Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

Description: แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

Search

Read the Text Version

98 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดาเนินการเพ่ิม ประสิทธิภาพระบบคลังข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค โดยให้สามารถรองรับการเชื่อมโยงจานวน 6 ประเภท (มิติ) ประกอบด้วย 1. ประเภทข้อมูลบุคคล 2. ประเภทข้อมูลนิติ บุคคล 3. ประเภทข้อมูลร้องทุกข์ผู้บริโภค 4. ประเภทข้อมูลอนุญาตประกอบธุรกิจ 5. ประเภทข้อมูลเตือนภัย/ข่าวสาร/องค์ความรู้ และ 6. ประเภทข้อมูลการดาเนินคดี เพ่ือ ยกระดับการให้บริการผูบ้ รโิ ภคที่เหมาะสมสาหรับประชาชนและกลุ่มเปูาหมาย และพัฒนาระบบการบริการแก่ประชาชน โดยเช่ือมโยงข้อมูลและการบริหารจัดการข้อมูลด้านการ ค้มุ ครองผ้บู ริโภคแบบครบวงจร โดยได้ดาเนินการรว่ มกบั 28 หน่วยงาน 99 รายการบัญชีข้อมลู และหารือ Site Visit เพ่ือขอความร่วมมือเช่ือมโยงข้อมูลและรูปแบบการเช่ือมโยง ของหน่วยงาน โดยได้กาหนดแผนรายการสรุปการเช่ือมโยงข้อมูลของหน่วยงาน และกาหนดเปูาหมายการเช่ือมโยงปี 2563 – 2565 ซ่ึงในปีงบประมาณ 2562 สามารถ เชือ่ มโยงรายการบัญชขี อ้ มลู แล้วเสร็จจานวน 6 รายการบญั ชีข้อมลู และปีงบประมาณ 2563 สามารถเชือ่ มโยงรายการบญั ชีขอ้ มลู แล้วเสรจ็ จานวน 26 รายการบัญชขี อ้ มลู ฐานข้อมูล เปูาหมาย หน่วยงานท่ีเชื่อมโยงจานวน 28 หนว่ ยงาน 1. มติ ิข้อมูลบุคคล - การเชื่อมโยงข้อมลู บตั รประชาชนใหส้ ามารถแสดงข้อมูล ส่วนตัว กรมการปกครอง 2. มิตขิ อ้ มลู นติ บิ คุ คล - การเช่อื มโยงขอ้ มลู จดทะเบยี นนติ บิ ุคคล กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ 3. มติ ขิ ้อมลู เรอ่ื งรอ้ งทุกข์ - การเชื่อมโยงเรอื่ งร้องทุกขผ์ บู้ รโิ ภค เพือ่ รบั -สง่ ข้อมลู ศนู ย์ดารงธรรม, สบส., กสทช., สพธอ., อย., สมอ., ศปภ., ธนาคารแห่งประเทศไทย,กรมการ ผู้บรโิ ภค - การเช่อื มโยงฐานขอ้ มลู การร้องทุกข์ ค้าภายใน, กรมการขนส่งทางบก สปน., กรมการทอ่ งเทีย่ ว, กรมคุ้มครองสิทธิเสรภี าพ, สานกั งานปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม 4. มิติข้อมลู ผปู้ ระกอบการ - การเชอื่ มโยงขอ้ มลู การอนุญาตประกอบธุรกิจ ได้รับอนุญาต ทนั ตแพทยสภา, อย., กสทช., สมอ., สพร., กรมทดี่ นิ , กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า, - การเชื่อมโยงขอ้ มูลเกย่ี วกับการแจง้ เตอื นภยั ข่าวสาร และองค์ แพทยสภา, คปภ., สบส., กรมการขนสง่ ทางบก, กรมการทอ่ งเที่ยว, กรมโยธาธิการ 5. มติ ขิ อ้ มลู เตือนภัย ความร้ดู ้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภค และผังเมอื ง, กรมวชิ าการเกษตร ข่าวสารองคค์ วามรู้ - การเชอื่ มโยงเกยี่ วกบั คดแี ละสถานะคดี 6. มติ ขิ อ้ มลู ดาเนินคดี ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, อย., กรมการค้าภายใน, สพธอ., กสทช., สมอ., ศูนยด์ ารงธรรม คปภ., กรมการขนสง่ ทางบก, สบส., กรมการท่องเท่ียว, แพทยสภา, กรมวชิ าการเกษตร สานกั งานปอู งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ , กรมบังคบั คดี, สานักงานอยั การสูงสดุ , สานกั งานศาลยุตธิ รรม

99 ภาพรวมการทางานระบบคลงั ขอ้ มลู ดา้ นการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค

100 ภาพรวมการทางานระบบคลงั ขอ้ มูลด้านการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค จะส่งผลลัพธใ์ หเ้ กดิ การพฒั นาขอ้ มูลและมี ชอ่ งทางการนาไปใช้งานใหเ้ กดิ นวตั กรรมในอนาคต ไดแ้ ก่ 1. ระบบ Web Portal ในการค้นหาข้อมูลเชิงลึก สาหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานใช้สาหรับบริการ ประชาชนในด้านต่าง ๆ รูปแบบการแสดงผลในลักษณะ Responsive การเข้าใช้งานระบบต้องมีการตรวจสอบ สิทธิ์ ตามประเภทข้อมูลท่ีมีสิทธ์ิ สามารถค้นหาได้ตามเง่ือนไขอย่างน้อย 6 เง่ือนไข ได้แก่ 1. เลขบัตรประจาตัว ประชาชน 13 หลัก หรือช่ือ – สกุล 2. เลขนิติบุคคล หรือช่ือผู้ประกอบการ 3. เรื่องร้องทุกข์ 4. ประเภท ใบอนุญาต 5. การแจ้งเตือนภัย 6. การดาเนินคดี โดยสามารถนาออกข้อมูลเป็นไฟล์โปรแกรมพ้ืนฐานท่ัวไป เช่น PDF, Excel, Word หรอื รปู แบบอืน่ ๆ 2. ระบบ BI สาหรับผู้บริหาร เพ่ือช่วยในการวิเคราะห์และวางแผนในการตัดสินใจถึงแผนงานในอนาคต ได้ โดยจดั ทาจานวน 15 รายงานให้เป็นรายงานในลักษณะ Business Intelligent ผ่านระบบฐานข้อมูล แสดงผล ในรูปแบบ Dash board หรือการแสดงผลในรูปแบบต่าง ๆ ในหน้าจอเดียว สามารถวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะ Crosstab Report สามารถสรา้ งรายงานไดโ้ ดยลากและวาง (Drag and Drop) 3. Mobile Application สาหรับประชาชน เพื่อบริการข้อมูลเตือนภัย/ข่าวสาร/องค์ความรู้ การ คุ้มครองผู้บริโภค ข้อมูลใบอนุญาต และบริการรับเรื่องร้องทุกข์ พร้อมท้ังตรวจสอบข้อมูล ประกอบด้วยประเด็น ร้องทุกข์ รายละเอียดร้องทุกข์ สถานการณ์ดาเนินการของหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการได้ ซ่ึงเม่ือวันท่ี 15 กรกฎาคม 2563 สานกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผู้บริโภคได้ประกาศความสาเร็จ การเชื่อมโยงข้อมูล Big Data สู่การคุ้มครองผู้บริโภคอย่างยั่งยืน ภายใต้โครงการพัฒนาการให้บริการผู้บริโภค ด้วยการเชื่อมโยงและบริหาร จัดการข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภค (OCPB Connect) เชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในมิติต่าง ๆ ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจานวน 28 หน่วยงาน มีวัตถุประสงค์ให้เกิดเป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสารขนาดใหญ่ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (Big Data) ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลท่ีสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ขนึ้ ประกอบดว้ ย 6 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลบุคคล ข้อมูลการร้องทุกข์ ข้อมูลร้องเรียน ข้อมูลผู้ประกอบการ ที่ได้รับอนุญาต ข้อมูลองค์ความรู้ และเตือนภัย และข้อมูลการดาเนินคดี โดยรวมอยู่ในแอปพลิเคช่ัน OCPB Connect ทใี่ หบ้ รกิ ารประชาชนด้านการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคใน 4 ฟงั กช์ น่ั คอื 1) ให้บริการเรียกดู เข้าถึง และตรวจสอบ ข้อมูลนิติบุคคล ประเภทธุรกิจในไทย ข้อมูลผู้ประกอบ ธรุ กจิ ท่ไี ด้รับอนุญาต/จดทะเบยี น ขอ้ มูลสานวนคด/ี คาพิพากษา 2) สร้างการรับรู้ ใหเ้ ข้าถงึ และตรวจสอบการเตือนภยั องคค์ วามรู้ 3) เข้าถึงและตรวจสอบสถานการณ์บริการตา่ ง ๆ 4) เขา้ ถงึ ศกึ ษาข้อมลู ทีม่ ีการวเิ คราะหด์ ้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภค ทงั้ นี้ ยังมีการใหบ้ ริการ Chat Bot ภายใต้ชื่อ “พ่ีปกปูอง” ท่ีเปรียบเสมือนเพ่ือนออนไลน์ ในการตอบข้อ สงสัยหรือต้องการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ตลอด 24 ช่ัวโมง ซ่ึงแอปพลิเคชั่น OCPB Connect และ Chat Bot สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ี ocpbconnect.ocpb.go.th และสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคช่ันได้ทั้งใน รปู แบบ Android และ IOS

101 นอกจากนี้ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค สว่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดม้ กี ารพัฒนาและจัดทาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่ออานวยความสะดวกใน การให้บรกิ ารประชาชนตามบทบาทภารกจิ ทส่ี าคญั และสง่ เสรมิ พฒั นากระบวนการทางานสู่ Digital Transformation ประกอบดว้ ย 1. กระบวนการรับเร่ืองร้องทุกข์ผู้บริโภค สคบ. ได้มีการพัฒนานาระบบร้องทุกข์ผู้บริโภคออนไลน์ เข้ามาปรับใช้เพื่ออานวยความสะดวกในกระบวนการรับ เรื่องร้องทุกข์ให้กับประชาชน ในรูปแบบออนไลน์ โดยให้บริการผ่านเว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และ Mobile App ส่งผลให้ประชาชนผู้รับบริการ ไดร้ บั ความสะดวกในการใชบ้ ริการเข้าถึงง่าย ไมต่ ้องเสียเวลาในการเดนิ ทางมายังสานักงาน และเป็นการลดระยะเวลา ข้ันตอนกระบวนการทางานของเจา้ หน้าท่ี กระบวนการร้องทกุ ขผ์ บู้ รโิ ภค (ระบบเดิม) กระบวนการร้องทกุ ขผ์ ู้บรโิ ภค (ระบบใหม่) ข้อมูลจากสว่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ

102 การบรกิ าร ข้ันตอน ระยะเวลา จานวนให้บรกิ าร 1.การบริการ ณ ศูนยร์ ับเรื่องราวรอ้ งทุกข์ 2. สว่ นรบั เรื่องร้องทุกข์ ลดลงจากเดิม 4 ข้ันตอน เหลือ 1 ข้นั ตอน *ลดลงจากเดมิ 1 คน : 30 นาที เป็น 1 คน : 15 นาที 3. สว่ นระบบคัดกรอง 4.การสง่ ต่อเรือ่ งร้องทกุ ข์ ลดลงจากเดมิ 3 ขัน้ ตอน เป็น 1 ขัน้ ตอนบันทกึ เรอื่ ง อัตโนมตั ิ เฉลีย่ วันละ 14 เร่อื ง ลดลงจากเดิม 3 ขนั้ ตอน เปน็ 1 ขน้ั ตอนบนั ทึกเรอ่ื ง 5.การติดตามสถานะเร่ืองร้องทุกข์ ลดลงจาก 3 ขน้ั ตอน เป็น 1 ขนั้ ตอน สาหรับเลอื กสง่ ไม่เกนิ 1 วนั เฉลี่ยวนั ละ 40 เร่ือง หนว่ ยงาน กรอกรหสั รับเรือ่ งรอ้ งทกุ ข์ อตั โนมตั ิ เฉลย่ี วันละ 40 เร่ือง อตั โนมัติ เฉล่ยี วันละ 100 เรอื่ ง

103 2. กระบวนการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง สคบ. ได้พัฒนากระบวนการดังกล่าว โดยได้มีการพัฒนาระบบการจดทะเบียนธุรกิจ ขายตรงและตลาดแบบตรงในการดาเนนิ การร่วมกับ สานักงาน ก.พ.ร. ผ่านศูนย์รับคาขออนุญาต ตามแผนพัฒนาระบบ Biz Portal โดยมีกลุ่มเปูาหมายเป็นผู้ประกอบธุรกิจท่ีมี ความประสงค์จะย่ืนคาขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ ในการยื่นผ่านระบบออนไลน์โดยไม่ต้อง เสยี เวลาในการเดนิ ทาง และลดระยะเวลา ขั้นตอนกระบวนการทางานของหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงปัจจุบัน สคบ. ยังได้มีการพัฒนาระบบจดทะเบียนประกอบธุรกิจขายตรง และตลาดแบบตรงของหน่วยงานเพื่อเชอ่ื มโยงข้อมูลสนับสนุนให้สอดคล้องกับระบบ Biz Portal ของสานักงาน ก.พ.ร. เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานและตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ รอบด้าน และมจี านวนการออกใบอนุญาตและแก้ไขเปลยี่ นแปลงรายการเอกสารต่อปี (ขอ้ มูลปี 2563) ดังนี้ ใบอนุญาต จานวนการออกใบอนุญาตต่อปี 1. จดทะเบียนการประกอบธรุ กิจขายตรง (จดทะเบียนใหม่) 92 2. จดทะเบียนการประกอบธุรกจิ ตลาดแบบตรง (จดทะเบยี นใหม)่ 304 3. จดทะเบียนแก้ไขเปล่ยี นแปลงรายการเอกสารและหลักฐานท่ีได้รับจดทะเบียนประกอบธุรกิจขายตรง 235 4. จดทะเบียนแก้ไขเปลย่ี นแปลงรายการเอกสารและหลักฐานท่ีไดร้ ับจดทะเบียนประกอบธุรกจิ ตลาดแบบตรง 120

104

105 3. กระบวนการไกล่เกลี่ยออนไลน์ หน่วยงานได้เล็งเห็นปัญหา และอุปสรรคของกระบวนการไกล่เกลี่ยของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ในด้านของ ขั้นตอนท่ียุ่งยาก ซับซ้อน ระยะเวลา จึงทาให้หน่วยงานต้องมีการศึกษาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือมาช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย คอื ระบบไกล่เกลี่ยออนไลน์ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานได้มีการจัดทาและพัฒนาระบบไกล่เกลี่ยออนไลน์ เพ่ือให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ี ไม่สะดวกเดินทางหรืออยู่ในระยะทางไกลสามารถเข้าสู่กระบวนการไกลเกล่ียออนไลน์ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว ในทุกสถานที่ รวมทั้งมีกระบวนการในการยืนยันตัวตน และ รับทราบขอ้ มูลผา่ นระบบที่ครอบคลุม

