ ร้างพลงั งานกลท่ีใช้งาน ได้ จะเรียกถกู ว่า actuator และ transducer ตามลำดบั คำว่ามอเตอร์ไฟฟา้ นน้ั ตอ้ งใชส้ ร้างแรงเชิงเสน้ (linear force) หรอื แรงบดิ (torque) หรอื เรียกอีกอยา่ งวา่ หมนุ (rotary) เท่าน้ัน โครงสรา้ งมอเตอร์ โรเตอร์ (ซา้ ย) และ สเตเตอร์ (ขวา)

-2- โรเตอร์ บทความหลกั : Rotor (electric) ในมอเตอร์ไฟฟา้ สว่ นท่เี คลือ่ นท่คี อื โรเตอร์ ซงึ่ จะหมนุ เพลาเพอ่ื จา่ ยพลังงานกล โรเตอร์มกั จะมี ขดลวดตวั นำพนั อยู่ โดยรอบ ซ่งึ เม่ือมีกระแสไหลผา่ น จะเกดิ อำนาจแม่เหลก็ ทีจ่ ะไปทำปฏกิ ิริยากบั สนามแมเ่ หล็กถาวรของสเตเตอร์ ขบั เพลาให้หมนุ ได้ อยา่ งไรก็ตามโรเตอรบ์ างตัวจะเปน็ แมเ่ หล็กถาวรและสเตเตอร์จะมีขดลวดตวั นำสลบั ทีก่ ัน ส่วนประกอบของโรเตอร์ สเตเตอร์ บทความหลัก: Stator จะเปน็ ส่วนที่อย่กู บั ทซ่ี ึ่งจะประกอบด้วยโครงของมอเตอร์ แกนเหลก็ สเตเตอร์ และขดลวด ช่องวา่ งอากาศ บทความหลกั : air-gap ระหว่างโรเตอรแ์ ละสเตเตอรจ์ ะเปน็ ช่องวา่ งอากาศ ซึง่ จะต้องมขี นาดเลก็ ทส่ี ุดเท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ ชอ่ งวา่ งขนาดใหญจ่ ะมี ผลกระทบทางลบอย่างมากตอ่ ประสิทธภิ าพการทำงานของมอเตอรไ์ ฟฟา้ ขดลวด บทความหลัก: Windings ขดลวดจะพนั โดยรอบเปน็ คอยล์ ปกตจิ ะพันรอบแกนแมเ่ หล็กออ่ นทเ่ี คลือบฉนวน เพื่อใหเ้ ป็นขว้ั แม่เหลก็ เมอื่ มี กระแสไฟฟ้าไหลผา่ น

-3- มอเตอรไ์ ฟฟา้ มีขั้วสนามแม่เหลก็ ในสองรูปแบบ ไดแ้ กแ่ บบขว้ั ทเ่ี ห็นไดช้ ดั เจนและแบบข้วั ทเ่ี ห็นไดไ้ ม่ชัดเจน ในขั้วทชี่ ดั เจน สนามแมเ่ หล็กของข้วั จะถูกผลิตโดยขดลวดพนั รอบแกนด้านลา่ ง ในขวั้ ทีไ่ ม่ชดั เจน หรอื เรยี กวา่ แบบสนามแมเ่ หลก็ กระจาย หรือ แบบรอบๆโรเตอร์ ขดลวดจะกระจายอย่ใู นชอ่ งบนแกนรอบโรเตอร์ มอเตอร์แบบขว้ั แฝงมขี ดลวดรอบส่วนหน่งึ ของข้วั เพื่อหนว่ งเฟส ของสนามแมเ่ หลก็ ของข้ัวนัน้ ใหช้ ้าลง มอเตอรบ์ างตวั ขดลวดเป็นโลหะหนากวา่ เช่นแทง่ หรือแผน่ โลหะทม่ี กั จะเปน็ ทองแดง บางทกี ็เปน็ อะลมู เิ นยี ม มอเตอรเ์ หลา่ น้ีโดย ปกติจะถูกขบั เคล่อื นโดยการเหนยี่ วนำของแม่เหลก็ ไฟฟ้า ตวั สบั เปลี่ยน บทความหลัก: Commutator (electric) รปู แสดงการทำงานของตัวสบั เปลยี่ นอย่างง่าย รูปแสดงการทำงานของตวั สบั เปลย่ี น ตวั สับเปล่ียนเป็นกลไกทใ่ี ช้ในการสลบั อินพทุ ของมอเตอร์ AC และ DC เพ่อื ใหก้ ระแสทไ่ี หลในขดลวดในโรเตอรไ์ หลทาง เดยี วตลอดเวลาในระหว่างการหมนุ ประกอบดว้ ยวงแหวนล่นื (องั กฤษ: slip ring)ชนิ้ เล็กๆแยกจากกนั ดว้ ยฉนวน วงแหวนนย้ี งั แยก จากเพลาของมอเตอร์ด้วยฉนวนอกี ดว้ ย วงแหวนแตล่ ะคู่ท่อี ยตู่ รงข้ามกนั จะเป็นขดลวดหนึ่งชดุ กระแสทจ่ี ่ายให้มดั ข้าวต้ม หรอื ท่ี เรียกวา่ armature ของมอเตอรจ์ ะถกู ส่งผา่ นแปรงถ่าน(อังกฤษ: brush)สองตวั ทแ่ี ตะอยูก่ ับตวั สับเปลีย่ นแต่ละด้านทีก่ ำลงั หมนุ อยู่ ซ่ึง

-4- จะทำใหก้ ระแสจากแหลง่ จ่ายไฟ AC ทไ่ี หลกลบั ทาง ไหลในขดลวดทิศทางเดียวในขณะทโี่ รเตอร์หมุนจากขั้วหนึง่ ไปอีกขว้ั หน่งึ ใน กรณที ไี่ มม่ ีกระแสแหล่งจา่ ยไมก่ ลบั ทางมอเตอร์จะ เบรกหยดุ อยกู่ บั ท่ี ในแง่ของความกา้ วหน้าทส่ี ำคัญในชว่ งไมก่ ่ีทศวรรษทีผ่ า่ นมา อนั เนอ่ื งมาจากเทคโนโลยที ่ดี ีขึน้ ในการควบคุมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มอเตอรเ์ หนย่ี วนำทค่ี วบคมุ โดยไมใ่ ชเ้ ซน็ เซอร์ และมอเตอรท์ ี่มี สนามแมเ่ หลก็ ถาวร มอเตอรท์ ม่ี ตี วั สบั เปลยี่ นแบบกลไกไฟฟ้า กำลงั ถกู แทนท่เี พ่ิมข้ึนด้วยมอเตอรเ์ หนย่ี วนำทใ่ี ชต้ ัวสับเปลย่ี น ภายนอกและมอเตอรแ์ บบแมเ่ หลก็ ถาวร ตัวอย่างแปรงถา่ นแบบหนงึ่ แหล่งจา่ ยไฟและการควบคุมมอเตอร์ แหลง่ จา่ ยไฟมอเตอร์ แหลง่ จา่ ยไฟของมอเตอร์ DC มกั จะผา่ นทางตวั สับเปล่ียนตามท่ีอธบิ ายไว้ข้างตน้ ตว้ สับเปลี่ยนของมอเตอร์ AC อาจเปน็ ได้ ท้ังแบบแหวนสลปิ หรือแบบภายนอกอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การควบคมุ อาจเปน็ แบบความเร็วคงท่ี หรอื แบบความเรว็ เปลยี่ นแปลงได้ และอาจเปน็ แบบ synchronous หรอื แบบ asynchronous ก็ได้ มอเตอรแ์ บบยูนิเวอรแ์ ซลสามารถทำงานทงั้ AC หรอื DC อยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง การควบคุมมอเตอร์ มอเตอร์ AC แบบความเรว็ คงท่จี ะถกู ควบคุมความเรว็ ดว้ ยตัวสตารท์ แบบ direct-on-line หรือ soft-start มอเตอร์ AC แบบความเรว็ แปรไดจ้ ะใช้ตัวปรับความเร็วที่เปน็ พาวเวอร์อินเวอรเ์ ตอร์ หรอื ตวั ปรับแบบใชค้ วามถหี่ รอื ใช้เทคโนโลยตี ัว สับเปลีย่ นอิเล็กทรอนกิ ส์หลายแบบแตกต่างกนั คำวา่ ตวั สับเปลีย่ นอเิ ลก็ ทรอนิกสม์ ักจะเก่ยี วขอ้ งกบั การใช้งานของตัวสบั เปลย่ี นทีไ่ มใ่ ชแ้ ปรงถา่ นในมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง และ ใน en:switched reluctance motor (มอเตอร์ท่ีขดลวดอยู่บนสเตเตอร)์

