Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged (1)

ilovepdf_merged (1)

Published by pinnibu, 2020-04-28 01:49:36

Description: ilovepdf_merged (1)

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ องคค์ วามรูร้ ายบคุ คล เร่อื ง พฒั นากลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ บา้ นเชิงเขาอย่างยงั่ ยนื เจา้ ขององคค์ วามรู้ นายพนิ นิบูร์ เจา้ พนักงานพฒั นาชมุ ชนชานาญงาน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี 2565

แบบบันทกึ องคค์ วามรรู้ ายบคุ คล 1. ชื่อองคค์ วามรู้ พัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตบา้ นเชิงเขาอย่างย่ังยืน 2. ชอ่ื เจา้ ของความรู้ นายพนิ นิบูร์ ตาแหน่ง เจ้าพนักงานพฒั นาชุมชนชานาญงาน 3. องค์ความรู้ที่บ่งชี้ (เลือกไดจ้ านวน 1 หมวด)  หมวดท่ี 1 สร้างสรรคช์ มุ ชนพ่ึงตนเอง  หมวดที่ 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตัวอยา่ งสมดลุ  หมวดที่ 3 เสรมิ สร้างทุนชมุ ชนให้มีธรรมาภิบาล  หมวดที่ 4 เสริมสรา้ งองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสูง 4. ท่มี าและความสาคญั ในการจัดทาองค์ความรู้ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตท่ีจัดต้ังข้ึน ในชุมชนน้ัน นอกจากจะเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่าง แท้จริง ในด้านการสร้าง ความรักความสามัคคี การสร้างนิสัยประหยัด และเห็นคุณค่าของการใช้เงินแล้ว ยัง นาไปสู่ความม่ันคงของเงินทุนตนเอง ครอบครัว และชุมชนในอีกทางหนึ่งด้วย อีกทั้งยังสามารถเกื้อกูล สนับสนุนการดาเนินงานในโครงการต่างๆของกรมการพัฒนาชุมชน เช่น โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ และการดาเนินงานกองทุนชุมชนต่างๆ ของรัฐบาลท่ีมีอยู่ ในชุมชน เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชน เมอื ง เป็นตน้ ซงึ่ ทาใหง้ านดังกลา่ ว มปี ระสิทธิภาพดยี ง่ิ ข้ึน ดงั นนั้ กลุม่ ออมทรัพย์เพอื่ การผลติ บา้ นเชิงเขา เป็นเครื่องมอื ในการสร้างผู้นา การสร้างกลุ่มองค์กร ใน การพัฒนาชุมเป็นสาคัญ เพียงแต่การกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตนั้น มิใช่เพียงการรวมกลุ่มของคน 20-30 คน เท่านั้น แต่ต้องเกดิ จากความตอ้ งการของชุมชนเอง และต้องดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบและแนวทาง ท่ีกาหนดไว้ ปัญหาพบ เช่น ชุมชนยังไม่ให้ความสาคัญ การจัดต้ังโดยขาดการวางแผนและกาหนดกรอบ แนวทางทีถ่ ูกต้อง จงึ สง่ ผลให้การจัดต้งั ไมส่ าเรจ็ หรือ กลมุ่ ไม่สามารถบรหิ ารกลมุ่ ไปได้สาเร็จ ทาให้เกิดปัญหาที่ จะตอ้ งมาตดิ ตามแกไ้ ขปญั หา ใหก้ บั พฒั นากร ในภายหลงั 5.รูปแบบ กระบวนการ หรือลาดับขั้นตอน (อธิบายโดยละเอียด) กล่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเชิงเขา เป็นแหล่งเงินทุนท่ีประชาชนในหมู่บ้านได้ใช้บริการมากท่ีสุด เพราะคนในชมุ ชนส่วนมากเป็นสมาชิกกลุ่มและสมาชิกได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการกลุ่ม และเป็นกลุ่มที่ หน่วยงานราชการให้การสนับสนุนช่วยดูแลเมื่อกลุ่มเกิดปัญหา และช่วยแก้ไขปัญหาหรือหาทางออกให้กลุ่ม ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ บา้ นเชิงเขา หมู่ท่ี 4 ตาบลปะลุกาสาเมาะ อาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จัดตั้งขึ้น ตามความต้องการของประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ประสบปัญหาขาดแคลนเงินทุน และปัจจยั ในการผลิต เพื่อพัฒนาอาชีพและยกระดับฐานะของตนเอง ดังน้ัน ได้มีแนวความคิดให้ประชาชนใน ชุมชน ได้รู้จักการประหยัด สะสมเก็บออมทรัพย์ เพ่ือให้มีเงินทุนสนับสนุนในการประกอบอาชีพ ช่วยเหลือ ตัวเอง และครอบครัว ประกอบกับได้ปฏิบัติตามนโยบายของทางราชการ โดยกรมการพัฒนาชุมชน ได้ สนับสนุนให้ประชาชนจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดยการรวมกลุ่มคนให้สะสมทรัพย์คนละเล็กคนละ นอ้ ยเพือ่ ช่วยเหลอื สมาชิกดว้ ยกันเอง /กระบวนงาน…

-2- กระบวนงานในการขับเคลื่อนกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต 1. เสริมสร้างความเข้มแขง็ ในการบรหิ ารจดั การเงินทนุ ชมุ ชนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ดังน้ี 1.1 ส่งเสริมการออมและการลงทุนภายใต้การทางานของกลมุ่ ออมทรัพย์ฯ 1.2 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการเงินทนุ ชุมชน 1.3 ส่งเสรมิ และจดั ต้งั สถาบันการเงนิ ทนุ ชมุ ชน 2. แสวงหาทนุ ชุมชนและพฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การทนุ ชมุ ชน ดงั นี้ 2.1 คน้ หาพฒั นาและจัดการข้อมูลทนุ ชมุ ชน 2.2 พัฒนาผู้นาชุมชนในการบริหารจดั การทุนชุมชน 2.3 สง่ เสรมิ การจัดการภมู ปิ ัญญา วฒั นธรรม และทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ 2.4 ส่งเสรมิ การเรียนรดู้ ้านการบรหิ ารจัดการทนุ ชมุ ชน 3. สง่ เสรมิ การบรู ณาการทนุ ชุมชนให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์กบั พ้นื ท่ี ดงั นี้ 3.1 พฒั นาระบบฐานข้อมลู ทุนชมุ ชน 3.2 ส่งเสริมการบรู ณาการทุนชมุ ชนในการจัดทาแผนชมุ ชน 3.3 ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนโดยใชท้ ุนชมุ ชนตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3.4 เชื่อมโยงเครือขา่ ยทุนชุมชน เพื่อสวัสดิการใหก้ บั ประชาชนอย่างทัว่ ถงึ ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ การจดั การความรกู้ ลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ บ้านเชงิ เขา กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านเชิงเขา เป็นแหล่งเงินทุนท่ีประชาชนในหมู่บ้านได้ใช้บริการมาก ท่ีสดุ เพราะคนในชมุ ชนสว่ นมากเป็นสมาชิกกลุ่มและสมาชิกได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการกลุ่ม และเป็น กลมุ่ ทีห่ นว่ ยงานราชการใหก้ ารสนบั สนุนชว่ ยดแู ลเม่ือกลุ่มเกดิ ปัญหา และช่วยแกไ้ ขปัญหาหรือหาทางออกให้ กล่มุ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิตบ้านเชงิ เขา หมทู่ ่ี 4 ตาบลปะลุกาสาเมาะ อาเภอบาเจาะ จงั หวัดนราธิวาส จัดต้ัง ขึ้นตามความต้องการของประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ประสบปัญหาขาดแคลน เงินทุน และปัจจัยในการผลิต เพื่อพัฒนาอาชีพและยกระดับฐานะของตนเอง ดังนั้น ได้มีแนวความคิดให้ ประชาชนในชุมชน ได้รจู้ กั การประหยัด สะสมเก็บออมทรัพย์ เพื่อให้มีเงินทุนสนับสนุนในการประกอบอาชีพ ช่วยเหลือตัวเอง และครอบครัว ประกอบกับได้ปฏิบัติตามนโยบายของทางราชการ โดยกรมการพัฒนา ชมุ ชน ไดส้ นบั สนุนให้ประชาชนจัดต้ังกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดยการรวมกลุ่มคนให้สะสมทรัพย์คนละ เลก็ คนละน้อยเพ่ือชว่ ยเหลอื สมาชิกดว้ ยกันเอง 6.เทคนคิ ในการปฏบิ ตั ิงาน 1 การสรา้ งความรสู้ ึกเปน็ เจ้าของ โดยการปลกู ฝังใหส้ มาชิกทุกคนมีจติ สานกึ และความ รับผิดชอบ เอาใจใส่ โดยการเลือกตวั แทนทีม่ คี วามสามารถ และคนดี มคี ุณภาพ มาบริหารกิจกรรมของกลุ่ม ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลติ 2 หลักการพ่งึ ตนเอง โดยส่งเสรมิ ให้สมาชกิ มีการประหยัด และอดออม /3. หลกั คณุ ธรรม...

-3- 3. หลกั คณุ ธรรม โดยปลกู ฝงั ใหส้ มาชกิ มคี ุณลักษณะ 5 ประการ ดังน้ี 3.1 ซอื่ สัตย์ 3.2 ความเสียสละ 3.3 ความรบั ผดิ ชอบ 3.4 ความเห็นอกเหน็ ใจ 3.5 ความไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั 4 หลกั การมสี ่วนร่วมของสมาชิก โดยให้สมาชิกมีสว่ นร่วมคิด ร่วมวางแผน รว่ มทา รว่ ม บารุงรกั ษา ร่วมแรง วัสดุและเงนิ ทุน และรว่ มรับผลประโยชน์ 5 หลักประชาธปิ ไตย โดยเนน้ ใหส้ มาชกิ เคารพในสทิ ธขิ องตนเอง และผอู้ ่ืนให้สมาชิกทุกคนถือ ว่า “กล่มุ เป็นของชมุ ชน” 7. ปัญหาทีพ่ บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1. ชาวบ้านยงั ไม่เข้าใจในการออม เพ่อื สรา้ งรากฐานในอนาคต 2. การทางานเป็นกล่มุ ทาให้มีความไมเ่ ข้าใจกนั ความคิดเหน็ ไม่ตรงกนั 3. คณะกรรมการยังไมเ่ ขา้ ใจบทบาทหน้าที่ของตนเองและคณะกรรมการบางคนมีหน้าที่รบั ผดิ ชอบ มากเกนิ ไป 4. สมาชิกส่วนมากไมค่ ่อยแสดงความคดิ เห็นจะปฏบิ ัติตามความคิดของผูน้ าเพียงอย่างเดยี ว 5. คณะกรรมการเป็นคนสูงวยั 6. สมาชิกสว่ นใหญย่ ึดตดิ กับคณะกรรมการชุดเดิมทีด่ ารงตาแหน่งมาหลายสมัย จงึ ขาดผนู้ าทท่ี า หน้าทแ่ี ทน เม่ือคณะกรรมการชดุ เก่าหมดวาระ หรือต้องไปทางานท่ีอ่ืน แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ตอ้ งพฒั นาความรู้แก่สมาชิก การบริหารงานของคณะกรรมการบริหาร การบริหารจัดการเครือข่าย จดั ให้มกี ารฝึกอบรมและศกึ ษาดงู าน แก่คณะกรรมการและสมาชิกเพือ่ สร้างความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ใน การดาเนินกิจกรรมของกลุ่ม สนับสนุนการจัดทาบัญชีและเอกสารต่าง ๆ ให้ครบถ้วน และเข้าง่าย ส่งเสริม และสนับสนนุ ใหค้ นรนุ่ ใหม่ มาร่วมในการดาเนินงานของกลุ่ม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ นาไปสู่การดาเนินงานที่ต่อเน่ือง กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ควรมีการวิเคราะห์ สถานการณ์กลุ่ม เพ่ือนา ข้อมูลมาวางแผน ในการแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือแลกเปล่ียน ความรู้ ประสบการณ์ระหว่างกลุ่ม และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงาน และความก้าวหน้ากลมุ่ ให้สมาชิกและบุคคลทวั่ ไปทราบ อยา่ งต่อเนื่อง 8. ประโยชนข์ ององค์ความรู้ คณะกรรมการกลุ่มรู้ถึงความต้องการของสมาชิกกลุ่มจึงสามารถบริหารจัดการให้ได้มาซ่ึงความต้องการ ของสมาชิก สมาชิกกล่มุ ได้มสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการกลมุ่ มากขึ้น

สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอบาเจาะ จงั หวดั นราธวิ าส โทร..0810887428


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook