Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดก่า )

โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดก่า )

Published by krupiyas, 2023-02-18 14:05:22

Description: INT_106-สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

12 INT 106 กิจกรรมที่ 6 สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา คาช้ีแจง ให้นกั ศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสงั เกตสภาพท่ัวไปของสถานศกึ ษาในหัวข้อที่กาหนด 1. ช่ือสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล 5 (บา้ นตลาดเกา่ ) สังกดั สานักการศึกษาเทศบาลนครยะลา กรม สง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น กระทรวง มหาดไทย 2. สถานทตี่ ง้ั 47 ถนนอนุสรณ์มหาราช ตาบลสะเตง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา รหสั ไปรษณยี ์ 95000 3. โทรศพั ท์ 073-212897 โทรสาร 073-212897 4. ช่อื หวั หน้าสถานศึกษา/ผู้อานวยการสถานศกึ ษา นางศิวพร ยนื ชนม์ (ผู้รกั ษาการแทนผู้อานวยการ) 5. ชอ่ื รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษาหรือผู้รักษาในตาแหน่ง 1. นางสาวนนั ทน์ ภสั ลาเต๊ะ รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา 2. นายสุรพงศ์ สทุ ธศิ กั ดา รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา 6. คตพิ จน์/ปรชั ญาสถานศกึ ษา สรา้ งคณุ ภาพชีวิตสสู่ งั คม 7. ประวตั ิความเป็นมาของสถานศึกษาโดยสงั เขป โรงเรียนเทศบาล ๕ (บา้ นตลาดเก่า) จัดต้ังเม่ือเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2492 โดยนายสบื จติ รภักดี นายอาเภอ เมอื งยะลา นายบาเพ็ญ ภูมปิ ระเสรฐิ และผปู้ กครองนกั เรยี นในทอ้ งที่ตาบลสะเตงนอก เดมิ ชอ่ื โรงเรยี นบ้าน ตลาดเก่าโดยคณะกรรมการอิสลาม ซึง่ อยตู่ รงข้ามกับมสั ยิดกลางในปจั จุบนั ในปีแรกของการก่อตั้งโรงเรยี นได้ เปดิ สอนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 เพยี งชน้ั เดียวมีนายบาเพ็ญ ภูมปิ ระเสรฐิ เปน็ ครูใหญ่ และนายอบั ดุลเลาะ บอื แน เป็นครูประจาช้ัน เปดิ สอนหลกั สูตรพิเศษ คือภาษาไทยตามหลักสตู ร และสอนอา่ นเขียนภาษามลายู และ เพ่มิ ชัน้ เรียนจนครบถึงชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ในปี พ.ศ. 2496 โรงเรยี นบ้านตลาดเกา่ ท่สี ร้างอยา่ ง เปน็ ทางการครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2496 สงั กดั โรงเรียนประถมศึกษา กรมสามญั ศึกษาโดยเงิน งบประมาณ 200,000 บาท จานวน 5 หอ้ งเรียน ขนาด 12 X 45 เมตร ในทดี่ ินประชาชนบรจิ าค และโรงเรียนจดั ซื้อ กรรมสทิ ธ์ริ วมเน้ือท่ี 7 ไร่ 3 งาน ต่อท่ีดนิ 6,000 บาท เปดิ ทาการสอน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-4 ตั้งแตว่ นั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 มนี ายวรสนั ต์ ถว้ นถวิล เปน็ ครใู หญ่ และมีครจู านวน 6 คน ปี พ.ศ. 2501 นางเอื้อพร วัชรสุขุม ย้ายมาเป็นครูใหญ่แทนนายวรสันต์ ถ้วนถวิลปี พ.ศ. 2503 สร้างอาคารเรียนห้องที่ 2 ขนาด 8 X 16 เมตร โดยเงินที่ครูใหญ่และคณะครูจัดหาเป็นเงินจานวน 20,000 บาทโดยไมไ่ ด้ใช้เงินงบประมาณและในปีนไ้ี ด้ยกเลิกหลักสูตรพิเศษมาเป็นหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2509 โอนไปสังกดั องค์การบริหารส่วนจงั หวัด ขณะนั้นมคี รู13 คน ปี พ.ศ. 2511 โอนไปสังกัดเทศบาลเมืองยะลา กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยและเปล่ียนชื่อ เป็น \"โรงเรียนเทศบาล๕ (บา้ นตลาดเกา่ )\" เม่ือวันท่ี 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2511 มคี รูทัง้ หมด 13 คน ปี พ.ศ. 2526 นายนพพล สิงขโรทัย ย้ายมาเป็นอาจารย์ใหญ่แทนนางเอื้อพร วัชรสุขุมซึ่งลาออกเนื่องจาก สขุ ภาพไม่ดี มคี รทู ง้ั หมด 38 คน ชาย 11 คน หญงิ 27 คน มีนักเรยี น 922 คน ปี พ.ศ. 2540 นายประจบ หนูภิบาล ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนตั้งแต่วันท่ี 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ปี พ.ศ. 2541 โรงเรียนได้รับงบประมาณสร้างอาคาร 4 ชั้น ใต้ถุนโล่ง ขนาด 18 ห้องเรียน งบประมาณ 15.5 ล้านบาทสรา้ งแลว้ เสร็จในปกี ารศกึ ษา 2542