106 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในการให้บริการท่ีตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง และมีการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยถึงปัญหาอุปสรรคที่อาจจะเกิดข้ึน เพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและมีความสมบูรณ์ มากขน้ึ โดยประโยชนท์ ่ีประชาชนจะไดร้ ับนนั้ มีในหลากหลายมิติ ดงั น้ี 1. มิตดิ ้านการเปลย่ี นระบบบริหารจดั การ - ประชาชนสามารถใช้บริการผ่านระบบร้องทุกข์ออนไลน์ ระบบการจดทะเบียนขายตรง และตลาดแบบตรง ระบบไกลเ่ กลี่ยออนไลน์ ทเ่ี กิดความสะดวกและรวดเรว็ - การนาระบบฯ มาใช้บริการประชาชนทาให้ลดขั้นตอน ลดการใช้ทรัพยากรในด้าน อตั รากาลัง ลดงบประมาณ และกระบวนการทางานท่ีซบั ซอ้ น - สามารถปรับกระบวนงานข้ันตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีให้มีความสะดวกรวดเร็ว ย่ิงข้นึ 2. มิตดิ ้านทางานร่วมกนั ของระบบข้อมลู ระหว่างหนว่ ยงาน - เพ่ือให้การบริการมีความสะดวก รวดเร็ว และใช้งานง่าย (User Friendly) รวมท้ังลด เอกสารในการขอรบั บริการในกระบวนการดงั กล่าว - มขี ้อมูลการเช่ือมโยงระหวา่ งหน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งที่เข้าถึงขอ้ มลู ได้อยา่ งรวดเร็ว และง่าย ตอ่ การใชง้ านในกระบวนการทางานด้านต่าง ๆ 3. มติ ดิ ้านคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการ - การเช่ือมโยงข้อมูลท่ีทาให้การบริการมีความสะดวกและรวดเร็ว เช่น ขั้นตอนและ ระยะเวลาการใหบ้ รกิ ารท่ลี ดลง ความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย เป็นตน้ 4. มติ ดิ ้านความค้มุ ค่า - สง่ ผลใหเ้ กิดการใชร้ ะบบเทคโนโลยที ที่ นั สมัย เกิดผลลพั ธ์ที่เป็นรปู ธรรม - เปน็ การลดค่าใช้จา่ ยในการเขา้ ถึงการบรกิ ารของประชาชน - การลดต้นทนุ การบรกิ าร ความคุ้มคา่ ทางเศรษฐกิจ สงั คม และชุมชน โดยรวม 5. มิติด้านความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงบริการและความย่ังยืนของโครงการ - ประชาชนสามารถใช้บริการด้านการร้องทุกข์ ด้านการจดทะเบียนฯ ด้านการเจรจาไกล่ เกลยี่ ฯ ไดด้ ว้ ยตนเองผ่านช่องทางออนไลนข์ องสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค - เปน็ การอานวยความสะดวกใหป้ ระชาชนสามารถใช้บริการร้องทุกข์ การจดทะเบียนและการ เจรจาผ่านช่องทางต่าง ๆ จากหนว่ ยงานท่ีเชื่อมโยงระบบการทางานร่วมกันกับ สคบ. - ลดขนั้ ตอน ลดการใช้ทรัพยากร และอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนผู้มาติดต่อ ณ ศูนย์ รับเร่อื งราวรอ้ งทุกข์

107 โดยภาพรวมของสานกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผู้บริโภคด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีผลลัพธ์ ความสาเร็จท่ีเกิดข้ึนตามมติ ิตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. สามารถนาไปวางแผนการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงข้อมูลในการวิเคราะห์ สภาพ ปัญหา การแก้ไขปัญหา กับกลุ่มเปูาหมายท้ังภาคประชาชน และภาคธุรกิจ ให้ตระหนักรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของ ตนเอง และสร้างมาตรฐานการควบคุมอย่างเป็นธรรม เพ่ือเป็นการปูองกันและแก้ไขปัญหาการคุ้มครอง ผบู้ ริโภคในเชิงรุกซง่ึ เปน็ องคป์ ระกอบสาหรบั การพฒั นาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 2. สามารถนาบริการดังกล่าวไปต่อยอดในการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ในมิติต่าง ๆ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างรอบด้าน พร้อมท้ังตั้งเปูาหมายให้ สคบ. เป็น Linkage ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเชือ่ มโยงกับ Linkage อืน่ ๆ ในภาพรวมของประเทศ 3. สามารถสร้างการบริการในรูปแบบใหม่ท่ีทันสมัย เพื่อสนองต่อความต้องการและ รูปแบบการใช้ชีวิตของประชาชนที่หลากหลายที่เกิดข้ึนในยุคปัจจุบันและอนาคต เช่น การใช้ประโยชน์จาก ปญั ญาประดิษฐ์ 4. สามารถนามาจัดทาแผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลของ สคบ. ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาตริ ะยะ 20 ปี และภารกจิ ในการขบั เคลอ่ื นแผนยทุ ธศาสตร์การคมุ้ ครองผู้บริโภค ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ตอ่ ไป -------------------------------------------

108 3. ภารกิจของสว่ นราชการทีจ่ ะมีการแบ่งสว่ นราชการใหม่ 3.1 ขอบเขตหนา้ ท่ีและอานาจของส่วนราชการระดับกรม สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีภารกิจหลักโดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความเข้าใจใน สิทธิผู้บริโภค ได้รับความปลอดภัย ความเป็นธรรมจากการซื้อขายและการทาสัญญา รวมถึงการแก้ไขปัญหา ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค การรับเร่ืองราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคท่ีได้รับความเดือดร้อนหรือความเสียหาย อันเนื่องมาจากการกระทาของผู้ประกอบธุรกิจเพื่อเสนอคณะกรรมการพิจารณาดาเนินงานตามกระบวนการ อย่างโปร่งใสเพ่ือให้ผู้เสียหายได้รับการชดเชยเยียวยาอย่างเป็นธรรม และการติดตาม สอดส่อง เฝ้าระวัง พฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจให้มีแนวทางปฏิบัติท่ีถูกต้องตามกฎหมาย มีการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้าและ บริการ พร้อมทั้งสนับสนุนทาการศึกษาและวิจัยปัญหาเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค พร้อมดาเนินการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคผ่านช่องทางส่ือต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายและการบูรณาการกับ ส่วนราชการของรัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการคุ้มครองผู้บริโภคท้ังในประเทศและต่างประเทศ รวมท้ัง การประสานงานเกี่ยวกับการควบคุม ส่งเสริม หรือกาหนดมาตรฐานของสินค้าและบริการ เพ่ือให้ผู้บริโภคได้รับ ความปลอดภยั และเปน็ ธรรมจากการซ้ือสนิ ค้าและบริการ โดยมีอานาจหนา้ ที่ ดงั ต่อไปนี้ 1. รับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมาจาก การกระทาของผปู้ ระกอบธรุ กิจ 2. ติดตามสอดสอ่ งพฤตกิ ารณ์ของผปู้ ระกอบธุรกิจ ซีง่ กระทาการใด ๆ อันมีลักษณะเป็น การละเมิดสิทธิของผู้บริโภค และจัดให้มีการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้า หรือบริการใด ๆ ตามท่ีเห็นสมควร และ จาเปน็ เพือ่ คมุ้ ครองสิทธิของผบู้ ริโภค 3. สนับสนุนหรือทาการศึกษาและวิจัยปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับ สถาบนั การศึกษาและหนว่ ยงานอ่ืน 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับการศึกษาเก่ียวกับ ความปลอดภัยและอันตรายทอี่ าจไดร้ ับอนั ตรายจากสนิ ค้าหรือบริการ 5. ดาเนินการเผยแพร่วิชาการ และให้ความรู้และการศึกษาแก่ผู้บริโภค เพื่อสร้างนิสัย ในการบรโิ ภค เพื่อสร้างนิสัยในการบริโภคท่ีเป็นการส่งเสริมพลานามัย ประหยัด และใช้ทรัพยากรของชาติให้ เป็นประโยชนม์ ากทส่ี ดุ 6. ประสานงานกบั สว่ นราชการหรือหน่วยงานของรัฐท่ีมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับการควบคุม สง่ เสริม หรือกาหนดมาตรฐานของสนิ คา้ หรือบรกิ าร 7. ปฏิบัติการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองมอบหมาย และ ประสานงานกับพนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐให้ปฏิบัติการตามหน้าท่ีที่กฎหมาย กาหนด และการดาเนินงานตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2560 โดยอยใู่ นอานาจหนา้ ที่ของกองคุ้มครองผู้บริโภคด้านธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง เพ่ือคุ้มครองผู้บริโภคจากผู้ประกอบธุรกิจท่ีเสนอขายสินค้าหรือบริการแก่ผู้บริโภคโดยตรงในการกาหนด หลักเกณฑ์ในการประกอบธรุ กจิ ขายตรงหรอื ตลาดแบบตรงให้มีความชัดเจนและเหมาะสม อันจะเป็นการคุ้มครอง ผูบ้ รโิ ภคมใิ หต้ อ้ งตกเป็นฝุายเสียเปรียบในการซ้ือขายสินค้าหรือบริการ และเพ่ือให้มีหลักประกันว่าผู้บริโภคจะ ไดร้ ับความค้มุ ครอง หากผ้บู ริโภคไดร้ ับความเสียหายอนั เกิดจากการทีผ่ ปู้ ระกอบธรุ กิจไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย

109 ซึ่งในปัจจุบันสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ยังมีภารกิจท่ีรับผิดชอบเพิ่มเติมตาม พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2562 ท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม ดงั นี้ 1. มาตรา 8 กาหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถมอบหมายเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อแก้ไขข้อจากัดด้านบุคลากรในส่วนภูมิภาค และเพื่อให้มีเจ้าหน้าที่ ทป่ี ฏิบตั งิ านเพียงพออันจะทาให้การตรวจสอบ ตดิ ตาม กากบั ดแู ลเปน็ ไปอย่างทว่ั ถึงและมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น 2. มาตรา 9 การปรับองค์ประกอบคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กาหนดให้มีคณะกรรมการ คมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค ประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ ปลดั สานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน แปดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตามหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีกาหนด โดยต้องมีผู้แทนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคจากภาควิชาการ ภาคประชาชน และภาคผู้ประกอบธุรกิจอย่างน้อยภาคละสองคน เป็นกรรมการ เพ่ือรับฟังความเห็นจากหน่วยงานของรัฐหรือผู้ทรงคุณวุฒิเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีรอบ ด้านและครอบคลมุ ย่ิงข้นึ อนั จะชว่ ยใหก้ ารคมุ้ ครองผ้บู ริโภคมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ 3. มาตรา 10 (3) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าท่ีเพ่ิมข้ึนในการกาหนดแนวทางการ แจง้ หรือโฆษณาขา่ วสารเก่ยี วกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ ารท่อี าจกระทบต่อสทิ ธขิ องผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเสื่อมเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค ตามมาตรา 20 (2/2) เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินการแจ้งหรือโฆษณา ท่ีเหมาะสมและไม่สรา้ งความเสยี หายใหผ้ ู้ประกอบธุรกจิ เกดิ สมควร 4. มาตรา 10 วรรคหน่ึง (8/1) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพิ่มขึ้นในการจัดทา แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี ที่ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค หรือมาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภคสากล เพื่อให้มีแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ผ้บู ริโภคทีเ่ กดิ จากการบรู ณาการการทางานของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องแบบองค์รวม อันจะทาให้การคุ้มครองผู้บริโภค มีประสิทธภิ าพ 5. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (9/1) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าท่ีเพ่ิมขึ้นในการเสนอ ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการตรากฎหมาย แก้ไขหรือปรับปรุงกฎหมายหรือกฎเก่ียวกับการคุ้มครอง ผ้บู ริโภคให้สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตรด์ ้านการคมุ้ ครองผู้บริโภค 6. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (9/2) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพิ่มขึ้นในการเสนอ ความเห็นต่อส่วนราชการ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ หรือองค์กรอื่น เพ่ือจัดทา ทบทวน ประเมินหรือปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติราชการหรือการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งในการออก กฎหมายและการบังคบั ใช้กฎหมายและกฎเกยี่ วกบั การคุ้มครองผบู้ ริโภค 7. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (9/3) คณะกรรมการค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภคมอี านาจหนา้ ทีเ่ พมิ่ ขึ้นในการพิจารณา วนิ จิ ฉยั ช้ีขาดการใช้บังคบั กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ตามมาตรา 21 วรรคสอง เพ่ือให้มีองค์กรกลางใน การวินจิ ฉัยชี้ขาดในกรณีทีห่ นว่ ยงานของรฐั มคี วามเหน็ แตกตา่ งกนั 8. มาตรา 11 วรรคสาม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีพ้นจากตาแหน่งตามวาระยังคงอยู่ในตาแหน่งตาม วาระยงั คงอยู่ในตาแหน่งเพ่ือดาเนินงานตอ่ จนกวา่ กรรมการซงึ่ ได้รบั แต่งต้งั ใหมจ่ ะเข้ารับหน้าท่ี เพ่ือทาให้การปฏิบัติ หน้าท่ีของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นไปด้วยความต่อเน่ืองแม้กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจาก ตาแหน่ง และยงั ไม่มกี ารแต่งตั้งกรรมการชุดใหมข่ ้ึน

110 9. มาตรา 12 วรรคส่ี เมือ่ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ พิ น้ จากตาแหน่งกอ่ นวาระ ใหค้ ณะกรรมการคุ้มครอง ผ้บู รโิ ภคประกอบด้วยกรรมการทงั้ หมดเทา่ ที่มีอย่จู นกวา่ จะมีการแต่งต้งั กรรมการขน้ึ ใหม่ เพ่อื ทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นไปโดยไม่หยุดชะงักแม้กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจากตาแหน่ง กอ่ นวาระ และยงั ไมม่ กี ารแต่งตง้ั กรรมการคนใหม่ขึ้น 10. มาตรา 14 (1/1) กาหนดให้มีคณะกรรมการเฉพาะเร่ือง เพิ่มขึ้นคือคณะกรรมการว่าด้วยความ ปลอดภัยของสนิ คา้ และบรกิ าร เพอ่ื คุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการเป็นการเฉพาะ ) และ มาตรา 14 วรรคสาม กาหนดวาระการดารงตาแหนง่ ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องคราวละ 3 ปี หรือนามาตรา 11 วรรคสอง และวรรคสาม และมาตรา 12 มาใช้ประกอบโดยอนโุ ลม 11. มาตรา 17/1 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการเฉพาะเรื่อง กรรมการเฉพาะเร่ือง และประธานอนุกรรมการและอนุกรรมการตามมาตรา 15 ได้รับเบ้ียประชุมและประโยชน์ตอบแทนอ่ืนตามที่ รัฐมนตรีกาหนด เพ่ือให้ครม. กาหนดกรอบเบี้ยประชุมที่เหมาะสมสาหรับคณะกรรมการแต่ละคณะ และเพื่อเป็น แรงจงู ใจใหบ้ ุคคลทีม่ คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นเขา้ มารว่ มทางานในด้านการใหค้ วามคุ้มครองผ้บู ริโภคมากยิง่ ข้ึน 12. มาตรา 20 (2/1) กาหนดให้สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค ส่งเสริมและสนบั สนุนการ มีส่วนร่วมและการรวมตัวกันของผู้บริโภคในการจัดต้ังองค์กรของผู้บริโภค และส่งเสริมองค์กรของผู้บริโภคในการ รักษาสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคตามแผนยทุ ธศาสตร์การคมุ้ ครองผ้บู ริโภค 13 มาตรา 20 (2/2) แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการท่ีอาจกระทบต่อสิทธิของ ผบู้ รโิ ภคหรอื อาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายหรือเสื่อมเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค โดยจะระบุช่ือสินค้าหรือบริการหรือช่ือ ของผปู้ ระกอบธุรกิจดว้ ยกไ็ ด้ 14. มาตรา 20/1 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจโฆษณาคาพิพากษาถึงที่สุด กรณผี ู้ประกอบธรุ กจิ ฝุาฝนื หรอื ไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคาสั่ง และการเข้าดาเนินการ แทน 15. มาตรา 28 กรณีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่าข้อความใดท่ีใช้ใน การโฆษณาเป็นเท็จหรอื เกนิ จริง คณะกรรมการสามารถออกคาส่ังให้ผู้กระทาการโฆษณาพิสูจน์เพอื่ แสดงความจริงได้ หรือกรณีเร่งดว่ น อาจออกคาส่ังระงับการโฆษณาดังกลา่ วเป็นการชวั่ คราวหรอื จะทราบผลการพิสจู น์ก็ได้ 16. มาตรา 29/1 – 29/17 การดาเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของ สินค้าและบรกิ าร 17. มาตรา 39/1 กาหนดให้เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอานาจดาเนินคดีเก่ียวกับ การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคแทนผู้บริโภคได้ และมีอานาจแต่งตั้งข้าราชการใน สคบ. ท่ีไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทาง นติ ศิ าสตร์ เปน็ เจา้ หนา้ ทคี่ มุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคเพื่อดาเนนิ คดแี พงและคดอี าญาแก่ผ้กู ระทาการละเมิดสิทธิของผบู้ รโิ ภคใน ศาลได้ 18. มาตรา 62 ความผิดตามกฎหมายที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือเป็นความผิดท่ีมีโทษปรับหรือมี โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้คณะกรรมการมีอานาจเปรียบเทียบได้ และให้คณะกรรมการมีอานาจมอบหมายให้ คณะกรรมการเฉพาะเร่ืองหรือคณะอนุกรรมการ พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเจ้าพนักงานท้องถ่ิน ดาเนินการเปรียบเทียบได้ รวมทั้งค่าปรับจากการเปรียบเทียบที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ปฏิบัติการและ ดาเนินการเปรียบเทียบความผิดที่ได้รับมอบหมายตามมาตรา 62 น้ี ให้ตกลงเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ ตามมาตรา 63

111 3.2 แผนภูมกิ ารแบง่ ส่วนราชการในปจั จบุ นั โครงสรา้ งตามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการของ สคบ. สานักนายกรฐั มนตรี พ.ศ. 2558 สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค เลขาธิการคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 1 และ 2 กลมุ่ ตรวจสอบภายใน กองกฎหมายและคดี สานกั งานเลขานุการกรม สานักแผนและการ พัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค กองค้มุ ครองผู้บรโิ ภค กองคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค กองเผยแพร่ ดา้ นฉลาก ดา้ นสญั ญา และประชาสมั พันธ์ กองค้มุ ครองผู้บรโิ ภค กองคุ้มครองผู้บรโิ ภคดา้ นธรุ กจิ ดา้ นโฆษณา ขายตรงและตลาดแบบตรง โครงสร้างองค์กรสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบด้วย เลขาธิการคณะกรรมการ คุม้ ครองผู้บรโิ ภค รองเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และหน่วยงานระดับสานัก ระดับกอง และระดับ กลุ่ม ภายใต้กรอบอัตรากาลัง แบ่งเป็นข้าราชการ จานวน 153 คน พนักงานราชการ จานวน 156 คน ลกู จา้ งประจา 2 คน และลูกจา้ งเหมา 291 คน หนว่ ยงานระดับสานกั 1. สานกั แผนและการพัฒนาการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 2. สานักงานเลขานุการกรม 3. กองกฎหมายและคดี หน่วยงานระดับกอง 1. กองคมุ้ ครองผ้บู ริโภคด้านสัญญา 2. กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก 3. กองค้มุ ครองผู้บริโภคด้านโฆษณา 4. กองคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง 5. กองเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ หนว่ ยงานระดับกลมุ่ 1. กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร 2. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน

112 3.3 การเปรยี บเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มอี ยู่ในปจั จุบันและที่ขอปรบั ปรุงใหม่ การแบ่งส่วนราชการในปจั จบุ ัน การแบง่ ส่วนราชการทขี่ อปรับปรุงใหม่ หมายเหตุ สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค คงเดมิ ก. ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง ก. ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง คงเดิม  เพ่ิมบทบาทอานาจหน้าท่ีตามมาตรา 39/1 การ 1. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 1. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ดาเนินคดีแทนผู้บริโภคโดยเลขาธิการคณะกรรมการ 2. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 2. กลุม่ ตรวจสอบภายใน คุ้มครองผู้บริโภค อาจมอบหมายเจ้าหน้าท่ี ดาเนินคดี ในศาลได้ 3. กองกฎหมายและคดี 3. กองกฎหมายและคดี 3.1 ฝุายบริหารทัว่ ไป 3.1 ฝุายบรหิ ารทัว่ ไป  เพ่ิมบทบาทอานาจหน้าทด่ี าเนนิ การเก่ียวกับการ 3.2 ส่วนกฎหมาย 3.2 ส่วนกฎหมาย บริหารงานศูนยร์ ับเรื่องรอ้ งทุกข์ผบู้ รโิ ภค 3.3 ส่วนคดี 3.3 สว่ นคดี 3.4 ส่วนบงั คับคดี 3.4 ส่วนบังคับคดี  ขอปรับปรงุ หน้าที่และอานาจและเปลย่ี นช่ือ ช่ือ “สานกั แผนและการพัฒนาการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค” 4. สานกั งานเลขานุการกรม 4. สานกั งานเลขานุการกรม เปลยี่ นเป็นชอ่ื “กองยุทธศาสตร์และแผนงาน” เปน็ การ 4.1 ฝาุ ยบรหิ ารท่วั ไป 4.1 ฝาุ ยบรหิ ารทวั่ ไป แยกงาน 4.2 ส่วนบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 4.2 ส่วนบรหิ ารทรัพยากรบุคคล 1. ส่วนความร่วมมือกับตา่ งประเทศ 4.3 สว่ นพฒั นาทรัพยากรบุคคล 4.3 สว่ นพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล 2. สว่ นประสานและสง่ เสรมิ การคมุ้ ครองผู้บริโภคจงั หวดั 4.4 สว่ นการเงนิ และบัญชี 4.4 สว่ นการเงนิ และบญั ชี 4.5 ส่วนพสั ดุ 4.5 ส่วนพสั ดุ 4.6 สว่ นบรหิ ารงานเรื่องราวรอ้ งทกุ ข์ 4.6 ศูนยร์ ับเร่ืองรอ้ งทกุ ข์ผู้บรโิ ภค 5. สานักแผนและการพฒั นาการคุม้ ครองผบู้ ริโภค 5. กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน 5.1 ฝุายบรหิ ารท่ัวไป 5.1 ฝาุ ยบริหารท่ัวไป 5.2 ส่วนวชิ าการ วางแผนและติดตามประเมนิ ผล 5.2 ฝาุ ยขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ 5.3 ส่วนประสานงานภาครฐั และเอกชน 5.3 ฝาุ ยขบั เคล่อื นแผนงานการปฏิรปู ประเทศ 5.4 สว่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.4 ฝาุ ยบรหิ ารงานงบประมาณ 5.5 ฝาุ ยติดตามและประเมนิ ผล

113 การแบง่ ส่วนราชการในปัจจบุ นั การแบง่ ส่วนราชการท่ขี อปรับปรงุ ใหม่ หมายเหตุ 5.6 ฝุายเทคโนโลยีสารสนเทศ มาจัดตงั้ เป็นส่วนราชการใหม่ 5.5 ส่วนประสานและสง่ เสรมิ การคุ้มครอง 3. ส่วนประสานงานภาครัฐและเอกชน (งานเครือข่าย) ผ้บู ริโภคจังหวัด 1 และ 2 6. กองคุ้มครองผ้บู ริโภคในส่วนภูมิภาค แยกงานออกไปที่กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 6.1 ฝาุ ยบรหิ ารทวั่ ไป  เป็นการแยกงานของสานักแผนและการพัฒนาการ 5.6 ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ 6.2 สว่ นรบั เรื่องรอ้ งทกุ ขใ์ นส่วนภูมภิ าค คุ้มครองผู้บริโภค ส่วนประสานและส่งเสริมการ 6.3 สว่ นควบคุม กากับ ติดตามประเมินผลและ คุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด 1 และ 2 มาจัดตั้งเป็นส่วน 6. กองคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคด้านโฆษณา ราชการใหม่ 6.1 ฝาุ ยบริหารทวั่ ไป พฒั นาเครือข่ายการคุ้มครองผู้บรโิ ภคในส่วนภมู ภิ าค 6.2 ฝุายควบคมุ 7. กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภคดา้ นต่างประเทศ  เป็นการแยกงานของสานักแผนและการพัฒนาการ 6.3 ฝาุ ยรบั เรอ่ื งราวร้องทุกข์ คุ้มครองผู้บริโภค ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ 6.4 ฝุายเฝาู ระวงั ตรวจสอบโฆษณา 7.1 ฝุายบรหิ ารทัว่ ไป มาจัดต้งั เป็นส่วนราชการใหม่ 7.2 สว่ นนโยบายและยทุ ธศาสตรร์ ะหว่างประเทศ 7.3 สว่ นวิเทศสัมพนั ธ์  เพ่ิมบทบาทอานาจหนา้ ที่ตามมาตรา 28 เกี่ยวกับ 7.4 สว่ นเยียวยาผู้บรโิ ภคขา้ มแดน การออกคาสั่งระงับการโฆษณาเปน็ การช่วั คราว 8. กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภคด้านโฆษณา  เพม่ิ บทบาทอานาจหน้าที่การรับเร่อื งและแก้ไข 8.1 ฝุายบรหิ ารท่ัวไป ปัญหาเร่อื งร้องทุกข์ดา้ นพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ 8.2 ฝุายควบคมุ (สนิ คา้ และบริการท่ีไม่ได้จดทะเบยี น) 8.3 ฝาุ ยรับเร่ืองราวร้องทุกข์ 8.4 ฝุายเฝูาระวงั ตรวจสอบโฆษณา 8.5 ศนู ยค์ มุ้ ครองผูบ้ ริโภคด้านพาณชิ ย์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์

114 การแบง่ ส่วนราชการในปจั จบุ นั การแบง่ ส่วนราชการท่ีขอปรับปรงุ ใหม่ หมายเหตุ  แยกฝาุ ยเฝูาระวังและพสิ ูจน์สินคา้ และบริการออก 7. กองคุ้มครองผ้บู ริโภคดา้ นฉลาก 9. กองคมุ้ ครองผบู้ ริโภคดา้ นฉลาก 7.1 ฝุายบริหารทว่ั ไป 9.1 ฝุายบรหิ ารทั่วไป 7.2 ฝาุ ยควบคมุ 9.2 ฝาุ ยควบคมุ 7.3 ฝุายรบั เรื่องราวรอ้ งทุกข์ 9.3 ฝุายรบั เรื่องราวร้องทุกข์ 7.4 ฝาุ ยเฝูาระวงั และพสิ ูจนส์ ินค้าและบริการ 10. กองคุ้มครองผบู้ ริโภคด้านความปลอดภัยของ  เปน็ การแยกงานฝุายเฝาู ระวังและพสิ ูจน์สนิ ค้าและ สินค้าและบรกิ าร บรกิ าร มาจัดต้ังเป็นส่วนราชการใหม่ โดยมบี ทบาท 8. กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ อานาจหน้าที่ด้านการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคดา้ นความ - ฝาุ ยบริหารทัว่ ไป 11. กองเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ ปลอดภยั ตามพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค - ฝุายประชาสัมพันธ์ - ฝาุ ยบริหารทวั่ ไป (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562 มาตรา 29/1 ถงึ 29/17 - ฝาุ ยเผยแพรว่ ิชาการและพัฒนาเครอื ข่ายค้มุ ครอง - ฝาุ ยประชาสัมพันธ์ ผ้บู ริโภค - ฝาุ ยเผยแพร่วชิ าการและพัฒนาเครอื ข่ายคุ้มครอง  เพิม่ บทบาทอานาจหน้าท่ีของสานักแผนและการ ผบู้ รโิ ภค พัฒนาการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค สว่ นประสานงานภาครฐั 9. กองคุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านธุรกจิ ขายตรงและ - ศนู ยข์ อ้ มูลขา่ วสารด้านการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคและ และเอกชน (งานเครือข่าย) ตลาดแบบตรง ข้อมูลขา่ วสารของราชการ  เพ่ิมบทบาทอานาจหนา้ ทต่ี ามมาตรา 20 (2/1) ส่งเสรมิ และสนับสนุนการมสี ่วนรว่ มและการรวมตวั 9.1 ฝุายบรหิ ารทว่ั ไป 12. กองคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นธุรกจิ ขายตรงและ กนั ของผู้บรโิ ภคในการจัดตง้ั องค์กรของผู้บริโภคและ 9.2 ฝาุ ยรับจดทะเบียนและสง่ เสรมิ การประกอบ ตลาดแบบตรง สง่ เสริมองค์กรของผู้บริโภคในการรกั ษาสิทธผิ บู้ ริโภค ธรุ กจิ ตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผูบ้ ริโภค 12.1 ฝุายบริหารทวั่ ไป 12.2 ฝาุ ยรบั จดทะเบยี นและสง่ เสริมการ คงเดิม ประกอบธุรกิจ

115 การแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน การแบ่งส่วนราชการท่ขี อปรับปรุงใหม่ หมายเหตุ 12.3 ฝาุ ยรบั เรื่องราวรอ้ งทกุ ข์และตดิ ตาม คงเดมิ 9.3 ฝุายรบั เรอื่ งราวรอ้ งทุกขแ์ ละติดตามสอดส่อง สอดสอ่ งการประกอบธรุ กิจ การประกอบธุรกิจ 13. กองคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นสัญญา คงเดิม 13.1 ฝาุ ยบรหิ ารทวั่ ไป 10. กองคมุ้ ครองผบู้ ริโภคดา้ นสัญญา 13.2 ฝาุ ยควบคมุ 10.1 ฝาุ ยบริหารท่ัวไป 13.3 ฝาุ ยรบั เรื่องราวรอ้ งทกุ ข์ 10.2 ฝุายควบคุม ข. ราชการบริหารสว่ นภูมภิ าค 10.3 ฝาุ ยรบั เรือ่ งราวรอ้ งทุกข์ การบรหิ ารงานในส่วนภมู ิภาค มกี ารกาหนด ข. ราชการบริหารสว่ นภมู ิภาค เขตพืน้ ท่ี ทที่ าการอยู่ในศนู ย์ดารงธรรมจงั หวัด ไดแ้ ก่ กลมุ่ เขต 1 จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา จงั หวดั สิงห์บุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระบุรี จงั หวดั ชัยนาท จังหวัดลพบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี จังหวดั อ่างทอง กลมุ่ เขต 2 จังหวัดชลบรุ ี จงั หวดั ตราด จงั หวดั สมทุ รปราการ จังหวัดปราจนี บรุ ี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จังหวัดสระแกว้ จงั หวดั จนั ทบรุ ี จงั หวดั นครนายก จงั หวัดระยอง กล่มุ เขต 3 จงั หวดั นครปฐม จงั หวัดสมทุ รสาคร จังหวัดราชบุรี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จงั หวัด ประจวบคีรขี นั ธ์ จงั หวัดเพชรบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสมทุ รสงคราม กล่มุ เขต 4 จังหวดั สุราษฎร์ธานี จงั หวัดระนอง จงั หวัดพังงา จงั หวัดพัทลุง จงั หวัดชมุ พร จงั หวัดภเู กต็ จงั หวดั กระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

การแบง่ ส่วนราชการในปัจจบุ ัน 116 หมายเหตุ การแบง่ ส่วนราชการท่ีขอปรับปรงุ ใหม่ กลมุ่ เขต 5 จังหวดั สงขลา จังหวดั ยะลา จังหวัดนราธวิ าส จังหวดั ปตั ตานี จงั หวัดสตลู กลุ่มเขต 6 จงั หวดั อุดรธานี จังหวดั เลย จงั หวัดหนองบวั ลาภู จงั หวดั บงึ กาฬ จงั หวดั หนองคาย จงั หวดั มุกดาหาร จงั หวดั สกลนคร จังหวดั นครพนม กลมุ่ เขต 7 จังหวัดเชียงใหม่ จังหวดั เชียงราย จงั หวัด พะเยา จังหวดั ลาพนู จงั หวัดลาปาง จังหวดั นา่ น จงั หวดั แม่ฮ่องสอน จังหวัดแพร่ กลุ่มเขต 8 จงั หวดั พิษณโุ ลก จังหวดั นครสวรรค์ จังหวัดอุทยั ธานี จังหวดั สุโขทัย จังหวดั อตุ รดติ ถ์ จงั หวดั กาแพงเพชร จังหวดั พิจิตร จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวดั ตาก กลุ่มเขต 9 จงั หวัดนครราชสีมา จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดชยั ภูมิ จงั หวดั มหาสารคาม จงั หวัดร้อยเอ็ด จงั หวัดยโสธร จังหวัดศรสี ะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จงั หวัดขอนแกน่ จงั หวัดบุรีรัมย์ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ จงั หวัดอานาจเจริญ

117 3.4 หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบของแต่ละสว่ นราชการ 3.4.1 ใหช้ ้แี จงหน้าที่ความรบั ผิดชอบของแต่ละส่วนราชการในปัจจบุ ัน ส่วนราชการในปจั จุบัน หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ 1. กลุ่มตรวจสอบภายใน 2. กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร 1. ดาเนินการเกย่ี วกบั การตรวจสอบดา้ นการบรหิ าร การเงิน และการบญั ชขี องสานักงาน 3. กองกฎหมายและคดี 2. ปฏิบตั ิงานร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนท่เี ก่ยี วข้องหรอื ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 4. สานกั งานเลขานุการกรม 1. เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่เลขาธิการเกยี่ วกับยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบราชการ ภายในสานักงาน 2. ติดตาม ประเมนิ ผล และจัดทารายงานเกีย่ วกบั การพฒั นาระบบราชการภายในสานกั งาน 3. ประสานและดาเนนิ การเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกบั หน่วยงานกลางตา่ งๆ และส่วนราชการในสานักงาน 4. ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอื่นทเ่ี กีย่ วข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 1. ดาเนินการด้านกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง และกฎหมายอ่ืนที่ เกี่ยวขอ้ ง 2. ดาเนินการเก่ียวกับงานนิติกรรมและสัญญางานเก่ียวกับความรับผิดทางแพ่งและอาญางานคดีปกครอง และงานคดีอื่นที่อยู่ในอานาจ หนา้ ทขี่ องสานักงาน 3. ดาเนนิ การเกย่ี วกับงานคดีตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคและกฎหมายวา่ ด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง 4. ดาเนนิ การเกย่ี วกบั งานเลขานุการของคณะอนุกรรมการฝุายกฎหมาย 5. ดาเนินการเกี่ยวกับการรับรองสมาคมและมูลนธิ ติ ามกฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 6. ปฏิบัติงานร่วมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกยี่ วข้องหรือที่ได้รบั มอบหมาย 1. ปฏิบตั งิ านสารบรรณของสานักงาน 2. ดาเนนิ การเกยี่ วกับงานชว่ ยอานวยการและงานแผนงานของสานกั งาน 3. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั การเงนิ การบญั ชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคาร สถานท่ี และยานพาหนะของสานักงาน 4. จดั ระบบงานและบริหารงานบุคคลของสานักงาน 5. ดาเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และคณะอนุกรรมการท่ีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคแต่งต้ัง เวน้ แต่คณะอนกุ รรมการฝุายกฎหมายและคณะอนุกรรมการ เผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์

118 สว่ นราชการในปจั จุบนั หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ 5. สานักแผนและการพัฒนาการ ค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค 6. ปฏิบตั งิ านร่วมกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนท่เี กีย่ วขอ้ งหรือท่ีได้รับมอบหมาย 6. กองคุม้ ครองผบู้ ริโภคดา้ นโฆษณา 1. รับผิดชอบงานด้านนโยบายและการประสานงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการ 7. กองคุ้มครองผบู้ ริโภคด้านฉลาก บรหิ ารราชการแผ่นดิน และแผนยทุ ธศาสตร์ ตลอดจน ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้บริโภค องค์กรเอกชน และผู้ประกอบธุรกิจได้เข้ามามีส่วนร่วมหรือมีบทบาทใน 8. กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การพฒั นางาน คุ้มครองผู้บริโภค 2. จัดทาและประสานแผนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคของรัฐบาล รวมทั้งเร่งรัด ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านท้ังในสว่ นกลาง และสว่ นภูมิภาค 3. ศกึ ษาวิจัยปญั หาดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภค จดั ระบบในการสารวจ เก็บรกั ษาและใชป้ ระโยชน์ ข้อมลู ดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภค และเปน็ ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารดา้ นการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค 4. ปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรือสนบั สนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทเี่ กย่ี วข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย 1. ดาเนนิ การเก่ียวกบั การคุ้มครองผบู้ ริโภคในดา้ นการโฆษณาสินคา้ และบริการตามกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 2. ดาเนินการเก่ียวกับงานเลขานกุ ารของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา และคณะอนกุ รรมการทีค่ ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณาแต่งต้ัง 3. ดาเนนิ การเกย่ี วกับเร่ืองรอ้ งทุกขข์ องผู้บรโิ ภคในส่วนท่เี กยี่ วกบการโฆษณาสนิ ค้าและบรกิ าร 4. ดาเนนิ การตรวจสอบข้อความโฆษณาสินคา้ และบริการในส่ือโฆษณาตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 5. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอ่นื ท่ีเกย่ี วข้องหรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 1. ดาเนินการเก่ียวกบั การคุ้มครองผ้บู รโิ ภคในด้านฉลากตามกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 2. ดาเนินการเก่ียวกบั งานเลขานุการของคณะกรรมการว่าดว้ ยฉลาก และคณะอนกุ รรมการทค่ี ณะกรรมการว่าด้วยฉลากแต่งตงั้ 3. ดาเนินการเกีย่ วกับเร่ืองรอ้ งทุกข์ของผ้บู รโิ ภคในสว่ นท่เี กี่ยวกับฉลากสินคา้ 4. ดาเนินการตรวจสอบข้อความของฉลากสนิ คา้ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค 5. ปฏิบตั ิงานร่วมกับหรือสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหนว่ ยงานอื่นท่ีเกี่ยวขอ้ งหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย 1. ดาเนินการเกยี่ วกับการเผยแพรว่ ิชาการและการประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค และเข้ามา มสี ่วนรว่ มในการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคอยา่ งทัว่ ถงึ 2. ประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพรก่ ิจกรรม ความกา้ วหนา้ และผลงานของสานักงาน 3. เปน็ ศูนย์ขอ้ มลู ข่าวสารเกี่ยวกับการคุ้มครองผ้บู ริโภค

119 สว่ นราชการในปัจจุบัน หนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ 4. เปน็ ศูนยก์ ลางในการรับเรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์เกย่ี วกบั การคุม้ ครองผบู้ ริโภค 5. ใหค้ าปรึกษาและแนะนาในการดาเนินงานคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคใหก้ ับเครือข่าย รวมทง้ั ติดตามประสานความช่วยเหลือและร่วมมือกับ ภาคีเครอื ข่ายต่างๆ 6. ดาเนนิ การเกี่ยวกบั งานเลขานุการของคณะอนุกรรมการเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ 7. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอ่ืนทเี่ กย่ี วข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย 9. กองคุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านธรุ กจิ ขาย 1. ดาเนนิ การเกย่ี วกับการสง่ เสรมิ และกากบั ธุรกจิ ขายตรงและตลาดแบบตรงตามกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง ตรงและตลาดแบบตรง 2. ดาเนนิ การเกย่ี วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง และคณะอนุกรรมการท่ีคณะกรรมการขายตรงและ ตลาดแบบตรงแต่งต้ัง 3. ดาเนินการเก่ียวกับเร่ืองร้องทุกข์ของผ้บู ริโภคในสว่ นที่เกย่ี วกับการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง 4. ดาเนินการตดิ ตามและสอดส่องพฤติการณ์ในการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการขายตรงและ ตลาดแบบตรง 5. ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอ่นื ที่เกี่ยวข้องหรือท่ีไดร้ บั มอบหมาย 10. กองคุ้มครองผูบ้ ริโภคดา้ นสัญญา 1. ดาเนนิ การเก่ยี วกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสญั ญาตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 2. ดาเนนิ การเกย่ี วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการว่าดว้ ยสัญญา และคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการว่าด้วยสญั ญาแตง่ ตง้ั 3. ดาเนินการเก่ียวกับเรื่องร้องทกุ ข์ของผบู้ รโิ ภคในส่วนที่เกย่ี วกบั สัญญา หลกั ฐานการรับเงนิ สัญญารบั ประกันหรอื สัญญาค้าประกนั 4. ดาเนินการตรวจสอบข้อความในสญั ญา หลกั ฐานการรบั เงนิ สญั ญารบั ประกนั หรือสญั ญาค้าประกันตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองผู้บริโภค 5. ปฏิบัติงานรว่ มกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอนื่ ที่เก่ียวข้องหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย

120 3.4.2 หน้าท่แี ละความรับผิดชอบของส่วนราชการทข่ี อปรับปรงุ เปรยี บเทียบกับหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบในปัจจุบนั ก่อนปรับปรุง ปรับปรงุ หรอื จดั ใหม่แลว้ เหตผุ ลของการเปลย่ี นแปลง กองกฎหมายและคดี 1. ดาเนนิ การดา้ นกฎหมายตามกฎหมายว่าดว้ ยการ กองกฎหมายและคดี คุ้มครองผูบ้ ริโภค กฎหมายว่าดว้ ยการขายตรงและ ตลาดแบบตรง และกฎหมายอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 1. ดาเนินการเก่ียวกับการศึกษา วิเคราะห์ เพื่อการ เพื่อให้เกดิ ความครอบคลมุ ถึงการพฒั นากฎหมาย 2. ดาเนนิ การเกี่ยวกับงานนติ ิกรรมและสญั ญางาน พัฒนากฎหมาย รวมไปถึงการจัดทาร่างกฎหมาย การ การจดั ทารา่ งกฎหมาย การปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิก เก่ยี วกับความรับผิดทางแพ่งและอาญางานคดี ปกครอง และงานคดีอ่นื ท่ีอยู่ในอานาจหนา้ ท่ีของ ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติม การยกเลิกกฎหมายระดับ กฎหมายระดบั พระราชบญั ญัตแิ ละกฎหมายลาดับรอง สานกั งาน 3. ดาเนนิ การเก่ยี วกับงานคดีตามกฎหมายว่าดว้ ยการ พระราชบัญญตั แิ ละกฎหมายลาดับรอง คุ้มครองผู้บรโิ ภคและกฎหมายวา่ ด้วยการขายตรงและ ตลาดแบบตรง 2. คงเดมิ - 3. ดาเนินการเก่ียวกับการดาเนินคดีละเมิดสิทธิของ เพื่อใหค้ รอบคลมุ ถึงบทบาทอานาจหน้าที่ตามมาตรา ผู้บริโภคตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 39/1 การดาเนินคดีแทนผู้บริโภคโดยเลขาธิการ 4. ดาเนนิ การเก่ียวกับการบังคับคดีตามคาพิพากษาใน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค อาจมอบหมาย คดีละเมิดสิทธิของผู้บริโภคและการดาเนินคดีในชั้น เจ้าหน้าที่ ดาเนินคดีในศาลได้ การบงั คับคดีตามคาพพิ ากษา 5. ดาเนินการเกี่ยวกับการดาเนินคดีอาญาแก่ผู้กระทา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง รวมทั้งการเปรียบเทียบปรับผู้กระทาความผิดตาม กฎหมาย

121 กอ่ นปรบั ปรุง ปรบั ปรงุ หรือจัดใหม่แล้ว เหตผุ ลของการเปล่ยี นแปลง 4. ดาเนินการเกย่ี วกบั งานเลขานกุ ารของ 6. ดาเนินการเก่ียวกบั งานเลขานุการของ เพอ่ื ให้เกิดความครอบคลมุ ในบทบาทการดาเนนิ งาน คณะอนกุ รรมการฝาุ ยกฎหมาย คณะอนุกรรมการฝุายกฎหมาย และคณะอนุกรรมการ ของคณะอนุกรรมการพิจารณากลน่ั กรองเรอื่ งร้องทุกข์ พจิ ารณากลัน่ กรองเร่อื งร้องทุกข์จากผบู้ รโิ ภคตาม จากผบู้ รโิ ภคตามมาตรา 39 5. ดาเนินการเกยี่ วกับการรับรองสมาคมและมูลนธิ ิ มาตรา ๓๙ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค 7. คงเดิม - - 8. ดาเนินการอน่ื เกย่ี วกับกฎหมาย เชน่ การตอบข้อ เพอื่ ใหเ้ กิดความครอบคลุมถึงการตอบขอ้ หารือ ให้ หารือ การให้คาปรกึ ษากฎหมาย การใหค้ วามเหน็ คาปรกึ ษา และความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ดา้ นกฎหมาย 6. ปฏบิ ัติงานรว่ มกับหรือสนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านของ ตา่ ง ๆ การบรรยายให้ความรู้แก่ผ้บู รโิ ภค รวมท้งั การบรรยายให้ความรู้แก่ผ้บู รโิ ภค หนว่ ยงานอน่ื ท่ีเก่ียวข้องหรือทีไ่ ด้รับมอบหมาย 9. คงเดมิ -

122 ก่อนปรับปรุง ปรบั ปรุงหรือจัดใหม่แล้ว เหตผุ ลของการเปลีย่ นแปลง สานักงานเลขานกุ ารกรม สานกั งานเลขานกุ ารกรม - 1. ปฏิบัติงานสารบรรณของสานักงาน 1. ดาเนนิ การเก่ยี วกับการบรหิ ารงานทั่วไปและ - ปฏบิ ัตงิ านสารบรรณของสานักงาน - 2. ดาเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอานวยการและงาน 2. นาไปรวมกับข้อ 5 ใหม่ แผนงานของสานกั งาน 3. ดาเนินการเก่ียวกับการเงิน การบญั ชี 3. คงเดมิ การงบประมาณ การพสั ดุ อาคาร สถานที่ และ ยานพาหนะของสานักงาน 4. ดาเนนิ การเกยี่ วกับการจัดระบบงานและบริหารงาน - 4. จดั ระบบงานและบริหารงานบคุ คลของสานกั งาน บคุ คลของสานักงาน 5. ดาเนนิ การเกย่ี วกบั งานเลขานุการของ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค และ 5. ดาเนินการเกย่ี วกบั งานช่วยอานวยการ งาน - คณะอนุกรรมการท่คี ณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค แต่งตัง้ เวน้ แต่คณะอนุกรรมการฝาุ ยกฎหมายและ เลขานกุ าร งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการคุ้มครอง คณะอนกุ รรมการ เผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ ผบู้ รโิ ภค และคณะอนกุ รรมการทีค่ ณะกรรมการ - คุ้มครองผบู้ รโิ ภคแต่งต้ัง เว้นแตค่ ณะอนุกรรมการฝาุ ย 6. ปฏิบตั ิงานรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย กฎหมายและคณะอนุกรรมการเผยแพรแ่ ละ ประชาสมั พันธ์ และงานประสานราชการของสานกั งาน 6. ดาเนินการเกี่ยวกับการอานวยความสะดวกของ เพ่ิมบทบาทอานาจหน้าทดี่ าเนินการเกีย่ วกบั การ ศูนย์รับเรื่องร้องทุกข์ผู้บริโภคการบริหารงานเร่ืองร้อง บรหิ ารงานศูนย์รับเรื่องรอ้ งทุกขผ์ ้บู ริโภค ทุกข์และคัดกรองเรอ่ื งร้องทกุ ข์ 7. คงเดมิ -

123 กอ่ นปรับปรุง ปรับปรงุ หรือจดั ใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลยี่ นแปลง สานักแผนและการพฒั นาการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค สานักแผนและการพัฒนาการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค มีบทบาทภารกจิ ทเ่ี พ่มิ ขึ้นทีจ่ าเปน็ ต้องจดั ทาแผน 1. รับผิดชอบงานด้านนโยบายและการประสานงานด้าน ยทุ ธศาสตร์การคุ้มครองผู้บรโิ ภคในภาพรวมของประเทศ การคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา 1. ดาเนินการเก่ียวกับการเสนอแนะนโยบายและ โดยมีการบูรณาการการทางานรว่ มกบั หนว่ ยงานท่ี เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการ ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ด้ า น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ ห้ เกี่ยวข้องตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผบู้ ริโภค แผ่นดิน และแผนยุทธศาสตร์ ตลอดจน ส่งเสริมให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ เพื่อให้การคุ้มครองผู้บรโิ ภคในภาพรวมของประเทศมี ผู้บริโภค องค์กรเอกชน และผู้ประกอบธุรกิจได้เข้ามามี ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา ประสิทธภิ าพอย่างยั่งยืนตาม พรบ.คุ้มครองผบู้ ริโภค ส่วนร่วมหรือมีบทบาทในการพัฒนางาน คุ้มครอง เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล และ 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เกี่ยวกบั บทบาทภารกิจท่ี ผูบ้ ริโภค แผนยุทธศาสตร์กระทรวง รวมท้ัง จัดทาแผน เพิ่มข้ึน ยุทธศาสตรก์ ารคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค แผนปฏิบัติราชการ - มาตรา 10 (8/1) กาหนดให้หน่วยงานมีหนา้ ที่ แผนงบประมาณของส่วนราชการ และแผนงานอื่นท่ี บทบาทหลักในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง เก่ยี วข้อง ผ้บู ริโภคให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของ 2. อานวยการและกากับดูแลโครงการสาคัญหรือ รัฐบาล โครงการเร่งด่วนตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง มติคณะรฐั มนตรที ่เี กยี่ วกบั การคมุ้ ครองผ้บู ริโภค หรือ ผู้บรโิ ภค และบรู ณาการร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง มาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภคสากล เพื่อผลักดันโครงการสาคัญให้บรรลุเปูาหมาย - มาตรา 10 (9/1) เสนอความเห็นต่อ ครม. เพ่ือใหม้ ี 3. ศึกษา วิเคราะห์ กล่ันกรอง กาหนดแนวทาง การตรากฎหมาย แก้ไข หรือปรบั ปรุงกฎหมายหรือกฎ ติดตาม ประเมินผล และให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ เก่ียวกบั การคุ้มครองผู้บรโิ ภคให้สอดคล้องตามแผน เก่ียวกับการดาเนินงานตามนโยบาย แผนงาน ยทุ ธศาสตร์การคุ้มครองผบู้ ริโภค โครงการเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้อง - มาตรา 10 (9/2) เสนอความเหน็ ต่อสว่ นราชการ กับบริบททเ่ี ปล่ยี นแปลงไป หน่วยงานอน่ื ของรัฐ หรือองค์กร เพื่อจัดทา ทบทวน 4. ศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลการ ประเมิน หรือปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการปฏบิ ตั ิ พัฒนา การบริหารจัดการ และการดาเนินการของ ราชการหรือดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง องค์กรและหน่วยงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือ เสนอแนะแนวทางการปรบั ปรงุ กลไกด้านการคุ้มครอง

124 กอ่ นปรับปรุง ปรบั ปรุงหรือจดั ใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลี่ยนแปลง ผู้บริโภคและการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ด้านการ ผบู้ ริโภค 2. จดั ทาและประสานแผนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองผู้บริโภค ตลอดจน ส่งเสริมให้ผู้บริโภค - การดาเนนิ งานเก่ียวกับการขับเคลือ่ นแผนงานปฏิรูป ให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรการในการคุ้มครอง องค์กรเอกชน และผู้ประกอบธุรกิจมีส่วนร่วมหรือมี ประเทศ ผู้บริโภคของรัฐบาล รวมทั้งเร่งรัด ติดตาม และ บทบาทในการพัฒนางานดา้ นการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งในส่วนกลาง และส่วน 5. ศกึ ษา วิเคราะห์ กาหนดแนวทางจัดทาข้อมูลและ - ภมู ิภาค ประสานงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้เป็นไปตาม 3. ศึกษาวิจัยปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค นโยบายและมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคของ - จัดระบบในการสารวจ เก็บรักษาและใช้ประโยชน์ รัฐบาล รวมท้ังเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการ ข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และเป็นศูนย์ ปฏบิ ตั ิงานทง้ั ในส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค - เป็นการดาเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานกุ าร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านการคุ้มครอง 6. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยปัญหาด้านการคุ้มครอง คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการด้านยทุ ธศาสตร์ ผบู้ รโิ ภค ผู้บริโภค จัดระบบในการสารวจ เก็บรักษาและใช้ ในการขบั เคลอื่ นแผนยุทธศาสตรด์ ้านการคมุ้ ครอง ประโยชน์ข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และเป็น ผูบ้ ริโภค - ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านการ คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค - 4. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ 7. ดาเนินงานเก่ียวกับงานเลขานุการคณะกรรมการ หนว่ ยงานอื่นท่เี กย่ี วข้องหรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย และคณะอนกุ รรมการดา้ นยุทธศาสตร์ 8. คงเดมิ

125 กอ่ นปรับปรุง ปรบั ปรงุ หรือจดั ใหม่แลว้ เหตผุ ลของการเปลย่ี นแปลง กองคมุ้ ครองผู้บริโภคในสว่ นภูมิภาค จัดตั้งเปน็ ส่วนราชการใหม่ สานักแผนและการพัฒนาการค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค เพื่อขบั เคลอ่ื นงานด้านการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค (สว่ นประสานและส่งเสริมและสง่ เสริมการคุ้มครอง 1. ประสานนโยบายและดาเนินการตามแผน ผูบ้ รโิ ภคจังหวดั 1 และ 2) ยุทธศาสตร์และจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารไปสู่การปฏบิ ตั ใิ น ส่วนภูมภิ าค ระดบั ท้องถิ่น ระดับจงั หวดั และระดบั ภาคให้ - 1. ประสานนโยบายและดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ สอดคลอ้ งกบั นโยบายและแผนแม่บทด้านการคุ้มครอง และจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิในระดับท้องถนิ่ ผู้บริโภค - ระดับจังหวัด และระดับภาคให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนแม่บทด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รวมท้ังเร่งรัด 2. ศกึ ษา วิเคราะห์ การจดั ทาแผนงาน โครงการ - ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่ รว่ มกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในระดบั ท้องถิ่น ระดบั จงั หวดั เกี่ยวขอ้ งในพน้ื ที่ และระดับภาค เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดาเนนิ งาน - คุ้มครองผูบ้ รโิ ภคให้มีประสิทธภิ าพ 2. ศึกษา วิเคราะห์ การจัดทาแผนงาน โครงการ ร่วมกับ 3. ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ เพือ่ พฒั นาการ หนว่ ยงานต่าง ๆ ในระดบั จังหวัดและระดับเขตพื้นท่ีเพ่ือ ดาเนนิ งานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคให้กับเครอื ข่ายใน ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้มี ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวดั และระดับภาค ประสิทธภิ าพ 4. ดาเนนิ งานเกี่ยวกบั การรับเร่อื งรอ้ งทกุ ขแ์ ละบริหาร คดดี ้านสญั ญา โฆษณา ฉลาก ธุรกจิ ขายตรงและตลาด 3. ใหค้ าปรกึ ษา ชีแ้ นะเพ่ือพัฒนาการดาเนนิ งาน แบบตรง ในพื้นที่ท่ีรบั ผดิ ชอบ กลัน่ กรองงานรบั เรือ่ ง ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคใหก้ บั เครอื ข่ายในระดบั ท้องถน่ิ รอ้ งทุกข์ ใหค้ าปรกึ ษาแกเ่ จ้าหน้าท่ีผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ระดบั จังหวดั และระดบั ภาค เก่ียวกับการรับเรื่องร้องทุกข์ การเจรจาไกล่เกลี่ย วิธกี ารประนปี ระนอมข้อพพิ าทอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. บรหิ ารจดั การการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคในพ้ืนท่ีที่ รับผดิ ชอบ กล่นั กรองงานรบั เรื่องราวร้องทุกข์ ใหค้ าปรึกษาแกเ่ จ้าหน้าท่ปี ฏิบัตงิ านเกี่ยวกับการรับ เรอ่ื งราวร้องทุกข์ การเจรจาไกลเ่ กลย่ี วธิ ีการ ประนีประนอมข้อพิพาทอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตรวจสอบพฤติการณ์ผู้ประกอบธุรกิจในระดับจังหวัด

126 ก่อนปรับปรุง ปรับปรงุ หรอื จัดใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลย่ี นแปลง ร่วมกับจังหวัดหรือท้องถิ่น สนับสนนุ การทาหนา้ ทีฝ่ ุาย เลขานุการ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคประจา การตรวจสอบพฤติการณผ์ บู้ ริโภคธุรกิจในระดบั จงั หวัด จงั หวดั คณะอนุกรรมการไกลเ่ กลยี่ เร่ืองราวร้องทุกข์ และท้องถน่ิ รว่ มกับจังหวดั และทอ้ งถ่นิ จากผู้บรโิ ภคประจาจังหวัด และบรู ณาการกับ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดบั จังหวดั 5. ปฏิบตั งิ านทาหน้าท่ีคณะอนกุ รรมการท่ี เป็นการดาเนนิ งานเกี่ยวกบั คณะอนกุ รรมการท่ี คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับองค์กร คณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคหรือเลขาธิการ คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคหรอื เลขาธิการ ปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานเอกชน คณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคมอบหมาย คณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคมอบหมาย - 6. สง่ เสริมและสนับสนนุ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ - มาใช้บริหารจดั การข้อมูลด้านการคุม้ ครองผู้บริโภคใน 5. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนนาระบบเทคโนโลยี สว่ นภูมิภาค สารสนเทศมาใชใ้ นการจดั ทาขอ้ มูลพื้นฐานและเปน็ การเช่ือมขอ้ มูลการแกไ้ ขปญั หาดา้ นการคุ้มครอง 7. ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ - ผบู้ ริโภค และการจัดกิจกรรมรณรงค์การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค - 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดและท้องถ่ิน รวมถึงการ และการจัดกิจกรรมรณรงค์การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค สร้างความร่วมมือในการรวมพลังเป็นผู้บริโภคที่ สู่ชุมชน รวมถึงการสร้างความร่วมมือในการรวมพลัง เข้มแข็งโดยการตั้งกลุ่มชมรม และสมาคมคุ้มครอง เป็นผู้บริโภคท่ีเข้มแข็งโดยการต้ังกลุ่มชมรม และ ผู้บริโภคภาคเอกชน สมาคมคุ้มครองผู้บริโภคภาคเอกชน ในระดับจังหวัด และทอ้ งถ่นิ 8. ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครอง 7. สง่ เสริมและสนบั สนุนการดาเนนิ งานคมุ้ ครอง ผู้บริโภคที่สอดคล้องกับกรอบอาเซียนในระดับจังหวัด ผบู้ รโิ ภคในกรอบอาเซียนในระดบั จังหวัดและทอ้ งถิ่น และท้องถิ่น รวมท้ัง การดาเนินงานความร่วมมือภาคี 8. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานความรว่ มมอื

127 กอ่ นปรบั ปรุง ปรบั ปรุงหรือจดั ใหม่แล้ว เหตุผลของการเปลยี่ นแปลง ภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค - ประชาชน ในระดับจงั หวัดและระดบั ทอ้ งถนิ่ เครือข่ายต่างๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค - 9. ตดิ ตามรายงานผลการดาเนินงานด้านการคุ้มครอง ประชาชน ในระดับจงั หวดั และระดับท้องถ่ิน ผูบ้ ริโภคในจงั หวดั และท้องถิน่ 9. ติดตามรายงานผลการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 8. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ ในระดับจังหวัดและท้องถิ่น รวมท้ังเร่งรัดติดตามและ หนว่ ยงานอนื่ ท่เี กีย่ วข้องหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย ประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องใน พ้ืนที่ 10. คงเดิม

128 กอ่ นปรบั ปรุง ปรับปรุงหรือจดั ใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลย่ี นแปลง สานกั แผนและการพัฒนาการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค (ส่วนความรว่ มมือกบั ต่างประเทศ) กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นต่างประเทศ จดั ตงั้ เป็นส่วนราชการใหม่ 1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน และเสนอความเห็น เกย่ี วกับการดาเนินงานความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ เพ่ือขับเคลอื่ นงานดา้ นต่างประเทศ ความรว่ มมอื ของอาเซียนด้านการคุ้มครองผ้บู ริโภค 1. ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน เพื่อเสนอแนะนโยบาย - 2. ศึกษาวิจัยเพ่ือพฒั นากลไกหรือมาตรการ ดาเนินงานดา้ นการค้มุ ครองผู้บรโิ ภคของไทยให้ แผนแม่บท บทบาท เก่ียวกับความร่วมมือระหว่าง สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล ประเทศด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการบริหาร 3. ประสานงานการจัดทาแนวทางหรือมาตรการ หรือข้อตกลงความร่วมมือระหวา่ งประเทศด้านการ จัดการด้านการคมุ้ ครองผู้บริโภคระหวา่ งประเทศ คมุ้ ครองผ้บู ริโภค 4. บรหิ ารจัดการและประสานงานดา้ นต่างประเทศ 2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และจัดทายุทธศาสตร์ - ภารกิจตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ มงุ่ เน้นการคุ้มครอง ของสานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผ้บู ริโภค ความร่วมมือด้านการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคกับต่างประเทศ ผู้บริโภค แก้ไขกฎหมายที่ไมเ่ ป็นธรรม ปรบั ปรงุ ระบบ จัดทาแผนปฏบิ ัตงิ าน แผนงานโครงการและกจิ กรรม และกลไกการค้มุ ครองผู้บริโภคใหม้ คี วามทันสมัย กับตา่ งประเทศ รวมถึง พัฒนากลไกหรือมาตรการ ทัดเทยี มระดับสากล ดาเนินงานด้านการค้มุ ครองผู้บริโภคของไทยให้ - ภารกจิ ตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล 2522 มกี ารปรบั ปรงุ เพม่ิ เติม มาตรา 10 (8/1) เพม่ิ โดย พรบ.ค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 ให้จดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์การคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรฐั บาล มติ คณะรฐั มนตรีทเี่ กย่ี วกบั การคุ้มครองผู้บรโิ ภค หรอื มาตรฐานการคุ้มครองผู้บรโิ ภคสากล 3. เป็นหน่วยงานกลางประสานงานและเป็นหน่วยงาน - ปฏิบัติในการดาเนินการเก่ียวกับความร่วมมือ การ ประชุมเจรจา และการจัดทาความตกลงด้านการ คุ้มครองผู้บริโภคกับต่างประเทศ และองค์การระหว่าง ประเทศ

129 ก่อนปรับปรุง ปรับปรุงหรือจัดใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลีย่ นแปลง 5. ใหค้ าปรึกษา แนะนา ตดิ ต่อประสานความรว่ มมือ 4. ติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งานตาม - ดาเนินการเก่ียวกบั งานวิเทศสมั พันธ์ งานรับเรื่องและ และความช่วยเหลอื ทางวิชาการด้านต่างประเทศ 6. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบตั งิ าน ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ พนั ธกรณีของอนสุ ญั ญา แก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ผบู้ ริโภคชาวตา่ งชาติ และ ของหนว่ ยงานอ่นื ที่เกยี่ วขอ้ งหรือท่ไี ด้รับมอบหมาย พธิ ีสาร และความตกลงระหวา่ งประเทศดา้ น เปน็ ศนู ยเ์ ยยี วยาผู้บริโภคขา้ มแดนในการช่วยเหลอื การคุ้มครองผ้บู รโิ ภคของหน่วยงานต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง ผู้บริโภคข้ามแดน 5. ดาเนินการด้านวิเทศสัมพันธ์และจัดทาแผนงาน - ดาเนินการเกยี่ วกบั งานคณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือน สนบั สนุนการประชมุ ระหว่างประเทศ ภารกิจการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารเชิง 6. ปฏิบัติงานทาหน้าท่ีคณะกรรมการอาเซียนด้านการ ยทุ ธศาสตร์ของอาเซียน คมุ้ ครองผูบ้ ริโภค - ดาเนินการตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานตาม 7. รับเรื่องร้องทุกข์ เจรจาไกล่เกล่ีย สืบข้อเท็จจริง ความรว่ มมือระหว่างประเทศเก่ยี วกับ พันธกรณีของ ประนีประนอม จัดทาสานวนคดี ในคดีเก่ียวกับการ อนุสัญญา พธิ ีสาร และความตกลงระหว่างประเทศ บริโภคข้ามแดน และศูนย์เยียวยาผู้บริโภคข้ามแดนใน ดา้ นการคุ้มครองผูบ้ ริโภค การใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้บู ริโภคข้ามแดน 8. คงเดิม - 9. คงเดมิ -

130 กอ่ นปรับปรุง ปรับปรงุ หรือจัดใหม่แล้ว เหตุผลของการเปล่ียนแปลง กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นโฆษณา กองคมุ้ ครองผู้บริโภคด้านโฆษณา 1. ดาเนนิ การเก่ยี วกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการ 1. ดาเนินการเกีย่ วกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการ - ดาเนินการตามบทบาทอานาจหนา้ ท่ีตามมาตรา 28 โฆษณาสินค้าและบริการตามกฎหมายว่าด้วยการ โฆษณาสินค้าและบริการตามกฎหมายว่าด้วยการ เก่ียวกับการออกคาสัง่ ระงับการโฆษณาเปน็ การ คมุ้ ครองผู้บรโิ ภค คุ้มครองผู้บริโภค รวมถึง การซ้ือขายสินค้าและบริการ ชวั่ คราว ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีไม่ถือเป็นธุรกิจตลาด - ดาเนนิ การเพิ่มบทบาทอานาจหน้าทกี่ ารรบั เรื่องและ แบบตรง แกไ้ ขปญั หาเร่ืองร้องทุกขด์ ้านพาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์ 2. ดาเนินการเกย่ี วกบั งานเลขานุการของคณะกรรมการ 2. คงเดิม (สินคา้ และบริการดา้ นพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ที่ไม่ถอื ว่าดว้ ยการโฆษณาและคณะอนกุ รรมการท่ี เป็นธุรกจิ ตลาดแบบตรง) คณะกรรมการว่าดว้ ยการโฆษณาแต่งตงั้ 3. ดาเนินการเกี่ยวกับเร่ืองร้องทุกข์ของผู้บริโภคใน 3. ดาเนนิ การเก่ียวกบั เร่ืองร้องทุกข์ของผูบ้ รโิ ภคใน สว่ นที่เกี่ยวกบการโฆษณาสินคา้ และบริการ สว่ นที่เกี่ยวกับด้านการโฆษณาสินค้าและบริการ รวมถงึ การซื้อขายสินค้าและบรกิ ารด้านพาณชิ ย์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ที่ไม่ถอื เปน็ ธุรกิจตลาดแบบตรง 4. ดาเนินการตรวจสอบข้อความโฆษณาสินค้าและ 4. ดาเนนิ การตรวจสอบข้อความโฆษณาสินคา้ และ บริการในสื่อโฆษณาตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง บริการในส่อื โฆษณาตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครอง ผู้บรโิ ภค ผู้บริโภค รวมถึงการซ้อื ขายสินคา้ และบริการดา้ น พาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนกิ สท์ ี่ไม่ถอื เป็นธรุ กจิ ตลาดแบบตรง 5. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรือสนบั สนุนการปฏบิ ัติงาน 5. คงเดมิ ของหนว่ ยงานอ่ืนท่เี ก่ียวขอ้ งหรอื ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

131 กอ่ นปรับปรุง ปรับปรุงหรอื จดั ใหม่แลว้ เหตุผลของการเปล่ยี นแปลง กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก กองคมุ้ ครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสนิ คา้ (ฝา่ ยเฝา้ ระวังและพิสูจนส์ นิ ค้าและบริการ) และบรกิ าร 1. ดาเนินการตรวจสอบและพิสูจน์สินค้าและบริการ 1. ดาเนินการเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความ - ดาเนินการเกยี่ วกับด้านความปลอดภยั ของสินค้าและ ทั่วไปเพื่อปูองกันการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค รวมท้ัง ปลอดภยั ของสินคา้ และบริการตามกฎหมายว่าด้วยการ บริการตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุม้ ครองผู้บริโภค สนิ ค้าและบรกิ ารที่ไม่ปลอดภัย คุ้มครองผ้บู รโิ ภค (ส่วนที่ 1/1) 2. แจง้ เตอื นภัยเก่ยี วกับสินค้าและบรกิ ารทไี่ ม่ปลอดภยั 2. ดาเนินการเก่ยี วกบั งานเลขานุการของ - ดาเนินการเกยี่ วกบั งานเลขานุการของคณะกรรมการ คณะกรรมการวา่ ดว้ ยความปลอดภยั ของสนิ ค้าและ ว่าด้วยความปลอดภัยของสินค้าและบริการ บริการ 3. เสนอคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคเพ่ือพจิ ารณา 3. ดาเนนิ การเกย่ี วกับเร่ืองรอ้ งทุกข์ของผูบ้ ริโภคในท่ี - ดาเนินการเกี่ยวกบั เรื่องร้องทุกข์ของผ้บู ริโภคในส่วน ดาเนนิ การเรียกคืนสนิ ค้าท่ีไม่ปลอดภัย เกี่ยวกับความปลอดภยั ของสินค้าและบริการ ทเี่ กย่ี วกบั ความปลอดภัยของสินคา้ และบรกิ าร 4. เสนอคณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื งเพื่อพิจารณา - - ดาเนนิ การตามอานาจหน้าท่ี - ๔. ดาเนินการในการส่งเสริมและพัฒนากลไกความ สอดคลอ้ งตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค ปลอดภยั ของสนิ ค้าและบริการทปี่ ลอดภัย มาตรา 29/1 – 29/17 - ๕. จดั ให้มีการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้าหรือบริการใด สอดคล้องตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ๆ ตามทเ่ี หน็ สมควรและจาเป็นเพ่อื ค้มุ ครองสทิ ธิของ มาตรา 29/1 – 29/17 ผู้บรโิ ภค การตรวจสอบและพิสจู นส์ ินคา้ และบริการท่ี อาจไมป่ ลอดภัย การจดั การแผนสินคา้ ทีไ่ มป่ ลอดภัย และปราบปรามสินคา้ ที่ไม่ปลอดภยั และสนิ คา้ อนั ตราย 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ๖. คงเดิม - ของหน่วยงานอืน่ ท่ีเกี่ยวขอ้ งหรือที่ไดร้ บั มอบหมาย

132 ก่อนปรบั ปรุง ปรับปรุงหรือจัดใหม่แลว้ เหตุผลของการเปลีย่ นแปลง กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ - 1. ดาเนินการเกี่ยวกบั การเผยแพร่วชิ าการและการ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาแผนงานประชาสัมพันธ์ ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผู้บรโิ ภคมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับ และงานเผยแพรค่ วามรู้ดา้ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภค การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค และเข้ามามีส่วนรว่ มในการ คุ้มครองผ้บู ริโภคอยา่ งทวั่ ถึง 2. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการรวมตัว - ดาเนนิ งานตามบทบาทอานาจหนา้ ทต่ี ามมาตรา 20 - กันของผู้บริโภคในการจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภคและ (2/1) สง่ เสริมและสนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มและการ 2. ประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพรก่ ิจกรรม ความกา้ วหน้า ส่งเสริมองค์กรของผู้บริโภคในการรักษาสิทธิของ รวมตวั กันของผู้บริโภคในการจัดตัง้ องคก์ รของผบู้ รโิ ภค และผลงานของสานกั งาน 3. เป็นศนู ย์ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการค้มุ ครอง ผูบ้ ริโภคตามแผนยุทธศาสตร์การคมุ้ ครองผู้บริโภค และสง่ เสรมิ องค์กรของผ้บู รโิ ภคในการรักษาสทิ ธิ ผูบ้ ริโภค 4. เป็นศนู ยก์ ลางในการรบั เร่ืองรอ้ งทุกข์เกีย่ วกับการ ผบู้ รโิ ภคตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผบู้ ริโภค คุ้มครองผู้บรโิ ภค 5. ให้คาปรึกษาและแนะนาในการดาเนินงานคุ้มครอง 3. ดาเนินการเกี่ยวกับงานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ - ผู้บริโภคให้กับเครือข่าย รวมท้ัง ติดตามประสานความ ชว่ ยเหลอื และรว่ มมอื กับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ กิจกรรมและผลงานด้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 4. บรหิ ารจดั การศนู ย์ขอ้ มลู ข่าวสารด้านการคุ้มครอง - ดาเนินงานเก่ยี วกับศนู ย์ข้อมลู ข่าวสารดา้ นการ ผ้บู รโิ ภค และข้อมลู ขา่ วสารของราชการตาม ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค ในส่วนของศูนย์กลางการรบั เรอื่ ง พระราชบญั ญตั ิข้อมลู ข่าวสาร รอ้ งทุกข์อยใู่ นอานาจหนา้ ทีข่ องสานักงานเลขานุการ กรม 5. ดาเนินการสรา้ ง สง่ เสรมิ และพฒั นาเครือขา่ ยด้าน - ดาเนินงานตามบทบาทอานาจหนา้ ทเี่ กี่ยวกบั การสร้าง การคุ้มครองผบู้ ริโภค เพ่ือเผยแพรค่ วามร้ดู ้านการ สง่ เสริม และพฒั นาเครือขา่ ยดา้ นการคุ้มครองผูบ้ ริโภค ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค ให้คาปรึกษา เสนอแนะ การดาเนนิ งานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคใหก้ บั เครือข่าย ทุกภาคสว่ น รวมทง้ั ติดตามประสานความชว่ ยเหลอื และร่วมมือกับภาคีเครอื ขา่ ยต่าง ๆ

133 กอ่ นปรับปรุง ปรบั ปรงุ หรือจัดใหม่แล้ว เหตผุ ลของการเปล่ียนแปลง - 6. ดาเนนิ การเกี่ยวกับงานเลขานกุ ารของ 6. คงเดิม คณะอนุกรรมการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 7. คงเดมิ - 7. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหนว่ ยงานอนื่ ทีเ่ กีย่ วข้องหรอื ที่ได้รับมอบหมาย

134 4. อตั รากาลังเจา้ หน้าที่ 4.1 กรอบอตั รากาลังเจ้าหนา้ ทท่ี ใ่ี ช้อยู่ในปจั จุบนั (ขา้ ราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างประจา ลูกจ้าง ชัว่ คราว และพนกั งานจ้าง) ขรก. 153 สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พรก. 156 ลจป. 2 เลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค รองเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค 1 และ 2 กลุม่ พฒั นา ขรก. 4 กลุ่มตรวจสอบ ขรก. 2 ระบบบรหิ าร พรก. 3 ภายใน พรก. 1 ลจ. เหมา 2 ลจ. เหมา 1 กองกฎหมาย ขรก. 26 สานกั งาน ขรก. 22 สานกั แผนและการ ขรก. 31 และคดี พรก. 22 เลขานกุ ารกรม พรก. 32 พัฒนาการคมุ้ ครอง พรก. 29 ลจ. เหมา 12 ลจป. 2 ลจ. เหมา 30 ผู้บริโภค ลจ. เหมา 202 กองคุ้มครอง ขรก. 15 กองคุ้มครอง ขรก. 15 กองคุม้ ครอง ขรก. 13 ผูบ้ ริโภคดา้ นฉลาก พรก. 17 ผบู้ ริโภคดา้ น พรก. 14 ผู้บริโภคดา้ นสญั ญา พรก. 21 ลจ. เหมา 17 ลจ. เหมา 7 ลจ. เหมา 10 โฆษณา กองคุ้มครอง ขรก. 12 ผูบ้ รโิ ภคด้านธุรกจิ พรก. 5 กองเผยแพรแ่ ละ ขรก. 10 ประชาสัมพนั ธ์ พรก. 12 ขายตรงและ ลจ. เหมา 8 ลจ. เหมา 2 ตลาดแบบตรง กรอบอตั รากาลังเจ้าหนา้ ท่ใี นปจั จุบนั ขรก. ลจป. พรก. ลจ. เหมาบรกิ าร เลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค 1- - - รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค 1 และ 2 2- - - 1. กองกฎหมายและคดี 26 - 22 12 2. สานักงานเลขานุการกรม 22 2 32 30 3. สานกั แผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 31 - 29 14 36 - ลูกจ้างเหมา เขต 1 – 9 เขตละ 4 คน 15 - 17 - ลูกจ้างเหมา 76 จงั หวดั เขตละ 2 คน 152 4. กองคมุ้ ครองผ้บู ริโภคด้านฉลาก 15 - 14 17 5. กองคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นโฆษณา 7 6. กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านสญั ญา 13 - 21 10 7. กองคมุ้ ครองผบู้ ริโภคดา้ นธุรกจิ ขายตรงและตลาด 8 แบบตรง 12 - 5 8. กองเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธ์ 9. กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร 10 - 12 2 10. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 4-3 2 2-1 1 รวม 153 2 156 291 ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 ธันวาคม 2563

135 4.2 แผนภมู ิแสดงอัตรากาลังเฉพาะสานัก/กอง ท่เี กี่ยวข้องกบั การขอปรับปรงุ การแบ่งส่วนราชการ แผนภูมิแสดงสายงานหลกั (ข้าราชการ และพนกั งานราชการ) กรอบตาแหน่งข้าราชการ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค จาแนกตามประเภท และระดบั ระบบการจาแนกตาแหน่งข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจะอ้างอิงจาก พระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และหนังสือของสานักงาน ก.พ. และการจาแนกสาย งานทัง้ หมด 18 สายงานแยกเป็นประเภทตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ลา ประเภทตาแหน่ง – ระดบั ดับ สายงาน บรหิ าร อานวยการ วชิ าการ ท่วั ไป รวม สงู ต้น อว ชง ปง 12 สงู ตน้ ทว ชช ชพ ชก ปก 3 21 7 1. นกั บรหิ าร 12 25 1 19 2. ผ้อู านวยการ 6 3. นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน 5 12 2 11 3 4. นักทรพั ยากรบคุ คล 231 3 5. นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ 12 1 3 6. นกั จัดการงานทั่วไป 151 1 12 3 7. เจ้าพนักงานธรุ การ 30 8. เจา้ พนกั งานพัสดุ 12 1 9. นักวิชาการพัสดุ 3 18 9 58 10. นติ ิกร 1 2 11. ผ้อู านวยการเฉพาะดา้ น (นติ ิการ) 10 27 21 3 12. นักสืบสวนสอบสวน 2 13. เจา้ พนักงานการเงินและบัญชี 12 4 14. นักวชิ าการเงนิ และบญั ชี 11 4 15. นักวชิ าการตรวจสอบภายใน 13 1 16. นักประชาสมั พันธ์ 13 153 17. นักวิชาการเผยแพร่ 18. นายชา่ งศิลป์ 3 5 - - 25 71 39 รวม ขอ้ มลู ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2563

136 กรอบตาแหน่งข้าราชการ จาแนกตามประเภท ประเภท ระดบั ปจั จุบัน รวมท้ังหมด ร้อยละ (จานวน) บรหิ าร ระดับสงู 1 0.65 ระดับตน้ 2 1.31 (3) ระดบั สูง 3 1.96 อานวยการ ระดบั ตน้ 5 3.27 ระดับทรงคุณวุฒิ - (8) ระดบั เชีย่ วชาญ - - ระดบั ชานาญการพิเศษ 25 - วิชาการ ระดบั ชานาญการ 71 16.34 (135) ระดับปฏบิ ตั ิการ 39 46.41 ระดับอาวโุ ส 1 25.49 ทั่วไป ระดบั ชานาญงาน 5 0.65 (7) ระดบั ปฏบิ ัติงาน 1 3.27 0.65 รวมทั้งหมด 153 100.0 ข้อมลู ณ วันท่ี 20 พฤษภาคม 2563 แผนภูมแิ สดงสายงานหลกั (ขา้ ราชการ และพนกั งานราชการ) ตาแหน่ง ขา้ ราชการ พนักงานราชการ รวม นิตกิ ร 30 27 57 นักสืบสวนสอบสวน 58 65 123 แผนภมู แิ สดงอัตรากาลงั ข้าราชการและพนักงานราชการ ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ 65 58 30 27 นิตกิ ร นกั สืบสวนสอบสวน

137 กรอบตาแหน่งขา้ ราชการของหนว่ ยงานภายในสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานักนายกรฐั มนตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเภท บรหิ าร อานวยการ วิชาการ ทัว่ ไป รวม ลจ. รวม สงู ต้น สงู ตน้ เหมา ทง้ั สน้ิ หนว่ ยงาน 12 ชช. ชพ. ปก./ชก อว ปง./ชง. ขรก ลจ พรก ผ้บู รหิ าร 1 1 3 กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 12 1 11 3 1 2 4 กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร 13 2 3 30 9 สานกั งานเลขานุการกรม 1 3 13 4 2 32 12 86 กองกฎหมายและคดี 1 3 22 1 4 22 22 7 60 กองคุ้มครองผบู้ ริโภคดา้ นโฆษณา 1 2 12 26 14 17 36 กองคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านฉลาก 2 12 15 17 8 49 กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภคด้านธรุ กิจ 1 28 15 5 25 ขายตรงและตลาดแบบตรง 1 1 12 กองคมุ้ ครองผ้บู ริโภคดา้ นสัญญา สานกั แผนและการพฒั นาการ 1 2 10 13 21 10 44 คุม้ ครองผ้บู รโิ ภค 35 7 23 31 29 202 262 กองเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธ์ 26 1 10 12 2 24 รวม - 25 110 1 7 153 2 156 291 602 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธนั วาคม 2563

138 การจัดอัตรากาลงั ทใ่ี ช้อยใู่ นปัจจบุ ันและอตั รากาลงั ที่จะปรบั ปรุงให้สอดคล้องกับการแบ่งส่วนราชการภายในกรมใหม่ การแบง่ ส่วนราชการ อัตรากาลัง การแบ่งส่วนราชการ อัตรากาลัง ในปจั จบุ นั ขรก. ลจป. พรก. ลจ. เหมา ที่ขอปรับปรงุ ใหม่ ขรก. ลจป. พรก. ลจ. เหมา ก. ราชการบริหารส่วนกลาง ก. ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง - - ผบู้ ริหารระดบั สูง 1 - - - ผ้บู รหิ ารระดบั สงู 1- - 1 ผบู้ ริหารระดบั ต้น 2 - - - ผู้บริหารระดับต้น 2- - 2 กลุ่มตรวจสอบภายใน 2 - 1 1 กลุม่ ตรวจสอบภายใน 2-1 30 12 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 4 - 3 2 กล่มุ พฒั นาระบบบริหาร 4-3 5 4 สานักเลขานกุ ารกรม 22 2 32 30 สานักงานเลขานุการกรม 20 2 30 193 กองกฎหมายและคดี 26 - 22 12 กองกฎหมายและคดี 24 - 22 7 สานักแผนและการพฒั นาการ 31 - 29 202 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 13 - 6 10 8 คมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 9-3 2 ด้านตา่ งประเทศ 7 กองคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 11 - 21 ในสว่ นภูมิภาค กองคุ้มครองผูบ้ ริโภคดา้ นโฆษณา 15 - 14 7 กองค้มุ ครองผู้บริโภคด้านโฆษณา 13 - 14 กองคุ้มครองผ้บู รโิ ภคด้านสัญญา 13 - 21 10 กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านสญั ญา 13 - 15 กองคมุ้ ครองผบู้ ริโภคด้านธุรกิจ 12 - 5 8 กองคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นธรุ กิจ 12 - 5 ขายตรงและตลาดแบบตรง ขายตรงและตลาดแบบตรง กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 10 - 12 2 กองเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ 10 - 12 กองคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นฉลาก 15 - 17 17 กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก 13 - 15

139 การแบ่งส่วนราชการ อัตรากาลงั การแบ่งส่วนราชการ อตั รากาลัง ในปัจจุบัน ขรก. ลจป. พรก. ลจ. เหมา ทีข่ อปรับปรงุ ใหม่ ขรก. ลจป. พรก. ลจ. เหมา - - - - - กองคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นความ 9 - 3 10 ปลอดภยั ของสนิ คา้ และบรกิ าร รวม 153 2 156 291 รวม 156 2 150 291

140 กรอบอตั รากาลงั ตามโครงสร้างสว่ นราชการในปัจจุบัน กรอบอัตรากาลังตามโครงสรา้ งสว่ นราชการปรับปรงุ ใหม่ ขรก. 153 ขรก. 156 สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผ้บู ริโภค พรก. 156 สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค พรก. 150 ลจป. 2 ลจป. 2 เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค เลขาธิการคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค 1 และ 2 รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 1 และ 2 กลมุ่ ตรวจสอบ ขรก. 2 กล่มุ พฒั นา ขรก. 4 กลุ่มตรวจสอบ ขรก. 2 กลมุ่ พฒั นา ขรก. 4 ภายใน พรก. 1 ระบบบรหิ าร พรก. 3 ภายใน พรก. 1 ระบบบริหาร พรก. 3 ลจ. เหมา 2 ลจ. เหมา 1 ลจ. เหมา 1 ลจ. เหมา 2 กองกฎหมาย ขรก. 26 สานักงาน ขรก. 22 กองกฎหมาย ขรก. 24 สานักงาน ขรก. 20 กองยทุ ธศาสตร์ ขรก. 13 และคดี พรก. 22 เลขานกุ ารกรม พรก. 32 และคดี พรก. 22 เลขานกุ ารกรม พรก. 30 และแผนงาน พรก. 6 ลจป. 2 ลจป. 2 ลจ. เหมา 12 กองคุม้ ครอง ลจ. เหมา 12 ลจ. เหมา 5 ลจ. เหมา 30 ผูบ้ รโิ ภคด้าน ลจ. เหมา 30 ขรก. 15 ขรก. 13 กองคุม้ ครอง ขรก. 9 กองค้มุ ครอง พรก. 17 สานักแผนและการ ขรก. 31 โฆษณา พรก. 14 กองเผยแพรแ่ ละ ขรก. 10 ผู้บริโภคด้าน พรก. 3 ผ้บู ริโภคดา้ นฉลาก ลจ.เหมา 17 พฒั นาการคุ้มครอง พรก. 29 ประชาสัมพันธ์ พรก. 12 ต่างประเทศ ลจ. เหมา 7 ลจ. เหมา 4 ผบู้ ริโภค ลจ. เหมา 202 ลจ. เหมา 2 กองคมุ้ ครอง ขรก. 12 ขรก. 13 กองคุม้ ครอง ขรก. 11 ผู้บริโภคดา้ นธุรกจิ พรก. 5 กล่มุ คุ้มครอง ขรก. 13 กองคมุ้ ครอง พรก. 15 กองคุ้มครอง ขรก. 12 ผู้บรโิ ภค พรก. 21 ขายตรงและตลาด ลจ. เหมา 8 ผูบ้ รโิ ภคด้านสญั ญา พรก. 21 ผู้บริโภคดา้ นฉลาก ผ้บู รโิ ภคดา้ นธุรกจิ พรก. 5 ลจ. เหมา 7 ขายตรงและตลาด ลจ. เหมา 8 ในส่วนภูมภิ าค ลจ. เหมา 193 แบบตรง ลจ. เหมา 10 ขรก. 13 แบบตรง กองคุ้มครอง ขรก. 9 กองเผยแพร่และ ขรก. 10 กองคุม้ ครอง ขรก. 15 กองคุ้มครอง พรก. 15 ผบู้ รโิ ภค พรก. 3 ประชาสมั พนั ธ์ พรก. 12 ผบู้ รโิ ภคดา้ น พรก. 14 ผ้บู ริโภคด้านสญั ญา ลจ. เหมา 2 ลจ. เหมา 7 ลจ. เหมา 10 ดา้ นความปลอดภัย ลจ. เหมา 10 โฆษณา ของสนิ คา้ และ บรกิ าร จัดตง้ั ใหม่ 1. กองคุ้มครองผ้บู ริโภคในส่วนภมู ภิ าค ปรบั ปรงุ อานาจและหนา้ ที่ 1. สานักงานเลขานุการกรม 4. กองคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคดา้ นโฆษณา ปรับปรงุ อานาจและหน้าท่แี ละเปลย่ี นชอื่ - กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน 2. กองคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคดา้ นตา่ งประเทศ 2. กองกฎหมายและคดี 5. กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก 3. กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ น 3. กองเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ ความปลอดภยั ของสินค้าและบริการ

141 5. ปรมิ าณงาน รายงานผลตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี พ.ศ. 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) (รายงานผลตัวช้ีวดั ระดบั ยุทธศาสตร์) ลาดับที่ ยทุ ธศาสตร์ ตัวชี้วดั คา่ เปาู หมาย ผลลัพธ์ รอ้ ยละ 80 71.63 1. การพัฒนากลไกปอู งกนั และคุ้มครองผ้บู ริโภค 1. ร้อยละของผู้บริโภคท่ีได้รับการชดเชย เยียวยา 2. พฒั นากฎหมายให้ทนั สมัยต่อสภาพปญั หา 2. จานวนกฎหมายที่ไดร้ ับการพัฒนา 8 ฉบับ 8 ร้อยละ 80 82.50 3. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ 3. ร้อยละความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคของประชาชน ร้อยละ 100 100 เครอื ข่ายด้านการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค รอ้ ยละ 70 98.84 4. พัฒนาการบรหิ ารจดั การองค์กรและเพม่ิ 4. ร้อยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานตามพนั ธกิจ ศกั ยภาพบุคลากรให้มีประสทิ ธภิ าพ 5. รอ้ ยละความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ

142 (รายงานผลตัวชว้ี ัดระดับกลยุทธ์) ลาดบั ที่ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตัวชวี้ ดั ค่าเปาู หมาย ผลลพั ธ์ 1. 1. จานวนกลไกการตรวจสอบ เฝาู ระวังและ 2 กลไก 2 การพัฒนากลไกปูองกนั และ 1.1 การพฒั นากลไกการตรวจสอบ เฝาู เตือนภยั สินค้า บรกิ ารท่ีอาจไม่ปลอดภัย 2. 2 กลไก 4 3. คุ้มครองผบู้ ริโภค ระวงั และเตือนภยั สนิ ค้า บรกิ ารท่ีอาจ 2. จานวนกลไกในการแกไ้ ขปัญหาและเยยี วยา 4. ผู้บริโภคโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดบั 5 5 ไมป่ ลอดภยั 1 ดา้ น 1 3. ระดับความสาเร็จในการจัดทาแผนพฒั นา ร้อยละ 80 82.50 1.2 มีกลไกในการแก้ไขปัญหาและ กฎหมาย 5 ระดับ ร้อยละ 70 98 4. จานวนฐานขอ้ มูลด้านกฎหมาย (ด้าน) รอ้ ยละ 80 100 เยยี วยาผ้บู รโิ ภค โดยใชเ้ ทคโนโลยี 5. ร้อยละของผลสารวจความรคู้ วามเขา้ ใจ ร้อยละ 100 100 เกี่ยวกบั สทิ ธผิ บู้ รโิ ภค นวัตกรรม 6. ร้อยละของเครือข่ายคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคทท่ี า กิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภค พฒั นากฎหมายใหท้ ันสมัยต่อ 2.1 มแี ผนพัฒนากฎหมาย (4 ป)ี และราย 7. รอ้ ยละความสาเร็จของแผนพฒั นาบคุ ลากร สภาพปญั หา ปี 8. รอ้ ยละความสาเรจ็ ของตัวช้วี ัดประสทิ ธิภาพ การดาเนินงานตามคารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการ 2.2 มฐี านขอ้ มลู ด้านกฎหมาย หรือมาตรา 44 สง่ เสริมและพัฒนาศกั ยภาพ 3.1 ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพผบู้ ริโภค ผบู้ ริโภคและเครอื ขา่ ยด้านการ คุ้มครองผู้บรโิ ภค 3.2 ขบั เคล่อื นการดาเนนิ งานของ เครอื ข่ายด้านการคุม้ ครองผู้บริโภค พฒั นาการบริหารจดั การองค์กร 4.1 พัฒนาศกั ยภาพบุคลากรให้มี และเพ่ิมศักยภาพบุคลากรให้มี ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพ 4.2 พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ องค์กรใหต้ อบสนองต่อพันธกิจ

143 รายงานผลตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี พ.ศ. 2562 ภายใตแ้ ผนยทุ ธศาสตร์และกลยุทธข์ อง สคบ. ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 - 2564 (รายงานผลตัวชีว้ ัดระดับยุทธศาสตร)์ ลาดบั ที่ ยุทธศาสตร์ ตัวช้วี ดั คา่ เปาู หมาย ผลลัพธ์ 1. การพัฒนากลไกปอู งกันและคุ้มครองผู้บริโภค 1. ร้อยละท่ีเพ่ิมขึน้ ของผูป้ ระกอบธรุ กจิ ที่ปฏิบตั ถิ ูกต้องตามกฎหมาย รอ้ ยละ 5 N/A 2. 2. ร้อยละของผ้บู ริโภคที่ได้รับการชดเชย เยยี วยา ร้อยละ 80 84.63 3. พฒั นากฎหมายใหท้ ันสมัยต่อสภาพปัญหา 3. จานวนกฎหมายทีไ่ ด้รับการพัฒนา 8 ฉบบั 24 ฉบับ 4. ร้อยละความสาเร็จการขบั เคลือ่ นนโยบาย/มาตรการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค รอ้ ยละ 80 100 4. ส่งเสรมิ และพฒั นาศักยภาพผู้บรโิ ภคและ 5. ร้อยละความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับองคค์ วามรู้ดา้ นการคุ้มครองผ้บู ริโภค ร้อยละ 80 82.30 เครือข่ายดา้ นการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค 6. ร้อยละของเครือข่ายคุ้มครองผบู้ รโิ ภคที่ทากจิ กรรมคุม้ ครองผ้บู ริโภค ร้อยละ 70 70.86 7. อัตราทล่ี ดลงของการบรโิ ภคสนิ ค้าและบริการท่ีมผี ลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม ร้อยละ 6 N/A พฒั นาการบริหารจัดการองค์กรและเพมิ่ ของประชาชน ศกั ยภาพบุคลากรให้มปี ระสทิ ธิภาพ 8. รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนินงานตามพันธกิจ รอ้ ยละ 100 96.30 9. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารจดั การองค์กร รอ้ ยละ 70 76.22

144 (รายงานผลตัวช้วี ดั ระดับกลยุทธ์) ลาดับที่ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ตัวชว้ี ัด คา่ เปาู หมาย ผลลพั ธ์ 1. การพัฒนากลไกปูองกันและ 1.1 การพัฒนากลไกการตรวจสอบและ ร้อยละ 7 62.13 คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค เฝาู ระวังสินคา้ หรอื บริการ 1. รอ้ ยละทเี่ พิ่มของสนิ คา้ และบริการท่ีได้รบั รอ้ ยละ 100 1.2 การพัฒนากลไกการเตือนภยั สินคา้ การตรวจสอบ รอ้ ยละ 75 96.67 2. ขบั เคลือ่ นนโยบายและพัฒนา หรือบรกิ าร ระดบั 2 กฎหมายใหท้ นั สมัยต่อสภาพ 1.3 มกี ลไกในการแก้ไขปัญหาและ 2. รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการดาเนินการตาม รอ้ ยละ 10 98.84 ปัญหา เยียวยาผู้บริโภค โดยใช้เทคโนโลยหี รือ แผนเฝูาระวังและพิสูจนส์ นิ ค้าไมป่ ลอดภัย ระดับ 2 นวัตกรรม 7 กิจกรรม ระดบั 4 3. รอ้ ยละความพึงพอใจของผบู้ ริโภคที่ไดร้ บั ระดับ 5 1.4 ส่งเสริมให้ผู้ประกอบธุรกิจมีความ บรกิ ารรับเรอื่ งร้องเรียน ระดับ 5 25.34 รบั ผดิ ชอบต่อผ้บู รโิ ภค 8 ฉบับ 2.1 กาหนดหรือขับเคล่อื นนโยบายการ 4. ระดับความสาเร็จของแผนการพัฒนาระบบ ระดบั 2 คุ้มครองผูบ้ ริโภค การไกล่เกล่ียออนไลน์ 2.2 มีแผนพัฒนากฎหมาย (4 ปี) และ 22 รายปี 5. อตั ราทเ่ี พิ่มขน้ึ ของการแก้ไขปญั หาเรือ่ ง กจิ กรรม รอ้ งเรียนการซื้อขายออนไลน์ e-commerce ระดับ 5 6. ระดับความสาเร็จของการพฒั นาความ ระดบั 5 เชอื่ มโยงฐานขอ้ มูลกับหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง 24 ฉบับ 7. จานวนกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภคท่ี ผูป้ ระกอบธุรกิจ 8. ระดับความสาเร็จในการจัดทาแผนการ ขบั เคลอื่ นนโยบายการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 9. ระดบั ความสาเร็จในการจัดทาแผนพฒั นา กฎหมาย 5 ระดบั 10. จานวนกฎหมายทไ่ี ดร้ บั การทบทวน แก้ไข พฒั นา เพ่ือประโยชน์ต่อประชาชน

145 ลาดับท่ี ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ตวั ช้วี ัด คา่ เปูาหมาย ผลลพั ธ์ 2.3 มฐี านข้อมูลด้านกฎหมาย ระดับ 5 ระดบั 5 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพ 11. ระดบั ความสาเร็จของการจัดทาฐานขอ้ มูล (1 ด้าน) 51.16 ผู้บรโิ ภคและเครือข่ายดา้ นการ 3.1 สง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพผ้บู ริโภค ดา้ นกฎหมาย รอ้ ยละ 10 82.30 คมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค เพอื่ การบรโิ ภคอย่างยั่งยนื 12. ร้อยละท่เี พิม่ ขึน้ ขององค์ความร้เู กย่ี วกบั รอ้ ยละ 82 70.86 3.2 ขับเคล่อื นการดาเนินงานของ การคมุ้ ครองผบู้ ริโภค N/A เครือข่ายด้านการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ร้อยละ 70 7.85 13. รอ้ ยละของผลสารวจความรู้ความเข้าใจ 60 เก่ยี วกบั การตระหนักและรบั รู้สทิ ธิและหนา้ ท่ี รอ้ ยละ 5 79.47 ของผูบ้ ริโภค ร้อยละ 5 14. รอ้ ยละของเครอื ข่ายคุ้มครองผบู้ รโิ ภคท่ีทา กิจกรรมคุ้มครองผ้บู รโิ ภค รอ้ ยละ 72 15. ร้อยละท่เี พิ่มขึ้นของเครือข่ายท่ีมกี จิ กรรม ร้อยละ 70 เฝาู ระวงั ส่อื 16. รอ้ ยละทีเ่ พม่ิ ขึน้ ของจานวนเครือขา่ ย คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 17. รอ้ ยละทเี่ พ่มิ ขน้ึ ของวทิ ยากรตัวคณู ดา้ น การคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค 18. ร้อยละของจานวนเครือข่ายคมุ้ ครอง ผ้บู ริโภคทไ่ี ด้รบั การพฒั นาอย่างต่อเนื่อง

146 ลาดบั ท่ี ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ตัวช้ีวัด คา่ เปูาหมาย ผลลพั ธ์ 19. ระดับความสาเร็จของแผนพัฒนาบคุ ลากร ระดบั 5 ระดบั 5 4. พัฒนาการบรหิ ารจัดการองค์กร 4.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหม้ ี และเพ่ิมศักยภาพบุคลากรให้มี ประสิทธภิ าพ ประสิทธภิ าพ 4.2 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ 20. รอ้ ยละความพึงพอใจของบคุ ลากรภายใน ร้อยละ 70 76.22 องค์กร ด้านสิ่งแวดลอ้ มในการทางาน รอ้ ยละ 80 98.84 องค์กรทท่ี ันสมัย (Smart Office) ร้อยละ 100 100 21. รอ้ ยละความพึงพอใจของผ้รู บั บรกิ ารต่อ 4.3 การดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติ การให้บริการศนู ยร์ บั เร่อื งราวร้องทุกข์ สคบ. รอ้ ยละ 65 91.67 ราชการประจาปี 22. ร้อยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การตาม รอ้ ยละ 75 91.67 ตวั ชว้ี ัดประเมินส่วนราชการตามมาตรการ ปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ 23. รอ้ ยละความสาเร็จในการดาเนนิ งาน ภายใตแ้ ผนยุทธศาสตร์และกลยทุ ธ์ของ สานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค 24. รอ้ ยละความสาเรจ็ ของโครงการภายใต้ แผนปฏิบัติราชการประจาปี

147 รายงานผลตามแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ. 2563 ภายใต้แผนปฏบิ ัติราชการรายปี 2563 ของ สคบ. (รายงานผลตัวชวี้ ดั ระดับยุทธศาสตร)์ ลาดับที่ ยุทธศาสตร์ ตวั ชี้วัด ค่าเปูาหมาย ผลลพั ธ์ 1. ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นากลไก มาตรการ รอ้ ยละของสินค้าหรอื บรกิ ารหรอื สถานประกอบการท่ีได้รับการตรวจสอบผ่าน ร้อยละ 60 69.77 หรอื แนวทางการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค เกณฑ์ท่ีกาหนด จานวนของกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภคที่ไดร้ ับการพัฒนา 5 ฉบบั 5 ฉบับ 2. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาข้อมลู สารสนเทศ ร้อยละความพึงพอใจของกลุ่มเปาู หมายจากการใช้งานระบบฐานข้อมลู การ ร้อยละ 80 81.93 การส่ือสารและนวัตกรรมเพ่อื การคุ้มครอง ตดิ ตามข้ันตอนการแก้ไขปัญหาเรอื่ งร้องเรยี น ผู้บริโภค รอ้ ยละทเี่ พ่มิ ขน้ึ ของข้อมูลข่าวสารดา้ นการคุม้ ครองผบู้ ริโภคทเี่ ผยแพร่ผา่ นส่ือ ร้อยละ 10 67.58 อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาศักยภาพเครือขา่ ย ร้อยละการรบั รขู้ ้อมูลด้านการคมุ้ ครองผู้บริโภคของประชาชน รอ้ ยละ 60 83.12 และสง่ เสรมิ การคมุ้ ครองผบู้ ริโภคในสว่ น รอ้ ยละความรู้ความเข้าใจในสิทธิและหนา้ ทีข่ องผบู้ ริโภค ร้อยละ 60 69.00 ภมู ภิ าคและท้องถนิ่ รอ้ ยละขององค์กรของผ้บู ริโภคที่ไดร้ บั การพฒั นา ร้อยละ 30 N/A 4. ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ พฒั นาการบริหารจัดการ รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนินงานตามพนั ธกิจ ร้อยละ 80 66.67 องค์กรและเพ่มิ ศกั ยภาพบุคลากรให้มี รอ้ ยละความพึงพอใจของบคุ ลากรตอ่ การบรหิ ารจัดการองคก์ ร ร้อยละ 75 80.11 ประสิทธภิ าพ