-5- ประเภท มอเตอรไ์ ฟฟา้ ทำงานบนหลกั การทางกายภาพที่แตกตา่ งกนั สามประการคอื แม่เหล็ก, ไฟฟา้ สถติ และ piezoelectric (ไฟฟา้ ท่เี กิดจากการกดดันทางกลไกทม่ี ตี อ่ ผลึกท่ีไมน่ ำไฟฟา้ ) โดยท่พี บมากท่สี ุดคือ แม่เหลก็ ในมอเตอรแ์ มเ่ หล็ก สนามแมเ่ หลก็ เกิดขน้ึ ท้ังในโรเตอรแ์ ละสเตเตอร์ สิ่งทเ่ี กดิ ขึน้ ระหวา่ งสองสนามนค้ี ือแรงบิดทีเ่ พลาของมอเตอร์ สนามแมเ่ หลก็ อนั ใดอันหนึง่ หรือทั้งสองสนามจะต้องถกู ทำให้เปล่ยี นแปลงไปกบั การหมนุ ของโรเตอร์ ซง่ึ จะทำได้โดยการสลบั ขัว้ เปดิ และปิดในเวลาท่ถี กู ต้องหรือการเปลย่ี นแปลงความเข้มของขั้วแม่เหลก็ ประเภทหลักของมอเตอร์ แบ่งเปน็ มอเตอร์กระแสตรง และ มอเตอรก์ ระแสสลับ มอเตอรก์ ระแสตรงกำลงั จะถกู แทนท่ีด้วย มอเตอรก์ ระแสสลับ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั มที ง้ั แบบ asynchronous และ synchronous. เมื่อเรม่ิ ทำงาน ซงิ โครนสั มอเตอรต์ ้องหมุนไปพรอ้ มกบั การเคลื่อนทขี่ องสนามแม่เหล็กในทุกสภาวะของแรงบดิ ปกติ ในซงิ โครนัสมอเตอร์ สนามแมเ่ หลก็ จะต้องเกดิ ขน้ึ โดยวธิ ีอื่นนอกเหนอื จากการเหนีย่ วนำ เชน่ จากขดลวดทแ่ี ยกตา่ งหากหรอื จาก แมเ่ หลก็ ถาวร มันเป็นเรื่องปกตทิ ี่จะแยกแยะความแตกตา่ งของความสามารถของพลงั งานทอี่ อกมาของมอเตอร์กบั เกณฑ์แรงมา้ ทมี่ ีค่าเป็นหนึง่ เพอ่ื ท่ีวา่ แรงมา้ เลขจำนวนเตม็ หมายถึงมอเตอรม์ แี รงม้าเทา่ กบั หรือสงู กวา่ เกณฑ์ และ แรงมา้ ทเ่ี ป็นเศษส่วน (องั กฤษ: fractional horsepower) หรอื FHP หมายถงึ มอเตอร์มแี รงมา้ ต่ำกว่าเกณฑ์ มอเตอร์ DC แบบใชแ้ ปรงถ่าน บทความหลัก: DC motor โดยนยิ าม มอเตอร์แบบสบั เปลยี่ นดว้ ยตนเองทงั้ หมดทำงานดว้ ยไฟ DC ซ่งึ ต้องใชแ้ ปรงถ่าน มอเตอร์ DC ส่วนใหญเ่ ป็น ประเภทแม่เหล็กถาวรขนาดเล็ก