13 ปี พ.ศ. 2543 นายวีระ เพ็งสุทธิ์ ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน ต้ังแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2543 ปี พ.ศ. 2553 นางปิ่นรัตน์ มะลิชูย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนเทศบาล ๕ (บ้านตลาด เกา่ ) ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2553 ปจั จบุ นั โรงเรยี นเทศบาล ๕ (บา้ นตลาดเกา่ ) เปดิ ทาการสอนในระดบั อนบุ าลศึกษาถงึ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 8. วสิ ยั ทัศน์ของสถานศกึ ษา ภายในปกี ารศกึ ษา 2564 เปน็ สถานศึกษามคี ุณภาพ ภายใต้สิ่งแวดล้อมท่ีดี ก้าวทันเทคโนโลยี มีส่วนร่วม ของทกุ ภาคส่วน สู่สังคมพหุวฒั นธรรม 9. เป้าหมาย/เปา้ ประสงค์ ดา้ นปจั จยั 1.บคุ ลากรมที ักษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.บุคลากรมีอตั รากาลงั เพียงพอเหมาะสมในการบรหิ ารการจัดการเรยี นการสอน 3.นาภูมิปญั ญาท้องถน่ิ องค์กรชมุ ชนต่าง ๆ มาร่วมมือการจัดการศกึ ษา ตลอดจนใชศ้ นู ยก์ ารเรียนชมุ ชนใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด 4.มรี ะบบสาระสนเทศที่เปน็ ระบบเหมาะสมนามาใชป้ ระโยชน์ตอ่ การบริหารจัดการเพื่อพฒั นาคุณภาพ การศึกษา 5.บรรยากาศสง่ิ แวดลอ้ ม อาคารสถานท่มี ีความปลอดภัยมีความสะดวก เอือ้ ต่อการจัดการเรยี นการสอน 6.มคี รุภัณฑ์ สอื่ การสอน สาธารณูปโภค สะดวกเพยี งพอ ดา้ นกระบวนการ 1. การบรหิ ารงานมรี ะบบ ครบวงจร ใชห้ ลักการมสี ว่ นร่วมในการบริหาร และกระจายอานาจ 2. ระบบบรหิ ารงานวชิ าการสอดคล้องกบั สาระการเรียนร้ตู ามความต้องการของหลกั สตู รและท้องถ่ิน 3. กจิ กรรมการเรยี นการสอนเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั อย่างตอ่ เนื่อง 4.มกี ารนิเทศภายในเพื่อตดิ ตามผลประเมนิ ผลเปรียบเทยี บกบั เป้าหมายและนาผลการพัฒนาการจัดการศกึ ษา 5. ผปู้ กครองและชมุ ชนให้การสนบั สนนุ และเข้ามามีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรยี น 6. มกี ารประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสารทางวชิ าการ ขอ้ มูลอืน่ ๆ ระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชนอย่างสมา่ เสมอและ ต่อเนอ่ื ง 7. มีการวดั ผลและประเมินผลผู้เรยี นตามสภาพจรงิ ( Authentic Assessment ) และวดั ผลเพื่อการพฒั นา ดา้ นผลผลิต 1. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ 2. ผู้เรยี นมคี วามสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มวี จิ ารณญาณ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คิดไตร่ตรองและมี วสิ ยั ทัศน์ 3. ผู้เรยี นมคี วามรูแ้ ละทกั ษะทีจ่ าเปน็ ตอ่ หลักสตู ร 4. ผเู้ รยี นมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5. ผ้เู รียนมที ักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผอู้ น่ื ได้และมเี จตคตทิ ี่ดีต่ออาชีพทส่ี จุ ริต 6. ผู้เรยี นมีสขุ นสิ ยั สขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ทีด่ ี 7. ผู้เรียนมีสนุ ทรียภาพและลกั ษณะนิสยั ดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ปแ์ ละกีฬา

14 8.ผู้เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับโทษของยาเสพติดและปลอดจากสง่ิ เสพติดให้โทษและสงิ่ มอมเมาโรค เอดส์ โรคตดิ ต่อรา้ ยแรง 10. พันธกจิ - สนับสนนุ ความพร้อมดา้ นวิชาการและเทคโนโลยี - สง่ เสริมและปลกู ฝงั ใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม - เสรมิ สร้างความสะอาดและความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา - ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล 11. คณุ ลักษณะองั พึงประสงค์ 1. ด้านใฝ่รู้ใฝเ่ รียน - ตัง้ ใจเรียนอยู่เสมอ - ใช้เวลาวา่ งในการแสวงหาความรู้ - ปฏบิ ตั หิ น้าทตี่ ามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย - มีความคดิ สรา้ งสรรค์ 2. ด้านความมีระเบยี บวนิ ัย - แตง่ กายตามระเบียบของโรงเรยี น - ตรงต่อเวลา - เคารพเช่อื ฟังคาสงั่ สอนของครู - มีกรยิ า วาจา สภุ าพ 3. ดา้ นความจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และปฏบิ ตั ิตามระบอบประชาธปิ ไตย - การเขา้ ร่วมกจิ กรรมวนั สาคัญต่าง ๆ ของชาติ - ยนื ตรงขณะได้ยนิ เสียงเพลงชาตแิ ละเพลงสรรเสรญิ พระบารมี - รับฟังความคดิ เห็นของผอู้ นื่ 4. ดา้ นความประหยดั อดออม - มกี ารออมทรัพย์ - ปิดนา้ ปิดไฟทุกครงั้ หลังเลิกใช้ - ใชว้ ัสดุการเรยี นถกู ต้องเหมาะกับงาน 5. ด้านสขุ นิสัย สุขภาพจติ และสุขภาพร่างกาย - ร่างกายแขง็ แรง สมบูรณ์ - รกั ษาความสะอาดของรา่ งกายอย่างสมา่ เสมอ - รา่ เริง แจม่ ใสอยู่เสมอ - ไม่ย่งุ เก่ียวกบั เสพติด 12. บคุ ลากร 1. จานวนครทู งั้ หมด 64 คน (ชาย 9 คน/หญิง 55 คน ) แยกตามวฒุ กิ ารศึกษา ดงั น้ี - ปรญิ ญาโทหรือสงู กว่า จานวน 6 คน - ปริญญาตรี จานวน 58 คน - ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี หรือเทียบเทา่ จานวน - คน

15 2. พนักงานจา้ ง/ลงู จา้ ง (สนับสนุนการสอน) ทั้งหมด 10 คน (ชาย 1 คน/หญงิ 9 คน) 3. จานวนนักการภารโรง ทงั้ หมด 3 คน ( ชาย 2 คน/หญงิ 1 คน ) 4. จานวนนกั เรียน ทงั้ หมด 971 คน ( ชาย 494 คน/หญิง 476 คน ) ซึง่ มีวิธกี ารจัดนักเรียนแต่ละหอ้ ง ดังน้ี ชัน้ ชาย หญิง รวม ห้องเรียน อนบุ าล 1 22 31 53 3 อนุบาล 2 32 37 69 3 อนุบาล 3 45 46 91 3 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 57 53 110 5 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 58 48 106 5 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 54 44 98 5 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 61 71 132 5 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 58 63 121 5 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 62 51 113 5 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 14 10 24 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 22 11 33 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 10 11 21 1 รวม 494 476 971 42 5. อตั ราส่วนระหว่างครูต่อนักเรียนแบง่ ตามระดบั ช้ันดังนี้ อนุบาล ครูจานวน 1 คน ต่อนกั เรียน 24 คน ประถม ครจู านวน 1 คน ตอ่ นกั เรียน 15 คน มัธยม ครูจานวน 1 คน ตอ่ นักเรยี น 11 คน 13. บริเวณสถานศกึ ษา 1. แผนผงั บริเวณสถานศึกษา

16 2. จานวนพ้นื ทีบ่ รเิ วณสถานศึกษา ทงั้ หมด 7 ไร่ 1 งาน 91 5/10… ตารางวา แยกตามบริเวณตา่ งๆ ดังน้ี บรเิ วณแปลงเกษตร 1 งาน 91 5/10 ตารางวา บรเิ วณสนามกฬี า 2 ไร่ บรเิ วณทพี่ ักผ่อน 2 ไร่ บรเิ วณอน่ื ๆ ( ระบชุ ื่อและจานวนพนื้ ที่ ) ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ 2 ห้อง เฉล่ยี คดิ เปน็ 64 ตารางวา จานวนห้องคอมพิวเตอร์ 2 หอ้ ง เฉลย่ี คดิ เปน็ 64 ตารางวา หอ้ งดนตร-ี นาฏศลิ ปะ 1 ห้อง เฉลี่ย คดิ เปน็ 32 ตารางวา หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา 2 หอ้ ง เฉลยี่ คดิ เปน็ 64 ตารางวา ห้องพยาบาล 1 หอ้ ง เฉลี่ย คิดเปน็ 32 ตารางวา ห้องสมดุ 1 หอ้ ง เฉลย่ี คิดเปน็ 32 ตารางวา ห้องกิจกรรมอื่นๆ เฉลี่ยคิดเปน็ 286 ตารางวา 14. สภาพทวั่ ไปของอาคารสถานทีแ่ ละบริเวณ 1. การจดั ระบบอาคาร (จัดให้มีอาคารอะไรบ้าง และจดั อยา่ งไร) อาคารเรียน แบง่ เป็นอาคารเรียนท้งั หมด 4 อาคาร 42 หอ้ งดง้ั นี้ -อาคารบริรกั ษ์ เป็นอาคารที่ใชจ้ ัดการเรยี นการสอนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่1-4

17 -อาคารปรัชญา เปน็ อาคารที่ใชจ้ ดั การเรยี นการสอนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที 5่ี -6 -อาคารกตญั ญู เปน็ อาคารทใี่ ชจ้ ัดการเรยี นการสอนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3 -และหอ้ งพกั ครู แหล่งเรียนรู้ คือ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ศูนย์ ภาษาองั กฤษ ห้องดนตรี และหอ้ งนาฏศลิ ป์ หอ้ งพเิ ศษ คอื ห้องผ้อู านวยการและผู้ชว่ ยผูอ้ านวยการ ห้องธุรการ หอ้ งวิชาการ หอ้ งประชาสัมพันธ์

18 -อาคารอมรพัฒน์ เป็นอาคารท่ใี ชจ้ ัดการเรยี นการสอน ระดับชั้นอนบุ าล 1-2 แหลง่ เรียนรู้ คือ หอ้ งทาขนม ห้องสมดุ ห้องคอมพิวเตอร์ - อาคารพริ ยิ ะ คือ สถานท่ีทากิจกรรมในรม่ และหอ้ งพักครูพละศึกษา สถานที่ ประกอบดว้ ย สนามฟุตบอลจานวน 1 สนาม สนามบาสเกต็ บอล จานวน 1 สนาม สนามเด็กเล่นจานวน 1 สนาม ลานต่างๆและอ่ืนๆเพื่อใช้เป็นสถานท่ีในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนใหน้ ักเรียน และนักเรียนได้ใช้ประโยชนใ์ นการพกั ผ่อน

19 2. การจดั สภาพของห้องเรียนทางดา้ นแสงเสียงและความร้อน (จัดอะไรบ้างและจัดอยา่ งไร) การจัดการหอ้ งเรียนในแตล่ ะอาคารเรยี นเปน็ ระเบียบเรียบร้อย สะอาด และเป็นสัดสว่ น - ดา้ นแสง การจัดสภาพบรรยากาศโดยรวมแล้วอาคารแตล่ ะอาคารก็จะมแี สงสวา่ งมากพอ ไมอ่ ับช้ืน เนื่องจากการจัดให้อาคารแต่ลาคารอย่หู า่ งกันพอสมควร ทาใหห้ อ้ งเรียนโปร่งสบายและยังมีหลอดไฟ จานวน 4 หลอดในห้องเรียนเพือ่ เพ่มิ แสงสวา่ งอกี ทางหนึ่ง

20 - ด้านเสียง แต่ละห้องเรียนมีผนังก้ันเป็นสัดส่วน เพื่อป้องกันเสียงรบกวนไปยังห้องเรียน ต่างๆ และไม่มีเสียงรบกวนจากภายนอกเพราะโรงเรียนอยู่ห่างไกลจากถนนใหญ่และในห้องเรียน สามารถใชเ้ สียงดงั ฟัง ชัดเจน ทัว่ ท้ังหอ้ ง - ด้านความร้อน หอ้ งเรียนโปร่ง มีหน้าต่างตลอดแนวทางด้านข้างและมีประตูทางเข้า- ออก เพื่อให้อากาศถา่ ยเทปราศจากกล่ินตา่ งๆ มกี ารตดิ ตั้งพดั ลม 2 เครอื่ ง ในแตล่ ะห้อง เพื่อระบายความ รอ้ น ซึ่งเป็นบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ใหก้ ับนักเรยี น 3. การจัดการคมนาคมในสถานศกึ ษา (จดั อะไรบา้ งและจัดอยา่ งไร) การจัดคมนาคมในโรงเรียนมีการจัดเป็นระเบียบ ทางเส้นทางคมนาคมภายในโรงเรียนมีการ สญั จรสะดวก มถี นนลาดยางและทางเดินในแต่ละอาคารเช่ือมต่อกันโดยการปูพ้ืนซีเมนต์ ส่วนสถานที่ จอดรถโดยแบ่งรถจกั รยานยนต์ รถยนต์จัดไว้เป็นสัดสว่ นโดยมีทีจ่ อดรถทัง้ หมด 4 จุดดว้ ยกนั จดุ ท่ี 1เป็นประตใู หญ่ อยใู่ กลก้ บั ทจ่ี อดรถเม่ือขบั รถเข้ามากส็ ามารถขาจอดได้ทนั ที จุดที่ 2 ขา้ ง ๆ อาคารเรียนของชัน้ มธั ยม จุดที่ 3 ใกลก้ ับประตูหลงั ของโรงเรยี น จดุ ที่ 4 ข้าง ๆ อาคารเรยี นของช้นั ป. 4-5 4. การจัดเพื่อสง่ เสรมิ ความนา่ อยู่เกย่ี วกับความสะอาด เรียบรอ้ ย และการตกแตง่ (จดั อะไรบ้าง และจัดอย่างไร)

21 จดั สวนหยอ่ มโดยการปลูกต้นไมป้ ระดบั เปน็ จดุ ๆ ตามหน้าอาคารเรยี นซ่ึงมองแลว้ สบายตา - มีม้าน่ังผกั ผ่อนใต้อาคารเรยี น - มกี ารจดั สวนคณติ ศาสตรเ์ พอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ - มีถังขยะวางเปน็ จุด ๆ และมีการวางถังขยะในแตล่ ะหอ้ งเรียนเพื่อสะดวกในการท้ิงขยะ - ห้องเรียนแต่ละห้องมีการจัดเวรทาความสะอาดเป็นประจาทุกวัน ทั้งในห้องเรียนและหน้าอาคารเรียน ร่วม ถงึ บริเวณโรงเรียน เพ่ือฝึกให้นักเรยี นรกั ษาความสะอาด 5. การจัดที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ เช่น การจดั ป้ายนเิ ทศ การจดั มุมหนงั สอื การจดั อุปกรณ์และอน่ื ๆ (จัดอะไรบา้ งและจัดอย่างไร) - จัดป้ายนเิ ทศหนา้ หอ้ งเรียน และตามอาคารต่าง ๆ ในเร่ืองทน่ี า่ สนใจและใหป้ ระโยชน์กบั นกั เรยี น เช่น เรอ่ื ง เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาการใหม่ ๆ ฯลฯ - จดั ป้ายประชาสัมพนั ธ์เก่ยี วกับข่าวสาร สารสนเทศตา่ งๆ รวมทั้งจดั บอรด์ วันสาคญั ต่างๆ - มีการจัดป้ายนิเทศ คาขวัญ คาคมต่างๆ เพื่อให้เด็กนักเรียนใช้เป็นข้อคิดหรืคติประจาใจ ในการใฝ่หาความรู้ รวมถงึ การดาเนินชีวติ ประจาวัน เพือ่ ส่งเสรมิ ความรูค้ วามน่าเรียนให้กบั นักเรียนไดอ้ ยา่ งดี

22 15. โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรียน (ประกอบดว้ ยฝา่ ยใดบ้าง อธิบายมาอยา่ งละเอยี ด) แผนผังการบรหิ ารงาน โรงเรยี นเทศบาล 5 (บา้ นตลาดเก่า)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook