Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่2 (2)

บทที่2 (2)

Published by ปวริศ เรืองฉิม, 2020-10-20 12:45:02

Description: บทที่2 (2)

Search

Read the Text Version

33 บทท่ี 2 การทางานของคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณต์ ่อพ่วง 2.1. หลกั การทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ จะตอ้ งประกอบดว้ ย หน่วยรับ ขอ้ มลู (Input Unit) เพื่อรับขอ้ มลู และคาสงั่ หรอโปรแกรมเขา้ ไปเก็บไวใ้ น อปุ กรณเ์ ก็บขอ้ มลู หรือหนว่ ยความจาหลกั คาสงั่ ท่ีเก็บไวใ้ นหนว่ ยความจา หลกั จะไปตีความ และประมวลผลโดยหนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU) ซ่ึง เปรียบเป็ นสมองของคอมพิวเตอร์ ผลท่ีไดจ้ าการคานวณหรือเปรียบเทียบ จะไปเก็บยงั หนว่ ยความจาแรมและพรอ้ มท่ีจะแสดงผล

34 ก่อนท่ีคอมพิวเตอร์จาทางานไดจ้ ะตอ้ งโหลดเอาระบบปฏิบัติการ เขา้ ไปเก็บไวใ้ นหน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน กระบวนการนี้ เรียกว่า “การบตู เคร่ือง (Boot)” มี 7 ขน้ั ตอนดงั น้ี 1. เมื่อปิ ดสวิตชเ์ ครื่องคอมพิวเตอร์ Power Supply จะส่ง สญั ญาณไฟฟ้ าไปใหซ้ ีพียู (CPU : Central Processing Unit) เริ่มทางาน 2. ซีพียู สงั่ ใหไ้ บออส (BIOS : Basic Input Output System) ทางาน 3. เร่ิมทางานตามกระบวนการ POST เพื่อตรวจเช็ตอปุ กรณต์ ่างๆ หากมีขอ้ ผิดพลาดจะมีสัญญาณเตือน เช่น เสียงยาว 1 คร้ัง และเสียงสั้น 3 คร้ัง แสดงว่าเกิดขอ้ ผิดพลาดจากการ์ดจอ ไบออสแต่ละร่นุ จะมีรหัส สญั ญาณที่แตกตา่ งกนั 4. ผลลัพธท์ ี่ไดจ้ ากกระบวนการ POST จะนาไปเปรียบเทียบกับ ขอ้ มลู ที่อย่ใู น CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor) ขอ้ มลู ของอปุ กรณต์ ่างๆ ท่ีติดตงั้ อย่ใู นเครื่อง หรือ ค่า Configuration จะเก็บไวใ้ น หน่วยความจานีถ้ า้ ถกู ตอ้ งก็จะทางานต่อไป ถา้ เกิดผิดพลาดตอ้ งแจง้ ผใู้ ชใ้ ห้ แกไ้ ขขอ้ มลู ก่อน

35 5. ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรบั บตู จากฮารด์ ดิสก์ ไปออสในร่นุ ใหม่จะกาหนดไดว้ ่าจะบตู จากเซกเตอรแ์ รกของอปุ กรณต์ วั ไหนกอ่ น 6. โปรแกรมส่วนสาคัญท่ีเรียกว่า เคอร์เนล (Kernel) จะถกู ถ่ายทอดคา่ ลงหนว่ ยความจาแรม (RAM : Random Access Memory) Kernel คือ ส่วนประกอบหลกั ของระบบปฏิบัติการ ซ่ึงจะคอย ดูแลบริหารจัดการทรัพยากรของระบบ และติดต่อประสานงานกับ ฮาร์ดดิสก์และซอฟต์แวร์ เนื่องจากเป็ นส่วนประกอบพื้นฐานของ ระบบปฏบิ ัติการ เคอรเ์ นลเป็ นฐานร่างสดุ ในการติดต่อกบั ทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจา หน่วยประมวลผลกลาง และอุปกรณ์อินพตุ และ เอาตพ์ ตุ 7. ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาจะเขา้ ควบคุมเคร่ือง คอมพิวเตอรแ์ ละแสดงผลลพั ธเ์ คอรเ์ นลถกู ถ่ายโอนลงส่หู น่วยความจา และ เขา้ ไปควบคมุ การทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรโ์ ดยรวมและโหลดค่าของ Configuration ตา่ งๆ พรอ้ มทั้งแสดงผลลัพธม์ าที่เดสกท์ อปของผใู้ ชเ้ พื่อรอ รับคาสงั่ การทางานตอ่ ไป ซ่ึงในปัจจบุ ันระบบปฏิบัติการใหม่ๆจะมี GUI ท่ี เหมาะสมกบั ผใู้ ช้ เดสกท์ อป (Desktop) คือ พื้นท่ีฉากหลงั ของ Windows ถกู จาลองมาจากการทางานบนโจฃต๊ะทางาน ซึ่งประกอบไปดว้ ย เคร่ืองมือท่ี ช่วยอานวยความสะดวกในการทางาน โดยจะมีสัญลักษณ์ภาพแทนสิ่ง ต่างๆ ในระบบใหม้ องเห็นเหมือนกับส่ิงของที่อย่บู นโต๊ะ ผูใ้ ช้สามารถ เรียกใชง้ านได้สะดวก รวดเร็ว และยังสามารถปรับเปล่ียนภาพบน เดสกท์ อปไดต้ ามความตอ้ งการ GUI (Graphic User Interface) คือ การใชภ้ าพสัญลักษณต์ ิดต่อ กับผใู้ ช้ เป็ นการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม้ ีการโตต้ อบกับผใู้ ช้ โดยใชไ้ อคอน (ICON) รปู ภาพ และสญั ลักษณต์ ่างๆ แทนการพิมพค์ าสงั่ ในการทางานชว่ ยใหผ้ ใู้ ชท้ างานไดง้ า่ ย

36 การบตู มี 2 ชนดิ คือ 1. โคลบตู (Cold Boot) คือ การบูตเคร่ืองท่ีอาศัยการ ทางานของฮารด์ แวร์ โดยการกดป่ ุมสวิตชเ์ พาเวอร์ 2. วอรม์ บตู (Warm Boot) คือ การบตู เคร่ืองโดยทาใหเ้ กิด กระบวนการบตู ใหมห่ รือทเ่ี รียกว่า “รีสตาร์ตเคร่ือง” ส่วนใหญ่จะใชใ้ นกรณีท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอรห์ ยดุ ชะงัก (Hang) เมื่อคอมพิวเตอรห์ ยดุ ชะงกั สามารถแกไ้ ขได้ 3 วิธี คอื 1) กดป่ ุม Reaet บนเคร่ือ 2) กด Ctrl+Alt+Del 3) สงั่ รีสตารต์ เครื่องจากเมนปู ฏิบัติการ