-6- มอเตอร์ DC แบบกระตนุ้ ดว้ ยไฟฟา้ บทความหลัก: Brushed DC electric motor การทำงานของมอเตอร์ไฟฟา้ ทใี่ ชแ้ ปรงกับโรเตอรส์ องขัว้ และสเตเตอร์ทเ่ี ป็นแม่เหล็กถาวร (ข้ัว \"N\" หรอื ขว้ั \"S\" ทบี่ ่งไวบ้ น ผวิ หนา้ ด้านในของแม่เหลก็ ; ผวิ หนา้ ดา้ นนอกเป็นขวั้ ตรงข้าม) มอเตอร์ DC ทมี่ ตี ัวสบั เปลย่ี นจะมหี นงึ่ ชุดของขดลวดท่ีพันรอบอเมเจอรท์ ข่ี ่อี ยบู่ นเพลาโรเตอร์ เพลายงั แบกตัวสับเปลี่ยนอยู่ดว้ ย ตวั สบั เปลี่ยนจะทำตัวเป็นสวติ ชไ์ ฟแบบหมุนท่ีใช้งานได้นานปใี นการเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสตามชว่ งเวลาที่ไหลในขดลวด ของโรเตอรใ์ นขณะท่เี พลาหมุน ดงั นนั้ ทุกๆมอเตอร์ DC ทใ่ี ช้แปรงจะมกี ระแส AC ไหลผ่านขดลวดทีก่ ำลังหมนุ กระแสจะไหลผา่ น หนึ่งหรือมากกวา่ หน่ึงคู่ของแปรงทแ่ี ตะอยกู่ บั ตวั สับเปล่ยี น; แปรงเชื่อมต่อแหล่งจา่ ยไฟภายนอกกบั อเมเจอร์ทกี่ ำลังหมนุ อเมเจอรท์ ี่กำลังหมนุ ประกอบด้วยหนง่ึ หรือมากกวา่ หน่ึงคอยล์ของขดลวดที่พนั รอบแกนเหล็กอ่อนเคลอื บฉนวน กระแสจากแปรง ไหลผ่านตวั สับเปล่ยี นและขดลวดหนึ่งขดของอเมเจอรท์ ำให้อเมเจอร์เปน็ แมเ่ หล็กชั่วคราว (แมเ่ หลก็ ทเ่ี กิดจากไฟฟ้า) สนามแมเ่ หล็ก ทผ่ี ลิตโดยอเมเจอร์จะทำปฏิสัมพนั ธ์กับสนามแมเ่ หล็กอยูก่ ับที่ ท่ผี ลติ โดยแม่เหลก็ ถาวรหรือจากขดลวดสร้างสนามอื่นๆอยา่ งใด อย่างหนง่ึ แรงระหวา่ งสองสนามแม่เหลก็ มีแนวโนม้ ทีจ่ ะหมุนเพลาของมอเตอร์ ตวั สับเปลยี่ นจะสลับกระแสไฟทใี่ ห้กับคอยลใ์ น ขณะท่โี รเตอรห์ มุน เปน็ การรกั ษาขว้ั แม่เหล็กของโรเตอรใ์ หอ้ ยู่ในแนวที่สอดคล้องกับขว้ั แมเ่ หล็กของสเตเตอร์ เพือ่ ให้โรเตอรไ์ มเ่ คย หยุดนิง่ (เช่นเข็มทศิ ท่ไี มห่ มนุ ไปทางอ่ืน) แต่ชว่ ยใหห้ มุนตราบเท่าทพ่ี ลังงานถูกจา่ ยให้ มอเตอร์ DC แบบใช้ตวั สบั เปลี่ยนแบบคลาสสกิ มหี ลายขอ้ จำกดั เนื่องมาจากความจำเปน็ สำหรบั แปรงทตี่ ้องกดกับตัวสับเปลย่ี น แรง กดนจี้ ะสร้างแรงเสยี ดทานและจะเกิดประกายไฟในขณะทแี่ ปรงต่อวงจรและตัดวงจรกบั คอยลข์ องโรเตอร์ตอนท่แี ปรงเลอื่ นผ่าน รอยตอ่ ท่เี ปน็ ฉนวนระหว่างเซ็กชน่ั หนึง่ ไปอกี เซ็กชั่นหน่งึ หรอื แปรงอาจไปช๊อตเซ็กชัน่ ทอ่ี ย่ตู ดิ กนั นอกจากน้ี การเหนี่ยวนำของ ขดลวดโรเตอรท์ ำใหเ้ กิดแรงดันตกครอ่ มในแต่ละขดเพม่ิ ขนึ้ เม่ือวงจรของมันจะเปดิ ออก ซ่งึ ไปเพม่ิ ประกายไฟของแปรง ประกายไฟ นจ้ี ะจำกดั ความเร็วสูงสดุ ของมอเตอร์ เนอื่ งจากประกายไฟที่เร็วมากเกินไปจะรอ้ นมากเกินไป, จะกดั กรอ่ น หรือแมก้ ระท่ังละลาย ตวั สับเปล่ียน ความหนาแน่นของกระแสตอ่ หนว่ ยพน้ื ที่ของแปรง รวมทัง้ ค่าตวามต้านทานจะจำกดั เอาต์พตุ ของมอเตอร์ การต่อและ

-7- การจากของหน้าสัมผส้ ยังสรา้ งคลนื่ รบกวน; ประกายไฟย้งสร้าง Radio Frequency Interference (RFI) ในทส่ี ุด แปรงจะเสอื่ มสภาพ และ ต้องเปล่ียนและตัวสบั เปล่ียนเองกเ็ ส่ือมสภาพได้และตอ้ งการการบำรุงรักษา (สำหรบั มอเตอร์ขนาดใหญ่) หรอื เปลย่ี น (สำหรับ มอเตอร์ขนาดเลก็ ) ชดุ ใหญข่ องตัวสับเปล่ียนของมอเตอร์ขนาดใหญเ่ ป็นชน้ิ ส่วนทม่ี รี าคาแพงและต้องใชค้ วามแม่นยำในการ ประกอบหลายชนิ้ ส่วนเขา้ ด้วยกัน สำหรับมอเตอรข์ นาดเล็ก ปกตแิ ลว้ ตวั สับเปลี่ยนจะประกอบมาเปน็ ส่วนหน่งึ ของโรเตอร์ ดังนน้ั ถ้าต้องเปลยี่ นตวั สับเปล่ียน ต้องเปลีย่ นโรเตอร์ทง้ั ตวั ในขณะท่ตี วั สบั เปลย่ี นสว่ นใหญเ่ ปน็ รูปทรงกระบอก บางตวั ยงั เป็นจานแบน ประกอบดว้ ยหลายเซ็กเมนท์ (โดยท่วั ไปอยา่ งน้อยสาม) ติดต้ังอยบู่ นฉนวน แปรงขนาดใหญ่ตอ้ งการพน้ื ทสี่ มั ผสั ขนาดใหญ่ เพือ่ เพม่ิ กำลงั ของมอเตอรอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี แตแ่ ปรง ขนาดเล็กตอ้ งการหน้าสมั ผสั เล็กเพ่ือ เพม่ิ ความเร็วของมอเตอรใ์ หเ้ ตม็ ทโี่ ดยที่แปรงไมก่ ระดอนและเกดิ ประกายไฟมากเกนิ ไป (แปรงขนาดเลก็ ยงั ราคาถกุ กวา่ ) สปริงของ แปรงทแี่ ข็งหน่อยยงั สามารถใช้เพอื่ ให้แปรงทำงานหนกั ทคี่ วามเร็วสงู ขนึ้ แต่ดว้ ยค่าใช้จา่ ยท่เี ปน็ การสญู เสียจากแรงเสยี ดทานสูงขึน้ (ประสิทธิภาพต่ำลง) และเรง่ ให้แปรงและตวั สบั เปลี่ยนสึกหรอเรว็ ขน้ึ เพราะฉะนั้น การออกแบบแปรงของมอเตอร์ DC ตอ้ ง แลกเปลยี่ นระหว่างกำลังงาน ความเรว็ ประสิทธิภาพ และการสกึ หรอ A: shunt B: series C: compound f = field coil มอเตอร์ DC แบบใชแ้ ปรงมีหา้ ประเภทดงั ต่อไปน:ี้ แบบขดลวดพันขนาน แบบพนั อนกุ รม แบบผสม มสี องแบบไดแ้ ก่: ผสมสะสม ผสมทแ่ี ตกตา่ งกัน แบบแมเ่ หล็กถาวร (ไมม่ ีรูปแสดง Separately excited (ไมม่ ีรปู แสดง)

-8- มอเตอร์ DC แบบแม่เหลก็ ถาวร บทความหลกั : Permanent-magnet electric motor มอเตอร์แมเ่ หลก็ ถาวรไม่ไดม้ สี นามแมเ่ หล็กจากขดลวดบนสเตเตอร์ แตอ่ าศัยสนามจากแมเ่ หลก็ ถาวรแทนในการ ปฏสิ ัมพนั ธ์กับสนามแมเ่ หล็กของโรเตอรเ์ พอ่ื สรา้ งแรงบดิ ขดลวดชดเชยทตึ่ ่ออนุกรมกับอเมเจอร์อาจถกู นำมาใชใ้ นมอเตอร์ขนาด ใหญ่เพอ่ื ปรับปรงุ การสับเปลยี่ นภายใต้โหลด เนอ่ื งจากสนามนี้มีคา่ คงท่ี จงึ ใช้ปรับความเรว็ ไมไ่ ด้ สนามแม่เหลก็ ถาวร (สเตเตอร์) มี ความสะดวกในมอเตอรข์ นาดจว๋ิ ทีจ่ ะกำจดั การบรโิ ภคพลงั งานของขดลวด มอเตอร์ DC ขนาดใหญส่ ่วนมากเปน็ แบบ\"ไดนาโม\" ทมี่ ี ขดลวดในสเตเตอร์ ในอดีต แมเ่ หลก็ ถาวรไมส่ ามารถรกั ษา flux ทีส่ ูงไวไ้ ดถ้ ้าถูกถอดออกเป็นช้ินๆ; ขดลวดจงึ จำเปน็ เพ่อื ใหไ้ ดป้ รมิ าณ ของ flux ตามต้องการ อยา่ งไรกต็ าม แมเ่ หลก็ ถาวรขนาดใหญจ่ ะมีราคาแพง ทง้ั อนั ตรายและยากทจี่ ะประกอบ; ขดลวดจงึ เปน็ ที่ นยิ มสำหรับมอเตอรข์ นาดใหญ่ เพอื่ ลดน้ำหนักและขนาด มอเตอรแ์ มเ่ หล็กถาวรขนาดจว๋ิ อาจใช้แมเ่ หล็กพลังงานสงู ท่ที ำดว้ ย สารนีโอดเิ มียม หรอื สารเชงิ กลยทุ ธ์ อืน่ ๆ เช่น สว่ นใหญเ่ ป็นโลหะผสม นโี อดิเมียม-เหล็ก-โบรอน ด้วยความหนาแนน่ ท่ีสงู กว่าของฟลกั ซ์ของสารเหล่าน้ี มอเตอรไ์ ฟฟา้ ที่ ใช้แมเ่ หลก็ ถาวร พลังงานสงู มคี วามสามารถในการแข่งขันน้อยกว่ามอเตอร์ไฟฟ้าแบบซงิ โครนสั ทถ่ี ูกออกแบบอยา่ งดสี ุดแบบ single feed และมอเตอรแ์ บบเหน่ียวนำ มอเตอรข์ นาดจิว๋ มีโครงสร้างคล้ายกบั โครงสรา้ งที่แสดงในภาพประกอบ ยกเว้นวา่ พวกมนั มีอย่าง นอ้ ยสามขว้ั โรเตอร์ (เพ่ือให้แน่ใจในการสตาร์ทโดยไม่คำนงึ ถึงตำแหน่งของโรเตอร์) และตัวเครอ่ื งดา้ นนอกจะเป็นทอ่ เหลก็ ท่ี เชือ่ มโยงทางแม่เหล็กกับภายนอกของแม่เหลก็ สนามรูปโคง้ มอเตอรท์ ใี่ ชต้ ัวสับเปลยี่ นแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มอเตอร์ DC แบบไม่ใช้แปรง บทความหลัก: Brushless DC electric motor (BLDC) บางสว่ นของปัญหาของมอเตอร์ DC ทีใ่ ชแ้ ปรงจะถกู ตัดท้งิ ไปในมอเตอร์แบบ BLDC ซ่งึ แทนที่ \"สวทิ ช์หมุน\"หรือตวั สบั เปลย่ี นแบบกลไก ไปเป็นแบบสวิทชอ์ ิเล็กทรอนกิ สภ์ ายนอก ที่จะ synchronise กบั ตำแหน่งของโรเตอร์ มอเตอรแ์ บบ BLDC มักจะ มปี ระสิทธิภาพประมาณ 85-90% และสูงไดถ้ ึง 96.5% ในขณะที่ มอเตอร์กระแสตรงทใ่ี ช้ brushgear มักจะมีประสทิ ธภิ าพเพียง 75-80% เทา่ นน้ั รปู คลืน่ สเ่ี หลีย่ มคางหมูของมอเตอร์แบบ BLDC ซง่ึ เปน็ back-emf จะไดบ้ างสว่ นมาจากขดลวดของสเตเตอร์ และบางสว่ นได้จากการ จัดตำแหน่งของแม่เหล็กถาวรของโรเตอร์ เซนเซอรแ์ บบ Hall Effect จะถูกตดิ ตัง้ อยบู่ นขดลวดของสเตเตอร์เพอื่ การตรวจจับตำแหน่ง โรเตอร์ เพ่อื ใหว้ งจรควบคมุ จา่ ยกระแสให้ชุดเฟสของขดลวดชดุ ใดชุดหน่งึ หรือมากกว่าหน่งึ ชุดเพื่อใหโ้ รเตอรห์ มนุ ตามความเรว็ ท่ี ต้องการ มอเตอร์ DC ทีม่ ตี ัวสบั เปล่ยี นแบบอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเหมือนมอเตอร์ DC ทเ่ี อาข้างในออกข้างนอก

-9- BLDC มอเตอร์ถกู ใชก้ นั โดยทัว่ ไปในทซ่ี ึง่ การควบคุมความเร็วอย่างแมน่ ยำเปน็ สิ่งท่ีจำเปน็ อยา่ งเชน่ ในดสิ ก์ไดรฟข์ องเคร่อื ง คอมพิวเตอร์หรอื เครื่องบนั ทึกวิดีโอเทป, ไดรฟ์ภายใน CD, CD - ROM ( ฯลฯ ) และกลไกภายในผลติ ภณั ฑส์ ำนกั งาน เชน่ พดั ลม, เคร่ืองพมิ พ์เลเซอร์ และ เครอื่ งถา่ ยเอกสาร. พวกมันมขี อ้ ดหี ลายอยา่ งมากกว่ามอเตอรธ์ รรมดา เช่น: เมอื่ เทยี บกับพดั ลม โดยใชม้ อเตอร์ AC ทวั่ ไป มอเตอร์แบบ BLDC มขี ดลวดอยู่บนสเตเตอรท์ ตี่ ิดอยกู่ ับโครงสร้างของมอเตอร์ ทำให้ การระบายอากาศทำได้จากภายนอก การทำงานในอากาศทเ่ี ย็นจึงทำให้มปี ระสิทธิภาพมากกวา่ ตัวมอเตอรส์ ามารถทำเป็น โครงสรา้ งปดิ ทำใหไ้ มม่ ีฝุ่นละอองผ่านเขา้ ไปได้ ทำใหส้ ามารถควบคมุ การทำงานไดแ้ มน่ ยำตลอดอายกุ ารใชง้ าน เน่ืองจากไมม่ ตี ัวสบั เปล่ยี นทสี่ ึกหรอได้ อายุการใช้งานของมอเตอร์ BLDC จึงยาวนานกว่ามอเตอร์ทใ่ี ช้แปรงและตวั สับเปลยี่ นอยา่ งมี นัยสำคญั ตวั สับเปล่ยี นยังสร้างคลนื่ รบกวนและเม่ือไมม่ ีตัวสับเปลีย่ นและแปรง มอเตอร์ BLDC อาจถูกใชใ้ นอุปกรณท์ ีไ่ วต่อ สญั ญาณไฟฟา้ เชน่ เครือ่ งเสียงและคอมพวิ เตอร์ เซนเซอร์ Hall Effect ยังสามารถใช้สง่ สัญญาณของเครอ่ื งวดั วามเรว็ สำหรับการควบคุมแบบ closed-loop (ควบคมุ เซอรโ์ ว) ในพัดลม สญั ญาณเครื่องวดั วามเร็วถกู นำมาใชเ้ ปน็ สัญญาณ \"Fan OK\" รวมทงั้ ใหส้ ัญญาณ feedback ของความเร็วที่มอเตอรก์ ำลังหมนุ อยู่ มอเตอรส์ ามารถ synchronise กับสญั ญาณนาฬิกาภายในและภายนอกได้ง่ายมาก เพอ่ื ควบคมุ ความเรว็ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ BLDC มอเตอรไ์ มม่ โี อกาสท่จี ะเกดิ ประกายไฟ, ซ่ึงแตกต่างจากมอเตอรท์ ใี่ ช้แปรง, ทำให้มนั เหมาะกบั สภาพแวดล้อมท่มี สี ารเคมี ระเหย และเชือ้ เพลงิ นอกจากนี้ ประกายไฟยังสรา้ งโอโซน ซ่ึงสามารถสะสมอยู่ในอาคารทีม่ ีการระบายอากาศไมด่ ี ทำให้เสยี่ งต่อ การเกิดอันตรายต่อสขุ ภาพของผู้อยอู่ าศยั BLDC มอเตอรม์ กั จะใช้ในอปุ กรณข์ นาดเล็กเช่น เครอื่ งคอมพิวเตอร์และโดยท่วั ไปจะใช้พดั ลมในการกำจัดความร้อนที่ไมพ่ งึ ประสงค์ มันเสยี งเงยี บมาก ซึง่ เป็นข้อไดเ้ ปรียบถา้ ถกู นำไปใช้ในอุปกรณท์ ่ีจะมผี ลกระทบถา้ มกี ารส่ันสะเทือน BLDC มอเตอรท์ ท่ี นั สมยั จะมขี นาดกำลังตง้ั แต่เศษเสี้ยวของวัตตจ์ นถงึ หลายกโิ ลวัตต์ มอเตอร์ BLDC ขนาดใหญท่ ่ีมีกำลังสูงถงึ ประมาณ 100 กโิ ลวตั ต์ ถูกใช้ในรถไฟฟ้า พวกมันยังมปี ระโยชน์อย่างมีนยั สำคญั เครื่องบินไฟฟ้าประสิทธภิ าพสงู

- 10 - มอเตอร์แรงต้านแม่เหล็ก บทความหลัก: Switched reluctance motor มอเตอร์แรงตา้ นแมเ่ หล็กแบบ 6/4 (6 stator 4 rotor) SRM ไมม่ ีแปรงหรอื แมเ่ หล็กถาวรและโรเตอร์ก็ไมม่ กี ระแสไฟฟา้ แตแ่ รงบิดเกิดจากแนวไมต่ รงกนั เล็กนอ้ ยของขว้ั แม่เหลก็ บนโรเตอร์ กับขว้ั แม่เหลก็ บนสเตเตอร์ โรเตอรจ์ ะวางตวั เองให้อยใู่ นแนวสนามแมเ่ หล็กของสเตเตอร์ ในขณะทีส่ เตเตอร์ถูก energize โดยกระแสในขดลวด flux แม่เหล็กทส่ี รา้ งขึ้นโดยขดลวดจะไปตามเส้นทางของแรงต้านแม่เหล็ก(องั กฤษ: magnetic reluctance)ทีม่ คี า่ นอ้ ยทส่ี ุด(เหมอื น กระแสไฟฟ้าทไี่ หลในทศิ ทางท่มี ีความต้านทานนอ้ ยท่ีสดุ ) นน่ั คอื flux จะไหลผา่ นขั้วของโรเตอรท์ ่อี ยใู่ กลก้ ับขวั้ ของสเตเตอรท์ ถ่ี ูก energize มากทส่ี ดุ ขวั้ ของโรเตอร์นนั้ จะกลายเป็นแม่เหล็ก และสร้างแรงบดิ ข้นึ ในขณะทโี่ รเตอร์หมุน ขดลวดชดุ ตอ่ ไปกจ็ ะถกู energize ไปเรอ่ื ยๆ ทำใหโ้ รเตอร์ยงั คงหมนุ อยูต่ ลอด SRMs ในปจั จบุ ันยังคงถกู ใชใ้ นเคร่ืองไฟฟ้าบางอย่าง

- 11 - มอเตอร์ AC-DC สากล บทความหลกั : Universal motor มอเตอรส์ ากลตน้ ทนุ ตำ่ ทที่ ันสมัยจากเครอ่ื งดูดฝนุ่ ขดลวดสนามบนสเตเตอรม์ สี ีทองแดงเข้มท้ังสองด้าน, แกนเคลือบของ โรเตอร์เป็นโลหะสเี ทา กบั สลอ็ ตสเี ขม้ สำหรับพนั ขดลวด ตัวสบั เปลยี่ นอยดู่ ้านหนา้ (ซอ่ นบางส่วน)ไดก้ ลายเปน็ สีเขม้ เน่ืองจากการ ใชง้ าน ชิ้นสว่ นขน้ึ รปู พลาสติกขนาดใหญส่ นี ำ้ ตาลที่อยดู่ ้านหน้าใช้รองรบั แนวแปรงและแปรง (ท้ังสองดา้ น) และแบรง่ิ มอเตอรส์ ากลเป็นมอเตอรช์ นิดหนงึ่ ทท่ี ำงานได้ทง้ั AC และ DC เพาเวอร์ มนั เปน็ มอเตอร์แบบใชต้ ัวสบั เปลี่ยนและมคี อยล์สนามของส เตเตอร์ตอ่ แบบอนุกรมกับคอยลข์ องโรเตอรผ์ า่ นทางตวั สบั เปลยี่ น มอเตอรส์ ากลสามารถทำงานไดด้ บี น AC เพราะ กระแสทง้ั ในสเต เตอร์และในโรเตอร์ (ซ่งึ ทำใหเ้ กดิ สนามแมเ่ หล็ก) จะสลบั กัน(กลับขวั้ )ทำ synchronize กบั แหล่งจา่ ยไฟ ทำใหไ้ ด้แรงกลเกิดขึ้นใน ทิศทางของการหมนุ อยา่ งต่อเน่อื ง เป็นอิสระต่อทศิ ทางของแหลง่ จา่ ย แตเ่ ปน็ ไปตามตวั สับเปลีย่ นและขั้วของคอยล์สนาม มอเตอร์ สากลมแี รงบดิ เร่ิมต้นสูง หมุนทค่ี วามเรว็ สูงและมนี ำ้ หนักเบา จึงมกั ถกุ นำมาใช้ในอปุ กรณท์ เ่ี คลอ่ื นย้ายไปมาได้และใช้ภายใน ครัวเรือน มันยงั ง่ายในการควบคุมด้วยอิเล็กทรอนกิ ส์ ถงึ อยา่ งไรก็ตาม ตัวสบั เปล่ียนมีแปรงท่สี ึกหรอได้ ดงั น้ันมันจงึ ไม่เหมาะท่ีจะ ใช้ในงานทต่ี ้องทำงานแบบตอ่ เน่อื งนานๆ นอกจากนั้นตวั สับเปล่ยี นยงั ทำใหเ้ กดิ เสยี งรบกวนด้วย ในการทำงานทค่ี วามถ่ีสายไฟปกติ มอเตอรส์ ากลมักจะมีขนาดกำลังนอ้ ยกว่า 1000 วตั ต์ มอเตอรส์ ากลหลายตัวยงั รวมตวั กันเป็น พืน้ ฐานสำคญั ของมอเตอรฉ์ ุดลากแบบด้งั เดมิ ใน การเดนิ รถไฟทีใ่ ชไ้ ฟฟา้ ในการใชง้ านแบบน้ี การใช้ AC เพื่อจ่ายกำลังใหม้ อเตอร์ ไฟฟา้ ทแี่ ต่เดมิ ถกู ออกแบบมาใหท้ ำงานบน DC จะนำไปสู่การสญู เสยี ประสิทธภิ าพเนอ่ื งจาก eddy current ไปทำให้ช้นิ สว่ นทเี่ ป็น แมเ่ หล็กรอ้ น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ชนิ้ สว่ นขัว้ สนามของมอเตอร์ เพราะวา่ , สำหรบั DC, อาจมกี ารใชเ้ หลก็ แข็ง (ไม่เคลอื บ) และปัจจุบัน ไมค่ อ่ ยได้ใชแ้ ลว้ ความไดเ้ ปรยี บของมอเตอรส์ ากลคือ แหล่งจา่ ยไฟ AC อาจจะนำมาใชก้ บั มอเตอร์ ทม่ี ลี ักษณะ สมบัติบางอย่างทเี่ หมือนกับใน มอเตอร์ DC โดยเฉพาะอย่างย่งิ แรงบิดชว่ งเรม่ิ ต้นทส่ี ูง และการออกแบบทก่ี ะทัดรดั มากถ้าทำงานด้วยความเรว็ สูง ดา้ นลบคือ ปัญหาการบำรงุ รักษาและอายุอนั แสนสั้นของตวั สับเปลย่ี น มอเตอรด์ ังกลา่ วจะใช้ในอปุ กรณ์เชน่ เคร่ืองผสมอาหารและ เครอื่ งมอื ไฟฟา้ ซ่งึ จะใชเ้ ป็นระยะๆเท่านนั้ และมกั จะมีความต้องการแรงบดิ เริ่มตน้ สูง บนขดลวดสนามอาจมี tap ได้หลายจดุ เพอ่ื ปรบั ความเร็วเป็นขั้นบนั ได เครื่องปน่ั นำ้ ผลไมใ้ นครัวเรอื น ทโ่ี ฆษณาว่ามหี ลายความเร็ว มบี ่อยๆทมี่ ีขดลวดสนามทม่ี หี ลาย tap และ

- 12 - ไดโอด เพ่ือให้แทรกอนกุ รมเพ่ือเรยี งกระแสแบบคร่ึงคล่ืนจ่ายใหก้ ับมอเตอร์ มอเตอรส์ ากลยงั ถกู ใช้เป็นตวั ควบคุมความเรว็ อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ พื่อเป็นทางเลือกทเี่ หมาะอยา่ งย่ิงสำหรบั อปุ กรณเ์ ชน่ เคร่ืองซกั ผ้าตามบ้าน มอเตอรส์ ามารถหมนุ ถังซกั (ท้งั เดินหน้า และถอยหลงั )โดยการเปลย่ี นขดลวดสนามเม่ือเทยี บกับอเมเจอร์ ในขณะท่ี มอเตอรเ์ หนย่ี วนำแบบกรงกระรอก (SCIM) จะไมส่ ามารถหมนุ เพลาเรว็ กวา่ ความถี่ สายไฟฟ้า, มอเตอร์สากลสามารถวง่ิ ดว้ ยความเรว็ ท่ีสงู กว่ามาก สงิ่ นี้จะทำใหม้ ปี ระโยชน์สำหรับเครอ่ื งใช้ในครัวเรอื น เช่นป่นั นำ้ ผลไม้ เคร่ืองดูดฝนุ่ และเครื่องเปา่ ผม ที่ ตอ้ งการความเร็วสงู และ นำ้ หนกั เบา นอกจากนน้ั ยังมีใชก้ นั ทว่ั ไปใน เครอ่ื งมอื ไฟฟา้ แบบพกพาเช่น สวา่ น, เครื่องขดั , เล่อื ยกลมและ เลอื่ ยจกิ๊ ซอ ซ่งึ ลกั ษณะสมบตั ขิ องมอเตอรแ์ บบนีจ้ ะทำงานได้ดี เครอ่ื งดดู ฝ่นุ และมอเตอร์ ตดั วัชพชื จำนวนมากใช้ความเร็วเกิน 20,000 รอบต่อนาที ขณะทีห่ ลายเครอ่ื งบดขนาดเล็กที่คล้ายกนั ใช้ความเร็วเกิน 40,000 รอบตอ่ นาที มอเตอร์ AC ตวั สบั เปลี่ยนภายนอก บทความหลกั : AC motor มอเตอรเ์ หนย่ี วนำ AC และแบบซงิ โครนสั ถกู ออกแบบใหไ้ ด้ประโยชนส์ ูงสุด สำหรับการใชง้ าน กบั รปู คลนื่ แบบซายนห์ รอื คล้ายแบบซายน์เฟสเดียวหรือหลายเฟส เช่น สำหรบั การใช้งานความเร็วจาก AC power grid หรอื ความเรว็ ปรบั ไดจ้ ากตัวควบคมุ VFD (Variable-frequency drive) มอเตอร์ AC มีสองส่วนคอื สเตเตอรอ์ ยูก่ บั ที่มีขดลวดรับไฟ AC เพือ่ ผลติ สนามแมเ่ หล็ก ทห่ี มนุ และ โร เตอร์ท่ตี ดิ อยกู่ บั เพลาเอาต์พุตท่ใี หแ้ รงบดิ โดยสนามท่ีหมุน มอเตอรเ์ หนยี่ วนำ บทความหลกั : Induction motor มอเตอรเ์ หนย่ี วนำแบบกรงกระรอก(SCIM)และแบบพันรอบโรเตอร(์ WRIM) โรเตอรก์ รงกระรอกท่ีแสดงลามเิ นตเพยี งสามชั้น

- 13 - มอเตอร์เหนีย่ วนำเป็นมอเตอร์ AC แบบอะซงิ โครนสั ทีพ่ ลงั งานจะถูกโอนไปยงั โรเตอรโ์ ดยการเหนย่ี วนำแม่เหล็กไฟฟา้ เหมอื นการกระทำของหม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอรเ์ หนยี่ วนำมลี กั ษณะคล้ายกบั หมอ้ แปลงที่กำลังหมนุ โดยที่สเตเตอร์เปน็ ขดปฐมภมู ิ และ โรเตอรเ์ ปน็ ขดทุตยิ ภมู ิ มอเตอรเ์ หนย่ี วนำหลายเฟสถกู นำมาใชก้ ันอยา่ งแพร่หลายในอตุ สาหกรรม มอเตอร์เหนีย่ วนำอาจจะแบ่งออกต่อไปอีกเปน็ SCIM และ WRIM. มอเตอรเ์ หนี่ยวนำแบบกรงกระรอกมขี ดลวดทห่ี นกั ทำขึน้ จากแท่ง โลหะตัน ปกติเปน็ อะลมู เิ นยี มหรอื ทองแดง เชอื่ มกนั ด้วยแหวนทีป่ ลายของโรเตอร์ทงั้ สองปลาย เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ แทง่ และแหวน มี ลกั ษณะเหมือนกรงสำหรบั ออกกำลงั กายของสัตว์ท่ีหมุนได้ จึงไดช้ ื่ออย่างนัน้ กระแสทเี่ หนีย่ วนำในขดลวดทำใหเ้ กิดสนามแม่เหล็กที่โรเตอร์ รปู รา่ งของแท่งโลหะของโรเตอร์จะเป็นตัวกำหนดลกั ษณะสมบตั ิของ ความเร็ว-แรงบดิ ทคี่ วามเร็วตำ่ กระแสทเี่ หนยี่ วนำในกรง กระรอกเกือบจะอยทู่ คี่ วามถีข่ อง line และมแี นวโน้มที่จะอยู่ในสว่ นดา้ น นอกของกรงโรเตอร์ ในขณะทมี่ อเตอรเ์ รง่ ความเรว็ ความถส่ี ลปิ จะลดลงและกระแสจะมากขนึ้ ในด้านในของขดลวด โดย การ ตกแตง่ รปู รา่ งของแทง่ โลหะเพอ่ื เปลย่ี นความตา้ นทานของขดลวดทอี่ ยดู ้านในและด้านนอกของกรง เหมอื นกบั ไดใ้ สค่ วามตา้ นทาน ปรับคา่ ได้เข้าไปในวงจรของโรเตอรไ์ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อย่างไรกต็ าม ส่วนใหญข่ องมอเตอร์ดังกลา่ วมีแทง่ โลหะทีม่ รี ปู รา่ งเพยี ง แบบเดยี ว ไดอะแกรมแสดง wound-rotor induction motor

- 14 - ใน WRIM, ขดลวดโรเตอร์ทำจากลวดหมุ้ ฉนวนหลายๆรอบตอ่ อยกู่ บั slip ring บนเพลาของ มอเตอร์ slip ring นจ้ี ะตอ่ ระหวา่ งขดลวด ของโรเตอร์กับตัวต้านทานภายนอกหรอื อุปกรณค์ วบคุมอนื่ ๆ ตวั ตา้ นทานช่วยควบคมุ ความเร็วของมอเตอร์ แมว้ ่าจะเกิดพลงั งาน ความร้อนจำนวนมากกระจายในความต้านทานภายนอก ตัวแปลงสกั ตัวสามารถต่อกบั วงจรโรเตอร์และจา่ ยพลังงานที่ความถ่ีของส ลปิ กลบั มา, แทนทจี่ ะถูกทงิ้ ไปเปลา่ ๆ, เขา้ ระบบส่งกำลังผ่านทางอินเวอร์เตอร์อกี ตวั หนึ่ง หรอื เขา้ ท่มี อเตอร์-เจเนอเรเตอร์ตา่ งหาก WRIM ใช้เปน็ หลกั ในการสตารท์ โหลดความเฉือ่ ยสงู หรอื โหลดท่ตี อ้ งการแรงบดิ เรมิ่ ตน้ ทส่ี งู มากๆตลอดชว่ งความเรว็ เตม็ สดุ โดยการ เลอื กตวั ตา้ นทานอย่างถกู ต้องเพอื่ ใช้ในการต้านทานรองหรือตวั สตาร์ทแหวนสลปิ มอเตอรจ์ ะสามารถผลิตแรงบดิ สงู สดุ ท่ีแหลง่ จา่ ย กระแสคอ่ นขา้ งตำ่ จากความเรว็ เป็นศูนย์จนกระทั่งความเรว็ เตม็ สุดได้ มอเตอรป์ ระเภทนยี้ งั ใหค้ วามเร็วทีส่ ามารถควบคมุ ได้ ความเร็วมอเตอรส์ ามารถเปลีย่ นแปลงไดเ้ พราะวา่ เสน้ โคง้ แรงบิดของมอเตอร์มกี ารแก้ไขไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพตามขนาดของความ ต้านทานท่ีเช่อื มตอ่ กบั วงจรโรเตอร์ การเพ่ิมคา่ ความตา้ นทานจะลดความเรว็ ของแรงบดิ สูงสดุ ลง ถา้ ความต้านทานเพ่มิ เกนิ กว่าจุดที่ แรงบิดสูงสดุ เกดิ ขึ้นท่คี วามเรว็ เปน็ ศนู ย์, แรงบดิ จะลดลงอีกต่อไป เมือ่ ใชก้ ับโหลดทมี่ ีเสน้ โค้งแรงบิดทีเ่ พม่ิ ข้ึนตามความเร็ว มอเตอร์จะทำงานดว้ ยความเรว็ ท่แี รงบิดทเ่ี กดิ จากมอเตอร์จะเทา่ กับ แรงบิดโหลด การลดโลดจะทำใหม้ อเตอร์เพมิ่ ความเร็ว และการเพมิ่ โหลด จะทำใหม้ อเตอร์หมนุ ช้าลงจนโหลดและแรงบดิ ของ มอเตอรม์ คี ่าเท่ากนั การทำงานในลกั ษณะน้ี ความสฃู เสยี หรือความร้อนในสลปิ จะกระจายในตวั ตา้ นทานรองและอาจมีความสำคญั มาก การควบคมุ ความเร็วและประสิทธภิ าพสุทธิยงั แยม่ ากอกี ดว้ มอเตอรแ์ รงบิด บทความหลกั : Torque moto มอเตอร์แรงบดิ เป็นรปู แบบเฉพาะของมอเตอรไ์ ฟฟา้ ท่ีสามารถทำงานไดอ้ ยา่ งไม่มกี ำหนด ขณะทต่ี อ้ งหยุดกลางคนั กล่าวคอื เมอ่ื โรเตอรถ์ กู บล็อกไมใ่ หล้ หมนุ โดยไมก่ ่อใหเ้ กิดความเสียหาย ในโหมดของการทำงานแบบน้ี มอเตอรจ์ ะจา่ ยแรงบิดอยา่ ง ต่อเนอ่ื งให้กบั โหลด (จงึ ได้ช่ือนี้) การประยุกตใ์ ช้ธรรมดาของมอเตอร์แรงบิดจะเป็นมอเตอร์ตวั จา่ ยและมอเตอร์ตวั เก็บของมว้ นเทปของเทปไดรฟ์ ในการใชง้ านแบบ น,้ี จะถูกขบั ด้วยแรงดนั ไฟฟ้าตำ่ , ลกั ษณะสมบัตขิ อง มอเตอร์เหล่านช้ี ว่ ยใหเ้ กิดแรงดึงเบาๆและคอ่ นขา้ งคงทบี่ นเนื้อเทปไมว่ า่ ตัว capstan (step motor ชนดิ หน่ึง) จะปอ้ นเทปผา่ นหัวอ่านหรือไม่ เมื่อใช้กบั แรงดนั ไฟฟา้ ที่สูงข้นึ (และใหแ้ รงบดิ สงู ขนึ้ ดว้ ย) มอเตอร์ แรงบดิ ยงั สามารถทำงานเดินหนา้ และถอยหลงั ไดอ้ ย่างรวดเรว็ โดยไม่ตอ้ งมกี ลไกใดๆ เชน่ เกียร์หรือคลทั ช์เพม่ิ ในโลกของเกม คอมพิวเตอร์ มอเตอรแ์ รงบดิ ถกู ใช้ในการบงั คบั พวงมาลยั การประยุกต์ใช้ธรรมดาอีกประการหน่งึ คอื การควบคุมลิน้ ปีกผเี สอ้ื ของเครอ่ื งยนต์สนั ดาปภายในร่วมกับตวั ควบคมุ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในการน้ี มอเตอรท์ ำงานตา้ นกับแรงสปรงิ เพือ่ ขยบั ล้ินปกี ผเี ส้อื ให้สอดคล้องกบั เอาต์พตุ ของตัวควบคมุ ตวั ควบคุมจะตรวจวดั ความเร็วรอบเคร่ืองยนต์ โดยการนบั พัลสไ์ ฟฟ้าจากระบบจุดระเบดิ หรือจากคลน่ื แม่เหล็กและ, ข้ึนอยกู่ บั ความเรว็ , ทำการ

- 15 - ปรับเปลย่ี นเลก็ น้อยกบั จำนวนกระแสเงนิ ท่จี า่ ยใหก้ ับมอเตอร์ ถ้าเครอื่ งยนต์เรมิ่ ทจ่ี ะชะลอตัวลง เมื่อเทียบกับความเรว็ ทตี่ ้องการ กระแสจะถูกเพ่ิมให้ มอเตอร์จะจ่ายแรงบดิ มากข้ึน ออกแรงดึงตา้ นกบั แรงสปรงิ ท่ดี ึงกลบั เพ่ือเปดิ ล้นิ ผเี สือ้ นัน้ เครื่องยนต์อาจจะ ทำงานเรว็ เกินไป ตัวควบคุมจะลดกระแสลง ทำใหส้ ปริงดึงกลับและปิดล้ินผเี สอ้ื มอเตอร์ซิงโครนสั บทความหลกั : Synchronous motor สนามแมเ่ หล็กหมนุ เกดิ จากผลรวมของเวกเตอรข์ องสนามแม่เหลก็ สามเฟสของขดลวดสเตเตอร์ มอเตอรไ์ ฟฟ้าซงิ โครนสั เป็นมอเตอร์ AC ท่โี ดดเด่นด้วยการหมุนของโรเตอร์ทีม่ ขี ดลวดตดั ผ่านแม่เหลก็ ในอตั ราเดยี วกับ AC และสง่ ผลให้เกิดสนามแม่เหล็กทีข่ ับมัน พดู ได้อีกอย่างหนึ่งว่า ภายใตส้ ภาวะการทำงานปกตมิ นั มสี ลิปเปน็ ศนู ย์ แตกตา่ งจาก มอเตอรเ์ หนี่ยวนำซง่ึ จะต้องมสี ลปิ จงึ จะเกิดแรงบิด อกี แบบหนงึ่ ของมอเตอร์ซิงโครนสั เปน็ เหมอื นมอเตอร์เหนีย่ วนำ ยกเว้นโรเตอร์ จะถกู กระตุน้ ดว้ ยสนาม DC แหวนสลปิ และแปรงถ่านถูกใชเ้ พ่ือนำกระแสไปให้กับโรเตอร์ ข้วั ทั้งหลายของโรเตอรเ์ ช่อื มตอ่ ซ่ึงกนั และ กัน และหมุนที่ความเรว็ เดยี วกัน จงึ ถกู เรยี กวา่ มอเตอรซ์ งิ โครนสั . มอเตอร์ซงิ โครนสั ตง้ั เวลาพลงั งานตำ่ (อยา่ งเชน่ ทใี่ ชใั นนาฬิกาไฟฟา้ ด้งั เดิม) อาจมโี รเตอรร์ ปู ถว้ ยทมี่ แี มเ่ หลก็ ถาวรหลายขั้วอยู่ ภายนอกและใช้ขดลวดในเงาเพ่อื ให้แรงบิดเรม่ิ ตน้ มอเตอรน์ าฬิกาของ Telechron มขี ้ัวเงาสำหรับแรงบดิ เรม่ิ ต้น และมโี รเตอร์แบบ แหวนสองกา้ นที่ทำงานเหมอื นกับโรเตอร์สองข้วั แยก มอเตอร์แบบ double feed บทความหลกั : Doubly fed electric machine มอเตอรแ์ บบ double feed มขี ดลวดหลายเฟสอสิ ระสองชดุ ซง่ึ มสี ่วนรว่ มในการใหก้ ำลังงานใน กระบวนการแปลง พลังงานทีม่ อี ย่างน้อยหนง่ึ ชุดของขดลวดที่ถกู ควบคมุ ด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ำหรบั การทำงานความเร็วแปรได้ ขดลวดหลายเฟส

- 16 - อิสระสองชดุ (เช่นอเมเจอร์ค)ู่ เปน็ จำนวนสงู สุดทีใ่ หไ้ วใ้ นแพคเกจเดยี วโดยไมม่ ีทอพอโลยีซำ้ กัน มอเตอรแ์ บบ double feed เปน็ เครือ่ งท่มี คี วามเรว็ ในชว่ งแรงบิดคงทเี่ ป็นสองเทา่ ของความเร็วแบบซงิ โครนสั ท่คี วามถ่ีของการกระตุ้นเดยี วกัน และเปน็ สองเท่าของ แรงบิดคงทีข่ องมอเตอร์แบบ single feed ท่มี ีชุดขดลวดแอคทฟี เพียงชดุ เดยี ว มอเตอร์แบบ double feed สามารถใช้สำหรับ converter อเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ นาดเลก็ แต่คา่ ใช้จา่ ยของขดลวดโรเตอร์และ slip ring อาจ ชดเชยการประหยัดในชนิ้ ส่วนเพาเวอรอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ความยุง่ ยากหลายอยา่ งในการควบคมุ ความเร็วให้ใกลก้ ับความเรว็ ซิงโครนสั เปน็ ตวั จำกัดการนำไปประยกุ ต์ใช้งาน

- 17 - อา้ งอิง https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&acti on=edit&section=26

-1- ภาคผนวก ข. การตรวจเชค็ มอเตอร์

-1- การตรวจเช็คมอเตอร์ 3 เฟส เบอื้ งต้น ในท่ีนี้จะเปน็ การตรวจเช็คมอเตอร์กระแสสลบั 3 เฟส ทีม่ กี ารต่อขดลวดแบบสตาร์-เดตา้ ดว้ ยมลั ตมิ เิ ตอร์เบื้องต้น เพอ่ื ตรวจสอบว่าขดลวดในตัวมอเตอรน์ ้ันเปน็ อย่างไร มอเตอร์ 3 เฟสนั้นจะมีอยดู่ ว้ ยกัน 6 ขั้ว การตรวจเชค็ มอเตอร์จะมอี ยู่ด้วยกนั 3 อย่างคือ 1.การเช็คขดลวดลงซ๊อตการว์ หรอื ไม่ 2.การเชค็ ขดลวดขาดหรอื ไม่ (เช็คความต่อเนื่องของแตล่ ะขดลวด) 3.การเช็คขดลวดวา่ มีการซ๊อตรอบหรือไม่ 4.การเชค็ ขดลวดลงซ๊อตการ์วหรอื ไม่ -ปรับมลั ตมิ ิเตอรไ์ ปท่โี หมดความตา้ นทาน (โอหม์ )

-2- -นำสายเสน้ ใดเสน้ หนงึ่ ของมัลตมิ ิเตอรแ์ ตะไปที่ตัวมอเตอร์ -นำสายอกี เส้นของมลั ตมิ เิ ตอร์แตะไปทข่ี ้วั แตล่ ะขัว้ ของมอเตอร์

-3- -ผลที่ออกมา