37 2.2. หนา้ ท่ีและหลกั การทางานของอปุ กรณต์ ่อ พ่วง อปุ กรณต์ ่อพ่วง คือ อปุ กรณท์ ี่สามารถต่อเขา้ กับอปุ กรณข์ องหน่วยประมวลผล กลางและประกอบเขา้ กับระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้สามารถใชง้ านได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 1. แผงแป้ นอักขระ (Keyboard) เป็ นอปุ กรณ์หลักที่ใชใ้ นการนาขอ้ มลู ลงในเคร่ือง คอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็ นแป้ นตัวอักษรเหมือนแป้ นเคร่ืองพิมพด์ ีด เป็ นอปุ กรณน์ า ขอ้ มลู เขา้ พื้นฐานที่ตอ้ งใชใ้ นเครื่องคอมพิวเตอร์ทกุ เครื่อง คียบ์ อร์ดจะมีแป้ นตวั เลข แยกไวต้ ่างหาก เพ่ือความสะดวกในการป้ อนขอ้ มลู ที่เป็ นตัวเลขและสะดวก การวาง ตาแหนง่ แป้ นอักษรจะเป็ นไปตามมาตรฐานของระบบพิมพส์ มั ผัสของเครื่องพิมพ์ดีดท่ี มกี ารใชแ้ ป้ นยกแคร่ (Shift) เพ่ือใชพ้ ิมพ์ตวั อักษรบน ตวั พิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ระบบรหสั ตวั อกั ษรท่ใี ชใ้ นทางคอมพิวเตอรจ์ ะเป็ นรหสั 7 หรือ 8 บิต เมื่อมีการกด แป้ นพิมพ์ เคร่ืองจะส่งรหัส 7 หรือ 8 บิตเขา้ ไปในระบบคอมพิวเตอร์ ภายใน แป้ นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่ประกอบดว้ ยช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์จานวนมากมี ลักษณะเป็ นแผ่นบางๆ ท่ีถกู ฉาบดว้ ยหมึกท่ีเป็ นตัวนาไฟฟ้ า เมื่อแป้ นพิมพ์ถกู กดจน ติดกับชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ก็จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลในตัววงจร ขอ้ มูลในรูปของ สัญญาณไฟฟ้ าจากแป้ นท่ีถกู กดแต่ละแป้ นจะถกู เปรียบเทียบรหสั (Scan Code) กบั รหสั มาตรฐานของแต่ละแป้ นทกี่ ดเพ่ือเปลย่ี นใหเ้ ป็ นตวั อักษร ตัวเลข หรือสญั ลกั ษณ์ ไปปรากฏทจ่ี อคอมพิวเตอร์ ระบบรหัสท่ีใชใ้ นเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหสั ASCII (American Standard Conde for Information Interchange) เป็ นรหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา เพื่อการแลกเปล่ียนสารสนเทศ เป็ นรหสั อักขระที่ประกอบดว้ ย อักษรละติน เลขอา รบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆโดยแต่ละรหัสจะแทนดว้ ยตัว อักขระหน่งึ ตัว เช่น รหสั 65 (เลขฐานสิบ) ใชแ้ ทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็ น ตน้

38 คยี บ์ อรด์ มี 5 แบบ คือ · Desktop Keyboard มี 101 แป้ น Desktop Keyboard with Hot Keys คือ คียบ์ อรด์ ที่มีจานวนแป้ นมากกว่า 101 แป้ นขึ้นไปขึ้นอย่กู ับวัตถุประสงค์การใชง้ าน ซ่ึงจะมีป่ ุมพิเศษสาหรับ ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows Wireless Keyboard คือ คียบ์ อร์ดไรส้ ายไม่ตอ้ งต่อสายเขา้ กับตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ แต่จะมีอปุ กรณ์รับสัญญรจากคียบ์ อร์ด การทางานจะใชค้ วามถ่ี วิทยใุ นการสื่อสาร ซึ่งความถ่ีทใ่ี ชจ้ ะอย่ทู ี่ 27 MHZ (Megahertz) อปุ กรณช์ นดิ น้ี มกั จะมาคกู่ บั อปุ กรณเ์ มา้ ส์ MHZ (Megahertz) เป็ นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้ าชนิดกระแสไฟสลับ (AC : Alternating Current Bectricity)

39 Security Keyboard คือ คียบ์ อร์ดที่มีช่องเสียบ Smart Card เพื่อป้ องกันการใช้ งานจากผทู้ ี่ไม่ไดเ้ ป็ นเจ้าของคีย์บอร์ด คีย์บอร์ดชนิดน้ีเหมาะสมกับการใชง้ านที่ ตอ้ งการความปลอดภยั สงู หรือใชค้ วบคมุ เคร่ือง Server ที่ยอมใหเ้ ฉพาะ Admin ท่ี ทาหนา้ ทเี่ ป็ นผู้ Update ขอ้ มลู การเลอื กซ้ือแผงแป้ นอกั ขระควรพิจารณาร่นุ ใหม่ท่เี ป็ นมาตรฐานและสามารถ ใชไ้ ดก้ ับเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมีอยู่ สาหรับเคร่ืองขนาดกระเป๋ าห้ิว ไม่ว่าจะ เป็ นโนต็ บ๊คุ แล็ปท็อป ขนาดแผงแป้ นอักขระยงั ไม่มีการกาหนดเป็ นมาตรฐาน เพราะผผู้ ลิตมีความตอ้ งการใหเ้ ครื่องมีขนาดเล็กลง โดยลดจานวนแป้ นแลว้ ใชแ้ ป้ นหลายแป้ นพรอ้ มกนั แทนการทางานในแป้ นเดยี ว แผงแป้ นอกั ขระ แบ่งออกเป็ น 4 สว่ น 1. Typing Keys คือ กล่มุ แป้ นอักขระการวางแป้ นอักขระจะเหมือนกบั การวางแป้ นอักขระบนเครื่องพิมพด์ ีด

40 2. Numeric Keypad คือ กล่มุ แป้ นตัวเลขและเครื่องหมายที่ใชใ้ นการ คานวณ 3. Function Keys คอื กล่มุ ฟังกช์ นั มี 12 แป้ น คอื F1-F12 4. Control Keys คอื แป้ นควบคมุ ต่างๆ เช่น Ctrl, Alt เป็ นตน้ การทางานของแผงแป้ นอักขระจะเกิดจากการเปล่ียนกลไกลการกดแป้ น ใหเ้ ป็ นสญั ญาณทางไฟฟ้ าเพื่อสง่ ใหก้ บั คอมพิวเตอร์ โดยสญั ญาณดังกล่าว จะแจง้ ใหค้ อมพิวเตอร์ทราบว่าผใู้ ชก้ ดแป้ นอะไรซึ่งการทางานของแผงแป้ น อักขระทั้งหมดจะถกู ควบคมุ ดว้ ยไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาดเล็กที่บรรจใุ น แผงแป้ นอักขระ ซึ่งสัญญาณต่างๆจะส่งผ่านสายสัญญาณผ่านทางขว้ั ต่อ ขว้ั ต่อมี 4 ประเภท คือ

41 5-pin DIN (Deutsche Institute fur Normung) Connector เป็ นขว้ั ต่อที่มี ขนาดใหญ่ใชก้ บั คอมพิวเตอรร์ ่นุ แรกๆ 6-pin IBM PS/2 Mini-DIN Connector เป็ นขวั้ ตอ่ ขนาดเล็กใชก้ นั แพร่หลายใน ปัจจบุ นั 4-pin USB (Universal Serial Bus) Connector เป็ นขว้ั ตอ่ ร่นุ ใหม่

42 ป่ มุ ต่างๆบนคียบ์ อรด์ เพ่ือการใชง้ านในเบ้ืองตน้ 1. ~ (Grave Accent) ใชส้ ลบั ภาษาท่พี ิมพ์ 2. Enter ใชใ้ นการขนึ้ บรรทดั ใหม่ หรือยนื ยนั การสงั่ งาน 3. ESC (Escape) ใชย้ กเลิกหรือหยดุ ทางาน 4. Backspace ใชล้ บตวั อกั ษรท่ีอยดู่ า้ นซา้ ยของ Cursor 5. Delete ใชล้ บตวั อักษรที่อย่ดู า้ นขวาของ Cursor 6. Num Lock ใชเ้ ปิ ดและปิ ดการใชง้ านป่ ุมตวั เลขที่อยู่ ทางดา้ นขวาของคยี บ์ อรด์ 2. เมา้ ส์ (Mouse) คือ อปุ กรณท์ ี่ทาหนา้ ท่ีป้ อนขอ้ มลู อย่างหน่ึง แต่ที่เห็น การทางานโดยทวั่ ไปจะเป็ นอปุ กรณท์ ี่ใชค้ วบคมุ ลกู ศรใหเ้ คล่ือนท่ีไปยังตาแหน่ง ต่างๆ บนจอภาพ เหมาะกับการใชง้ านที่ตอ้ งเลือกหรือเล่ือนวัตถตุ ่างๆ บน จอคอมพิวเตอร์ การทางานของเมา้ ส์ มี 3 ประเภท คอื 1. เมา้ สท์ างกล (Mechanical Mouse) อาศัยลกู บอลยางท่ีกลิ้งไปมาได้ เมือ่ เคล่อื นยา้ ยเมา้ ส์ ลกู บอลจะกดแนบอย่กู บั ลกู กล้งิ แกนของลกู กล้ิงจะต่อกบั จานแปลรหัส บนจานจะมีหนา้ สมั ผัสเป็ นจดุ ๆ เมื่อจดุ สัมผัสเล่ือนมาตรงแกน สัมผัสก็จะสรา้ งสัญญาณแจง้ ไปยังคอมพิวเตอร์ โปรแกรมควบคมุ เมา้ สจ์ ะทา หนา้ ท่ีแปลคาสงั่ เพ่ือเคลื่อนยา้ ย Cursor บนจอภาพตอ่ ไป

43 2. เมา้ สใ์ ชแ้ สง (Optical Mouse) การทางานคลา้ ยกับ Mechanical ต่างกันท่ี ตวั รับการเคล่ือนท่ีของจาน Encoder จะมี LED อย่อู ีกดา้ นหนง่ึ ของจานไว้ กาหนดแสงและอีกดา้ นหนงึ่ จะมีทรานซิสเตอรไ์ วแสง (OPTP-Transistor) ไว้ ตรวจจับแสงแทนการใชก้ ารสมั ผสั 3. เมา้ สไ์ รส้ าย (Wireless Mouse) คือ เมา้ ส์ท่ีมีการทางานเหมือนเมา้ ส์ ทวั่ ๆไป แต่จะไมม่ ีสายต่อออกมาจากตวั เมา้ ส์ เมา้ สช์ นดิ นจ้ี ะมีตัวรับและตัวส่ง สญั ญาณ ตัวรับสัญญาณอาจเป็ นหัวต่อแบบ PS/2 หรือแบบ USB ที่ เรียกว่า Thumb USB Receiver ซึ่งใชค้ ่าความถ่ีวิทยอุ ย่ทู ่ี 27 MHz และ ปัจจบุ ันใชแ้ บบ Nano Receiver ซ่ึงใชค้ วามถี่วิทยทุ ี่ 2.4 GHz MHz (Megaheriz) คือ หน่วยวัดกระแสไฟฟ้ ากระแสสลบั (AC : Alternating Current) หรือ ความถ่ีของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM) = 1,000,000 hertz (1 ลา้ นเฮิรตซ)์ หน่วยน้ีใชใ้ นการแสดงความเร็ว นาฬิกา ไมโครโปรเซสเซอร์ และพบในการวัดสัญาณ Bandwidth สาหรับ ขอ้ มลู ดิจิตอล ความเร็วสงู สัญญาณวิดีโอ อนาล็อก และสัญญาณการ กระจายสเปกตรัม GHz (Gighertz) คือ หน่วยวัดกระแสไฟฟ้ าสลบั (AC : Alternating Current) หรือความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EM) = พันลา้ นเฮิรตซ์ (1,000,000,000Hz) Gigahertz ไดร้ ับการใชเ้ ป็ นตัวช้ีความถ่ีของ Ultra- High-Frequency (UHF) และสัญญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ าไมโครเวฟ (Microwave) รวมถึงคอมพิวเตอรบ์ างเรื่องท่ใี ชแ้ สดงความเร็วของนาฬิกาของ ไมโครโปรเซสเซอร์

44 บนเมา้ สจ์ ะมีป่ ุม 2-3 ป่ ุมข้นึ อย่กู บั การออกแบบของผผู้ ลิตว่าตอ้ งการจะผลิต เมา้ สเ์ พ่ือรองรบั โปรแกรมอะไรบา้ ง บางโปรแกรมอาจตอ้ งใชป้ ่ ุมกลางเพ่ือการใช้ งาน แต่การใชง้ านโดยทวั่ ๆไปนยิ มใชส้ ่วนนว้ิ กลางวางไวท้ ี่ป่ ุมขวาของเมา้ ส์ องุ้ มือใชส้ าหรบั เคลื่อนเมา้ สไ์ ปมาไดส้ ะดวก เมื่อเล่ือนเมา้ ส์ จะพบตวั ชี้เมา้ สเ์ ลื่อนไป มาบนหนา้ จอคอมพิวเตอร์ การใชเ้ มา้ ส์ 1. คลิก (Click) คือ การกดป่ ุมซา้ ยของเมา้ ส์ 1 ครั้ง เพ่ือใชเ้ ลือกรายการ หรือคาสงั่ ต่างๆ 2. ดบั เบ้ิลคลิก (Double Click) คือ การกดป่ ุมซา้ ยของเมา้ ส์ 2 คร้ังติดๆ กนั เพ่ือเปิ ดไอคอนหรือชอรต์ คตั ของโปรแกรมขน้ึ มาทางาน 3. แดรกเมา้ ส์ (Drag Mouse) คือ การกดป่ ุมซา้ ยของเมา้ สค์ า้ งไว้ แลว้ ลาก ไปใหค้ ลมุ ขอ้ ความทีต่ อ้ งการ 4. กดป่ มุ ขวาของเมา้ ส์ (Right Chick) คือ การเขา้ ส่เู มนหู ลกั 5. ทริเปิ ลคลิก (Triple-click) คือ การคลิกป่ ุมซ้ายของเมา้ ส์ 3 คร้ัง ติดต่อกนั อย่างรวดเร็วใชม้ ากท่ีสดุ ใน Microsoft Word และใน Web Browsers เพ่ือเลือกขอ้ ความทงั้ ยอ่ หนา้

45 สญั ลกั ษณข์ องเมา้ ส์ Mouse Pointer ความหมาย Normal Select สญั ลกั ษณข์ องการชีต้ าแหนง่ Help Select สญั ลกั ษณข์ องการชตี้ าแหนง่ ขอความช่วยเหลือ Working In Background มกี ารทางานอยเู่ บ้ืองหลงั Busy กาลงั ดาเนนิ การ

Precision Select 46 สญั ลกั ษณก์ ารเลอื กที่จะครอบคลมุ วตั ถุ ตวั ชเ้ี มา้ ส์ ลกั ษณะน้สี ่วนใหญ่จะพบในโปรแกรม Graphic Text Select ใชพ้ ิมพข์ อ้ ความตา่ งๆ Handwriting สญั ลกั ษณข์ องการวาด Unavailable ไม่อนญุ าตใหค้ ลกิ ทข่ี อ้ ความหรือป่ ุมนี้ ขยายหรือลดขนาดของวัตถตุ ามแนวตง้ั Horizontal Resize ขยายหรือลดขนาดของวัตถตุ ามแนวนอน Diagonal Resize 1 ขยายหรือลดขนาดของวตั ถจุ ากมมุ บนซา้ ย หรือมมุ ล่างขวา ขยายหรือลดขนาดของวัตถจุ ากมมุ บนขวา Diagonal Resize 2 หรือมมุ ล่างซา้ ย

Move 47 Alternate Select การเคลือ่ นยา้ ยวตั ถุ Spread Sheet ใชช้ ้ีเซลลง์ านของโปรแกรมประเภท Link Select แจง้ ตาแหนง่ การเช่ือมตวั 3. แผ่นรองสมั ผสั (Touch Pad) คือ แผ่นรองสมั ผัส (Touch Pad) คือ อปุ กรณท์ ี่มีลกั ษณะเป็ นแผ่นสี่เหลี่ยมบางๆ ติดตั้งไวอ้ ย่ใู นคอมพิวเตอรแ์ บบ พกพาเพื่อใช้ทางานแทนเมา้ ส์ เมื่อกดสัมผัสหรือใชน้ ้ิวลากผ่านบริเวณ ดงั กล่าวสามารถทางานแทนกันได้ ส่วนมากจะติดตง้ั ไวบ้ ริเวณดา้ นล่างของ แป้ นพิมพ์ 4. กา้ นควบคมุ (Joy Stick) คือ อปุ กรณท์ ่ีมีลกั ษณะเป็ นคันโยกมีป่ ุม บงั คบั ทด่ี า้ นคนั โยก เพ่ือการควบคมุ ตาแหนง่ บนจอคอมพิวเตอร์

48 5. ลกู กลมควบคมุ (Trackball) อปุ กรณท์ ่ีใชน้ าเขา้ ขอ้ มลู ลกั ษณะการทางานคลา้ ยเมา้ ส์ แต่เอาลกู บอลมาวางอย่ดู า้ นบน นยิ มใชก้ บั คอมพิวเตอรโ์ นต๊ บคุ๊ 6. แท่งช้คี วบคมุ (Track Point) อยตู่ รงกลางแป้ นพิมพใ์ ช้ นวิ้ หวั แมม่ ือบังคบั เพื่อเลื่อนตาแหนง่ ของ Pointer บนจอคอมพิวเตอร์ ลกั ษณะการทางานคลา้ ยเมา้ ส์ 7. ปากการแสง (Light Pan) คือ อปุ กรณร์ ับขอ้ มลู ชนิดหนง่ึ ที่มีเซลล์ แบบ Photoelectric มีความไวต่อแสง ทางานคลา้ ยกับเมา้ สท์ ่ีใชใ้ นการ ตดิ ต่อกับคอมพิวเตอร์ มีรปู ร่างเหมือนปากกาและมีแสงอย่ตู อนปลาย มี สายสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ ปลายขา้ งหนึ่งของปากกาจะมี สายเช่ือมต่อกับคอมพิวเตอร์ การใชง้ านทาไดโ้ ดยการแตะปากกาแสงไปที่ จอคอมพิวเตอรต์ รงตาแหน่งที่ตอ้ งการปากกาแสงนยิ มใชก้ บั งานออกแบบ (CAD : Computer Aided Design) การวาดภาพสาหรบั งานกราฟิ กและเป็ น อุปกรณ์ป้ อนข้อมูลด้วยการเขียนและจิ้มเลือกเมนูที่ต้องการบ น จอคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งผ่านขอ้ มูลการเลือกให้กับโปรแกรมที่อย่ใู น หน่วยความจา นอกจากนน้ั ยังใชป้ ากกาแสงกบั คอมพิวเตอรพ์ กพาหรือ ปาลม์ ท็อปอยา่ งแพร่หลาย

49 ปากกาแสงจะมีเซลลแ์ บบ Photoelectric เซลลน์ ีม้ ีความไวต่อแสงทางาน คลา้ ยเมา้ สท์ ี่ใชใ้ นการติดต่อกบั คอมพิวเตอร์ มีรปู ร่างคลา้ ยปากกาและมี แสงอยตู่ อนปลายปากกา มีสายไวเ้ ชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ การใชง้ าน ทาไดโ้ ดยการแตะปากกาแสงไปบนจอคอมพิวเตอรต์ ามตาแหนง่ ที่ตอ้ งการ นยิ มใชก้ บั งานออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ (CAD : Computer Aided Design) การวาดภาพกราฟิ ก และนยิ มใชเ้ ป็ นอปุ กรณป์ ้ อนขอ้ มลู ดว้ ยการ เขียนหรือช้ีเลือกเมนูท่ีตอ้ งการบนจอคอมพิวเตอร์ และยังใชก้ ับเครื่อง คอมพิวเตอรแ์ บบปาลม์ ท็อป 8. เครอ่ื งอ่านพิกดั (Digitizing Tablet) เป็ นอปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู ทีม่ กั จะ ใชง้ าน CAD/CAM มีลกั ษณะเป็ นแผ่นสเ่ี หลี่ยมเท่ากบั จอคอมพิวเตอร์ และ มีอปุ กรณช์ ีต้ าแหนง่ คลา้ นเมา้ สว์ างบนแผน่ ส่เี หลย่ี มเรียกว่า ทรานสดิวเซอร์ เม่ือเลื่อนตวั ชต้ี าแหนง่ ไปบนกระดาน จะมกี ารส่งสญั ญาณ จากตะแกรงใตแ้ ผน่ กระดานไปใหค้ อมพิวเตอร์

50 9. หนา้ จอสมั ผสั (Touch Screen) คือ การใชห้ นา้ จอคอมพิวเตอร์เป็ น อปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู ซึ่งจะใชแ้ รงกดผใู้ ชโ้ ตต้ อบกบั คอมพิวเตอรด์ ว้ ยการสัมผสั ภาพหรือคาบนหนา้ จอ จอสมั ผสั มี 3 ชนิด คอื 1. Resistive หนา้ จอสมั ผสั แบบ Resistive ไดร้ ับการห่อหมุ้ ดว้ ยเลเยอร์โลหะ ทางไฟฟ้ า ตัวนาและตัวตา้ นทานบางๆ ที่เป็ นสาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลงใน กระแสไฟฟ้ าซึ่งเกดิ ขน้ึ เมอ่ื มีการสมั ผสั หนา้ จอและส่งไปยงั ตวั ควบคมุ สาหรับการ ประมวลผล โดยทวั่ ไป จอสมั ผสั แบบ Resistive สามารถซ้ือไดง้ า่ ย 2. Surface Wave หนา้ จอสัมผัสแบบ Surface Wave ใชค้ ล่ืนอัลตราโซนิกสท์ ี่ ผ่านแผงหนา้ จอสัมผัส เม่ือแผงถูกสัมผัส ส่วนของคลื่นถูกดูดซับ การ เปลี่ยนแปลงในคลื่นอัลตราโซนิกสจ์ ะลงทะเบียนขวั้ บวกของการสัมผสั และส่ง สารสนเทศไปยังตัวควบคุมสาหรับการประมวลผลแผงหนา้ จอสัมผัสแบบ Surface Wave มีจดุ เดน่ มากทีส่ ดุ 3. Capacitive หนา้ จอสมั ผัสแบบ Capacitive ไดร้ ับห่อหมุ้ ดว้ ยวัสดทุ ่ีเก็บ ประจไุ ฟฟ้ า เม่อื แผงถกู สัมผัส จานวนประจขุ นาดเล็กไหลไปส่จู ดุ สมั ผสั วงจร ท่ีต้ังอย่แู ต่ละมมุ ของแผงจะวัดประจแุ ละส่งสารสนเทศไปยังตัวควบคมุ สาหรับ การประมวลผล แผงหนา้ จอสัมผัสแบบ Capacitive ตอ้ งสัมผัสดว้ ยนิ้วไม่ เหมือนกบั แผงหนา้ จอสัมผสั แบบ Resistive และ Surface Wave ท่ีสามารถใช้ น้ิวและเหล็กแหลม หนา้ จอสัมผัสแบบ Capacitive ไม่ไดร้ ับผลโดยอนภุ าค ภายนอกและความสว่างสงู

51 2.10 เครอื่ งอ่านบารโ์ คด้ (Bar Code Reader) รหสั แถบ (Bar Code) คือ แถบเสน้ ดายาวท่ีพิมพ์เรียงเป็ นแถวบนตัวภาชน สาหรับบรรจสุ ินคา้ ที่วางขายตามซเู ปอร์มาร์เก็ต การใชร้ หัสแถบบวกกับเคร่ือง อ่านรหัสแถบ ทาใหเ้ กิดความสะดวกรวดเร็ว และมีความแม่นยาในการทางาน ไดม้ าก หลกั การทางานของเครอื่ งอ่านบารโ์ คด้ 1. เครื่องอ่านจะฉายแสงลงบนแท่งบารโ์ คด้ หรือแหล่งกาเนดิ แสง (Light Source) ภายในเครื่องอ่านบารโ์ คด้ จะฉายแสงลงบนแทง่ บารโ์ คด้ และกวาดแสงอ่านผ่านแท่ง บารโ์ คด้ 2. รีบแสงทีส่ ะทอ้ นกลบั มาที่ตวั บารโ์ คด้ ฉายการอ่านบารโ์ คด้ จะใชห้ ลักการสะทอ้ น แสงกลบั มาท่ตี วั รับแสง 3. เปลี่ยนปริมาณแสงท่ีสะทอ้ นกลับมาใหเ้ ป็ นสัญญาณไฟฟ้ าภายในเคร่ืองอ่าน บาร์โคด้ จะมีอปุ กรณ์เปล่ียนปริมาณแสงที่สะทอ้ นกลับมาใหเ้ ป็ นสัญญาณทาง ไฟฟ้ า 4. เปล่ียนสัญญาณไฟฟ้ าใหเ้ ป็ นขอ้ มูลที่นาไปใชง้ านได้ สัญญาณไฟฟ้ าจะไป เปรียบเทียบกบั ตารางบารโ์ คด้ ที่ตัวถอดรหสั (Decoder) และเปลี่ยนใหเ้ ป็ นขอ้ มลู ทีส่ ามารถนาไปใชง้ านได้

52 2.11 สแกนเนอร์ (Scanner) คือ อปุ กรณท์ ่ีทาหนา้ ที่เปล่ียนภาพตน้ ฉบับ (ภาพถ่าย ตัวอักษรบนหนา้ กระดาษ ภาพวาด ) ให้เป็ นขอ้ มูล เพื่อให้ คอมพิวเตอรน์ าขอ้ มลู ดงั กล่าวไปใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือการแสดงผลท่ีจอคอมพิวเตอร์ รวมทงั้ แกไ้ ข ตกแต่ง เพิ่มเติม และจัดเก็บได้ หลกั การทางานของสแกนเนอร์ เครื่องอ่านภาพจะทาการอ่านภาพโดยอาศัยการสะทอ้ น หรือการ ส่องผ่านของแสงกับภาพตน้ ฉบับท่ีทึบแสง หรือโปร่งแสงใหต้ กมากระทบกับ แถบของอปุ กรณไ์ วแสง (Photosensitive) มีชื่อในทางเทคนิคว่า Charge-Couple Device (CCD) ตวั CCD จะรับแสงลงไปเก็บไวใ้ นเสน้ เล็กของเซลล์ และจะ แปลงคล่ืนแสงของแต่ละเซลล์เล็กๆ ใหก้ ลายเป็ นคล่ืนความต่างศักย์ ซ่ึงจะ แตกตา่ งกนั ไปตามอัตราสว่ นของระดบั ความเขม้ ของแสงแตล่ ะจดุ ตวั แปลสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอลจะแปลงคลื่นความต่างศักยใ์ หเ้ ป็ นขอ้ มลู และอยใู่ นรปู แบบท่ีคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ใจได้ ในเวลาเดียวกันโปรแกรมในการอ่านที่ ใชค้ วบคมุ การทางานของเครื่องอ่านภาพใหร้ ับขอ้ มลู เขา้ และจัดรปู แบบเป็ น แฟ้ มขอ้ มลู ของภาพ ในระบบคอมพิวเตอรต์ ่อไป ภาพในคอมพิวเตอร์จะอย่ใู นรปู แบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะแทน ส่วนเล็กๆ ของภาพที่เรียกว่า “พิกเซล (Pixels)” ขนาดของไฟล์ภาพ ประกอบดว้ ย จานวนพิกเซล คอมพิวเตอรจ์ ะบันทึกค่าความเขม้ และค่าสีของ พิกเซลแต่เซลลด์ ว้ ยจานวน 1 บิต หรือหลายๆ บิต จานวนของพิกเซลจะ บอกถึงความละเอียดของภาพ

53 2.12 กลอ้ งดิจิตอล (Digotal Camera) คือ กลอ้ งถ่ายรปู ท่ี ไมต่ อ้ งใชฟ้ ิ ลม์ ภาพทีถ่ ่ายจากกลอ้ งดิจิตอลจะถกู บันทึกแบบดิจิตอลโดยวงจร อิเล็กทรอนกิ สภ์ ายในกลอ้ ง โดยอย่ใู นรปู แบบของไฟลภ์ าพท่ีสามารถส่งเขา้ ไป ยงั คอมพิวเตอร์เพ่ือพิมพอ์ อกมาเป็ นภาพ กลอ้ งดิจิตอลแบ่งตามการใชง้ าน ของ CCD (Charge Coupled Device) และลักษณะการใชเ้ ลนสไ์ ด้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. กลอ้ งคอมแพค (Compact Camera) เป็ นกลอ้ งที่ใช้ CCD ตลอกเวลา เพ่ือส่งภาพไปท่ีจอ LCD (Liquid Crystal Display) มี CCD ทาใหเ้ กิดความ รอ้ นใน CCD นอ้ ยท่ีสดุ เมื่อตอ้ งการบันทึกภาพก็คัดลอกขอ้ มลู บน CCD ในวินาทีท่ีตอ้ งการ แลว้ นาไปประมวลผลต่อ มีเลนส์ท่ีติดตั้งค่กู ับ CCD ตลอดเวลาไม่สามารถถอดออกได้ ในการใชง้ านปกติภาพที่เห็นในช่องมอง ภาพเป็ นคนละภาพ (ใกลเ้ คียง) กับภาพที่ตอ้ งการถ่าย สามารถปรับรรู ับ แสงและความเร็วของชตั เตอรไ์ ดน้ อ้ ย ตวั กลอ้ งมีขนาดเล็ก

54 2. กลอ้ งคอมแพคระดบั สงู (Prosumer) (DSLR-Like) พัฒนาขนึ้ มาจาก คอมแพคใหม้ ีประสิทธิภาพท่ีดีขนึ้ CCD ใหญ่ขนึ้ เม่ือ CCD ใหญ่ขนึ้ เลนสก์ ็ตอ้ ง ใหญ่ขนึ้ ทาใหส้ ามารถเก็บแสงไดม้ ากขน้ึ สีสนั และมิติภาพจึงมีมากกว่าคอมแพค แต่การเก็บภาพยงั ใชห้ ลักการของคอมแพค คือ CCD รับภาพตลอดเวลาส่งให้ ช่องมองภาพกและจอ LCD การท่ี CCD ตอ้ งรับภาพตลอดเวลา กลายเป็ น ขอ้ จากดั ของกลอ้ งชนดิ นที้ าใหไ้ ม่สามารถขยายขนาด CCD ใหใ้ หญ่ทดั เทียมกับ DSLR ได้ 3. กลอ้ ง Digital Single Lens Reflex ZDSLR) (SLR : Single Lens Reflex) หมายถึง ใชก้ ารสะทอ้ นของเลนสช์ ดุ เดียวทง้ั แสงท่ีจะตกลงใน CCD และ แสงที่เขา้ ส่ตู าในช่องมองภาพ ส่วนใหญ่ภาพที่เกิดในช่องมองภาพจะเกิดจากแสง จริงสะทอ้ นผ่านชน้ิ เลนสเ์ ขา้ ส่ตู าไม่ไดเ้ กดิ จากการรับภาพของ CCD จึงไม่สามารถ มองภาพผ่านทาง LCD ไดม้ ีเลนสข์ นาดใหญ่ เพราะมีขนาด CCD ที่ใหญ่ CCD รบั แสงเฉพาะตอนท่ีมา่ นชตั เตอรป์ ิ ดใหแ้ สงผ่านเทา่ นน้ั สามารถถอดเลนสเ์ ปล่ียนได้ เพ่ือใหไ้ ดภ้ าพทต่ี อ้ งการ

55 การโอนภาพจากกลอ้ งดิจิตอลมาไวใ้ นคอมพิวเตอร์ การโอนยา้ ยภาพจากกลอ้ งดิจิตอลไปไวใ้ นคอมพิวเตอรเ์ พื่อจะไดม้ ีพ้ืนที่ ในการถ่ายภาพต่างๆไป การโอนภาพ มี 2 วิธี คือ 1. เชื่อมต่อกลอ้ งดว้ ยสาย USB เขา้ ส่เู ครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อซ้ือกลอ้ ง ดิจิตอล ผขู้ ายจะใหส้ าย USB มา 1 เสน้ ผใู้ ชส้ ามารถเสียบสายขา้ งหนง่ึ เขา้ กบั ตัวกลอ้ ง และเสียบสายอีกขา้ งหนง่ึ เขา้ กบั พอร์ต USB ของคอมพิวเตอรไ์ ด้ ทันทีหลังการเช่ือมต่อ ผูใ้ ชจ้ ะมองเห็นไดร์ฟเพ่ิมขึ้นมาอีกไดร์ฟหน่ึงของ คอมพิวเตอร์

56 2. เชื่อมต่อดว้ ยการด์ หน่วยความจา (Card Reader) หรือ คอมพิวเตอร์โดยตรง คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆมักจะมีช่องเสียบการ์ด หนว่ ยความจามาใหแ้ ลว้ และเช่นเดียวกับการใชง้ านผ่านสาย USB ผใู้ ชเ้ ลือก รปู ภาพและสงั่ ทาสาเนามาเก็บไวใ้ นคอมพิวเตอร์ 2.13 ไมโครโฟน (Microphone) คือ อปุ กรณ์ที่เปลี่ยนส่ียงเป็ น สญั ญาณไฟฟ้ า ไมโครโฟนท่ีดจี ะตอ้ งเปลี่ยนพลงั เสียงไดด้ ีตลอดอย่านความถ่ี เสียง ซึ่งมีความจากัดมาก จึงมีเทคโนโลยีท่ีหลากหลายเกิดขึ้นเพ่ือใหไ้ ด้ สญั ญาณเสยี งทีด่ เี หมอื นตน้ กาเนดิ ของเสียง

57 หลักการทางานของไมโครโฟน เม่ือมีเสียงมากระทบที่แผ่นไดอะ เฟรมบางๆ จะเกิดการสนั่ สะเทือนขนึ้ ผลจากการสนั่ สะเทือนเพียงเล็กนอ้ ยจะทา ให้ขดลวดเขย่า เกิดการเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก ทาให้ขดลวดเกิด กระแสไฟฟ้ าขนึ้ ตามผลการสนั่ ของไดอะเฟรม แต่สัญญาณท่ีไดจ้ ากไมโครโฟนท่ี เรียกว่า พรีไมโครโฟน (Pre Microphone) เทา่ นน้ั ไมโครโฟนชนิดน้มี ี Impedance 600 โอห์ม มีความไวในทิศทางดา้ นหนา้ และในรัศมีสั้นๆ ประมาณ 4 เซนติเมตร จนบางครงั้ เรียกว่า “ไมรอ้ ง” เหมาะสาหรบั การขบั รอ้ ง 2.14 หฟู ัง (Headphone) คอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชแ้ สดงผลขอ้ มลู ในรปู แบบของเสียง โดยมีหนา้ ท่ีคลา้ ยกับลาโพง ประกอบดว้ ย หฟู ัง จะไดย้ ินเสียงเม่ือนาหฟู ังไป แนบกบั หู

58 2.15 ลาโพง (Loudspeaker) คือ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าเชิงกลอย่างหน่งึ ทาหนา้ ท่ี แปลงสญั ญาณไฟฟ้ าใหเ้ ป็ นเสีย ประเภทของลาโพง 1. ทวิตเตอร์ คอื ลาโพงที่มีขนาดเล็กสดุ ของตลู้ าโพง ออกแบบมาเพื่อใหเ้ สียง ทีม่ ีความถ่ีสงู 2. มิดเรนจ์ คือ ลาโพงขนาดกลางของตลู้ าโพง ออกแบบมาเพ่ือใหเ้ สียงในช่วง ความถี่เป็ นกลางๆ คอื ไม่สงู และไมต่ า่ จนเกินไป 3. วฟู เฟอร์ คือ ลาโพงทีทมีขนาดใหญ่สดุ ของตลู้ าโพง ออกแบบมาเพื่อให้ เสียงทีม่ ีความถี่ตา่ 4. ซับวฟู เฟอร์ คือ ลาโพงท่ีทาหนา้ ที่ขับความถี่เส่ียงต่าสดุ มักมีตู้แยก ต่างหาก และใชว้ งจรขยายสญั ญาณในตวั

59 2.16 อปุ กรณ์สารองไฟ (UPS : Uninterruptible Power Supply) คือ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าชนิดหน่ึงสามารถทาการจ่ายพลังงานไฟฟ้ าใหก้ ับ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าหรือคอมพิวเตอร์ไดอ้ ย่างต่อเน่ือง แมก้ ระทัง่ ในเวลาท่ีไฟดับหรือ เกิดปัญหาทางไฟฟ้ า โดยสามารถรับพลังงานไฟฟ้ าไดท้ กุ สภาพ แล้วจ่าย พลังงานไฟฟ้ าออกมาเป็ นปกติ อปุ กรณ์สารองไฟฟ้ า มีส่วนประกอบที่สาคัญ ดงั น้ี · เครอ่ื งแปลงกระแสไฟฟ้ า (Inverter) ทาหนา้ ที่รับกระแสไฟฟ้ า ตรง (DC : Direct Current) จากเคร่ืองแปลงกระแสไฟสลบั (AC : Alternating Current) เป็ น DC หรือ แบตเตอร่ีและแปลงเป็ นกระแสไฟฟ้ า AC สาหรับใชก้ ับ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าลอุ ปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ · แบตเตอร่ี (Battery) คือ อปุ กรณท์ ่ีทาหนา้ ที่เก็บพลังงานไฟฟ้ า สารองไวใ้ ชใ้ นกรณีเกิดปัญหาทางไฟฟ้ า โดยจ่ายกระแสไฟฟ้ า DC ใหก้ บั เคร่ือง แปลงกระแสไฟฟ้ าในกรณที ่ไี ม่สามารถรบั กระแสไฟฟ้ า AC จากระบบจ่ายไฟได้ · เคร่อื งรับกระแสไฟฟ้ า AC จากระบบจ่ายไฟแปลงเป็ น กระแสไฟฟ้ า DC จากนนั้ ประจเุ ก็บไวใ้ นแบตเตอร่ี · ระบบปรับแสงดนั ไฟฟ้ าอัตโนมัติ ทาหนา้ ท่ีปรับแรงดันไฟฟ้ าให้ คงท่แี ละสมา่ เสมออยใู่ นระดบั ทีป่ ลอดภยั ต่ออปุ กรณไ์ ฟฟ้ า

60 ประโยชนข์ อง Uninterruptible Power Supply 1. ช่วยป้ องกนั อนั ตรายที่อาจจะเกดิ ขน้ึ กบั อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าและอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และอปุ กรณต์ ่อพ่วง สาเหตมุ าจากกระแสไฟฟ้ าผิดปกติ เชน่ ความบกพร่องของระบบจ่ายพลงั งานไฟฟ้ าเอง หรือปรากฏการณธ์ รรมชาติ ฝนตก ฟ้ าคะนอง UPS จะทาหนา้ ทปี่ ้ องกนั 2. เม่อื ไฟฟ้ าดบั UPS จะจ่ายพลงั งานไฟฟ้ าสารองใหแ้ ก่อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าและอปุ กรณ์ อิเล็กทรอนิกสเ์ พ่ือใหผ้ ใู้ ชม้ ีเวลาสาหรับการบันทึกขอ้ มลู และไม่ทาใหฮ้ าร์ดดิสก์ เสยี หาย 3. ปรับแรงดนั ไฟฟ้ าใหอ้ ย่ใู นระดบั ท่ีไม่เป็ นอันตรายต่ออปุ กรณไ์ ฟฟ้ าและอปุ กรณ์ อิเล็กทรอนกิ สเ์ ม่อื เกิดปัญหาทางไฟฟ้ า เช่น ไฟตก ไฟกระชาก ไฟดับ และไฟเกิน เป็ นตน้ 4. ป้ องกันสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้ าท่ีสามารถสรา้ งความเสียหายต่อขอ้ มลู และ อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าโดยเฉพาะคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณต์ อ่ พ่วง 2.17 เว็บแคม (Web Cam) หรือ เว็บแคมเมรา (Web Camera) คือ กลอ้ งถ่ายรปู วิดีโอท่ีใชส้ าหรับการเช่ือมต่อกับคอมพิวเตอร์ บางท่านเรียก Web Cam ว่า Video Camera ปกติ คอมพิวเตอรโ์ นต้ บ๊กุ ร่นุ ใหม่ๆ จะติดต้งั กลอ้ งมาพรอ้ มกบั เครื่อง การใชง้ านเว็บแคม คือ การ Chat ทาง MSN (Microsoft Network), Skype เพื่อใหม้ องเห็นหนา้ ผรู้ ่วมสนทนา ซึ่งเป็ นที่นิยมสาหรับการประยกุ ตใ์ ชง้ านอ่ืนก็ สามารถทาได้ เช่น ใชเ้ ป็ นกลอ้ งถ่ายรปู หรือใชท้ าเป็ นกลอ้ งโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV : Closed-Circuit Television)

61 2.18 หน่วยแสดงผล (Dutput Unit) แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภท คือ 1. หน่วยแสดงผลชว่ั คราว (Soft Copy) คือ การแสดงผลใหผ้ ใู้ ชไ้ ด้ ทราบในขณะนน้ั เมอ่ื เลกิ การทางานผลท่แี สดงอย่นู น้ั จะหายไป ประเภทของจอคอมพิวเตอร์ · จอ CRT (Cathode Ray Tube) พ.ศ. 2524 บริษทั IBM (International Business Machine) เป็ นบริษัทที่ พฒั นาการแสดงผลทใ่ี ชก้ บั จอภาพสเี ดยี ว เรียกว่า จอแบบเอ็มดีเอ (MDA : Monochrome Display Adapter) แสดงผลไดเ้ ฉพาะตัวอักษรและ ตัวเลข สามารถแสดงสีและกราฟิ กได้ แต่มีความละเอียดนอ้ ยเมื่อมีผผู้ ลิต เครื่องไมโครคอมพิวเตอรอ์ อกส่ทู อ้ งตลาดมากมายหลายย่ีหอ้ ท่ีมีระบบการ ทางานแบบเดียวกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็ม ทางบริษัทจึง กาหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ในเวลาต่อมาบริษัทเฮอร์คิวลิส ซ่ึงเห็น ปั ญ ห าข อ งร ะ บ บ ก าร แ สด ง ผล ทั้ง สอ ง นี้ จึ งอ อ กแ บ บ แ ผ งว ง จ ร แ ส ด ง ผ ล เ รี ย ก กั น ติ ด ป า ก ว่ า “ แ ผ ง ว ง จ ร เ ฮ อ ร์ คิ ว ลิส (Hercules Card) หรือ HGA (Hercules Graphic Adapter)” บางค รั้งเรียกว่า “ไมโนโครกราฟิ กอแดปเตอร์” การแสดงผลแบบเฮอร์คิว ลสิ เป็ นท่แี พร่หลายมานาน ในเวลาต่อมาบริษทั ไอบีเอ็มเล็งเห็นความตอ้ งการงานทางดา้ นกราฟิ กสงู ขนึ้ การแสดงผลที่เป็ นสีควรจะมีความละเอียดและมีจานวนสีมากขึ้น จึงได้ พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ก า ร แ ส ด ง ผ ล บ น จ อ ภ า พ โ ด ย ป รั บ ป รุง จ า ก เดิม เรียกว่า EGA (Enhance Graphic Adapter) การเพิ่มเติมจานวนสี ยังไม่เพียงพอกับซอฟต์แวร์ที่ไดร้ ับการพัฒนาใหใ้ ชก้ ับระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ และโอเอส (OS/2) บริษัทไอบีเอ็มจึงพัฒนามาตรฐานการ แสดงผลท่ีมีความละเอียดและเพ่ิมจานวนสีใหม้ ากขึ้น เรียกว่า เอ็กซ์วีจี เอ (XVGA : Extra Video Graphic Array)

62 การทางานของจอคอมพิวเตอร์ CRT (Cathode Ray Tube) การทางานของจอคอมพิวเตอร์เริ่มจากการกระตนุ้ อปุ กรณห์ ลอดภาพ ใหร้ อ้ นเกิดเป็ นอิเล็กตรอนช้ิน และถกู ยิงดว้ ยปื นอิเล็กตรอนไปยังจดุ ท่ี ตอ้ งการแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์ ท่ีจอคอมพิวเตอร์จะมีการเคลือบ สารฟอสฟอรัสเรืองแสง เม่ืออิเล็กตรอนเหล่านวี้ ิ่งไปชน ก็จะทาใหเ้ กิด แสงสว่าง ซ่ึงประกอบกันเป็ นรูปภาพ การยิงลาแสงอิเล็กตรอน ลาแสงจะเคลื่อนท่ีไปตามแนวขวาง เมื่อกวาดภาพมาถึงสดุ ขอบดา้ น หน่ึง ปื นลาแสงก็จะหยดุ ยิง และปรับปื นอิเล็กตรอนลงมา 1 Line และเคล่ือนทไี่ ปยงั ขอบอีกดา้ นหนง่ึ ทาการยิงใหญ่ ลกั ษณะการยิงจะเป็ น แบบฟันเล่อื ย Cathode Ray Tube (CRT) เป็ นหลอดสญุ ญากาศพิเศษที่ ภาพ สามารถ สร้างขึ้นได้ เมื่อลาแ สงอิ เล็ กต ร อนชนกับ แส ง Phosphorescent จอของคอมพิวเตอร์แบบตง้ั โต๊ะส่วนใหญ่จะใชจ้ อ CRT ซ่ึงหลอด CRT จะคลา้ ยกับหลอดภาพในเครื่องรับโทรทัศน์ หลอด Cathode Ray Tube ประกอบดว้ ย อปุ กรณพ์ ้ืนฐานหลายแบบปื นยิง อิเล็กตรอน (Electron Gun) จะสรา้ งลาแสงอิเล็กตรอน Anode จะเร่ง อิเล็กตรอน Deflecting Coil เพ่ือสรา้ งสนามแม่เหล็กแบบความถ่ีตา่ ซ่ึง ยินยอมใหม้ ีการปรับค่าความคงท่ีของทิศทางของลาแสงอิเล็กตรอน Reftecting Coil มี 2 กล่มุ คือ กล่มุ แนวนอน และกล่มุ แนวตัง้ ความ หนาแนน่ ของลาแสงสามารถเปล่ียนแปลงได้ ลาแสงอิเล็กตรอนจะสรา้ ง จดุ สว่างขนาดเล็ก เมอ่ื ชนจอภาพทีเ่ คล่ือนดว้ ยฟอสฟอรัส

63 ขอ้ ดีของจอ CRT : Cathode Ray Tube แสดงผลไดห้ ลากหลาย มอี ตั ราความเร็วในการสรา้ งภาพได้ (Refresh Rate) สงู กว่า คมชดั กว่า สีสนั สดใสกว่า ขอ้ เสยี · มขี นาดใหญ่ นา้ หนกั มาก · สิ้นเปลืองพลงั งานมากกว่า · มีความรอ้ นสงู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook