Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

Description: แบบคำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 14-01-64

Search

Read the Text Version

คาชแี้ จงประกอบการแบ่งสว่ นราชการภายในกรม สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค สานักนายกรฐั มนตรี

สารบญั หนา้ 1. การทบทวนบทบาท ภารกิจภาพรวมของส่วนราชการ 1 1.1 ท่มี า/กฎหมายที่เกีย่ วข้อง 3 1.2 กฎกระทรวงการแบง่ สว่ นราชการ 6 1.3 แนวทางในอนาคตของสว่ นราชการ 9 1.4 การวเิ คราะหภ์ ารกจิ ของส่วนราชการ 17 2. เหตุผลความจาเป็นในการขอจดั ตง้ั ส่วนราชการ 19 2.1 บทบาทภารกิจท่เี พิ่มขึ้นตามกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค 23 2.2 บทบาทภารกิจทเ่ี กย่ี วข้องกบั สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 25 2.3 ข้อเสนอการถ่ายโอนภารกจิ ของหน่วยงาน (One-In, X-Out) 27 2.4 วิเคราะห์ปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก (External environment) 2.5 ปัญหาการดาเนนิ งาน หรอื การบริหารงานของกรม อันเน่อื งมาจาก 33 โครงสร้างส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม 94 2.6 การวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่และภารกจิ ของหนว่ ยงานในอนาคต 2.7 การเปลย่ี นแปลงระบบ และวิธกี ารทางาน เฉพาะหนว่ ยงานหรอในภาพรวมของกรม 108 111 3. ภารกิจของส่วนราชการท่ีจะมกี ารแบ่งส่วนราชการใหม่ 112 3.1 ขอบเขตหน้าที่และอานาจของสว่ นราชการระดบั กรม 117 3.2 แผนภูมกิ ารแบง่ สว่ นราชการภายในปจั จุบนั 3.3 การเปรยี บเทียบการแบ่งส่วนราชการทมี่ ีอยู่ในปจั จุบันและทีข่ อปรบั ปรุงใหม่ 134 3.4 หน้าท่คี วามรับผิดชอบของแตล่ ะส่วนราชการ 135 3.4.1 หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะสว่ นราชการในปัจจบุ นั 3.4.2 หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของส่วนราชการที่ขอปรับปรงุ เปรยี บเทยี บ 141 กับหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบในปัจจบุ ัน 163 164 4. อตั รากาลังเจ้าหน้าท่ี 165 4.1 กรอบอัตรากาลังเจ้าหนา้ ท่ีทีใ่ ชอ้ ยใู่ นปจั จุบัน 4.2 แผนภมู อิ ัตรากาลังท่ใี ช้อยู่ในปจั จุบนั และอตั รากาลงั ท่ีจะปรบั ปรุง กับการแบง่ สว่ นราชการในกรมใหม่ 5. ปริมาณงาน 6. ตวั ช้ีวัดและค่าเปา้ หมาย 7. คา่ ใชจ้ า่ ย 8. รา่ งกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการ ภาคผนวก  กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สคบ. พ.ศ. 2558  พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2522  พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545

 ตารางวิเคราะห์บทบาทภารกิจของ สคบ.  โครงสร้างคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของ สคบ.  แผนผงั แสดงความเชื่อมโยงของภารกจิ หน่วยงานกจิ กับแผนระดับต่าง ๆ  สถิตริ ับเรื่องร้องเรียนจากผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2560 – 2563  จานวนสถิติเร่ืองร้องทุกขแ์ ละการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทกุ ข์ ปงี บประมาณ 2559 -2563  ปริมาณการสง่ ตอ่ เรื่องร้องเรียนให้หน่วยงานภายนอกของ สคบ.  ผลประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส (ITA) ของ สคบ.  กระบวนการหลกั และกระบวนการสนับสนุนของ สคบ.  คมู่ ือการปฏิบัติงาน SOP และข้อตกลงการใหบ้ ริการ SLA ของ สคบ.  องค์กรผู้บรโิ ภคคุณภาพ  สถิตเิ กีย่ วกับการสง่ เสรมิ และพฒั นาเครือขา่ ยด้านการคุ้มครองผ้บู ริโภค

๑ แบบคาช้ีแจงประกอบการแบง่ สว่ นราชการภายในกรม สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค สานกั นายกรัฐมนตรี 1. การทบทวนบทบาท ภารกจิ ภาพรวมของส่วนราชการ 1.1 ที่มา/กฎหมายท่เี ก่ียวข้อง สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ก่อตั้งข้ึนเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 เป็นหน่วยงานซ่ึงมีฐานะเทียบเท่ากรม สังกัดสานัก นายกรัฐมนตรี ต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ คุ้มครองผูบ้ ริโภค (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2556 มอี านาจและหนา้ ท่ีตามพระราชบญั ญตั ิฯ 7 ประการ ดังน้ี 1. รับเร่ืองราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมาจาก การกระทาของผู้ประกอบธุรกิจ ผู้บริโภคที่ถูกเอารัดเอาเปรียบสามารถร้องทุกข์ต่อสานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคได้ เพ่ือขอรับการช่วยเหลือด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นสิทธิที่ผู้บริโภคพึงกระทาได้ และ เป็นการกระตุ้นเตือนให้ผู้ประกอบธุรกิจได้สานึกและบรรเทาการเอารัด เอาเปรียบต่อผู้บริโภค และช่วยให้ หน่วยงานทราบถงึ ปัญหาของผบู้ ริโภคและดาเนินการช่วยเหลือให้ผู้บริโภคได้รับการชดเชยเยียวยาอย่างเป็นธรรม โดยมีสายงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือ กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านโฆษณา กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านฉลาก กองคมุ้ ครองผบู้ ริโภคดา้ นสัญญา และกองกฎหมายและคดี 2. ติดตามและสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจ ซ่ึงกระทาการใด ๆ อันมี ลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค และจัดให้มีการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้าหรือบริการใด ๆ ตามท่ี เห็นสมควรและจาเป็นเพ่ือคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ซึ่งการเสนอขายสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ต่อผู้บริโภคมี จานวนมากและเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ โดยใช้วิธีการและเทคนิคใหม่ๆ ในทางการตลาด และทางการโฆษณาเพ่ือ สง่ เสริมการขาย โดยท่วั ไปผูบ้ ริโภคไมอ่ าจทราบสถานการณ์ทางการตลาดและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพและ ราคาของสินค้าและบริการได้อย่างถูกต้อง หน่วยงานจึงจาเป็นต้องมีบทบาทในการติดตาม และสอดส่อง พฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจ และดาเนินการทดสอบหรือพิสูจน์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้บริโภคให้ได้รับ ความเป็นธรรมตามความเหมาะสม 3. สนับสนุนหรือทาการศึกษาและวิจัยปัญหาเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับ สถาบันการศกึ ษาและหน่วยงานอื่น เพื่อทจ่ี ะไดด้ าเนนิ การช่วยเหลือผู้บรโิ ภคได้ตรงกบั ปัญหาและความต้องการ 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับการศึกษาเกี่ยวกับ ความปลอดภัยและอันตรายท่ีอาจได้รับจากสินค้าหรือบริการ ซ่ึงผู้บริโภคจะได้เรียนรู้และเข้าใจปัญหา ตลอดจนวิธีการปูองกันหรือหลีกเลี่ยง เพ่ือจะได้สามารถคุ้มครองตนเองได้ในเบ้ืองต้น นอกเหนือจากความ ช่วยเหลือจากรัฐบาล ดังน้ัน การส่งเสริมและการสนับสนุนให้มีการศึกษาแก่ผู้บริโภคในทุกระดับจึงเป็นหน้าท่ี ที่สาคญั ของหน่วยงาน 5. ดาเนินการเผยแพร่วชิ าการ และให้ความรู้และการศึกษาแก่ผู้บริโภค เพ่ือสร้างนิสัย ในการบริโภคที่เป็นการส่งเสริมพลานามัย ประหยัด และใช้ทรัพยากรของชาติให้เป็นประโยชน์มากที่สุด โดย เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคผ่านทางส่ือมวลชนอย่างต่อเนื่อง และ ผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร เอกสาร บทความ ข่าวสารด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และเป็นการส่งเสริมให้ ผู้บริโภคมีความรู้พื้นฐานในด้านต่าง ๆ ในการดารงชีวิตประจาวัน ซึ่งการเผยแพร่ความรู้ของ สคบ. ส่วนใหญ่ จะม่งุ เน้นเสนอขา่ วสารประโยชน์ดว้ ยถ้อยคาและภาษาทีเ่ ขา้ ใจง่ายและมีความร้ทู างวิชาการ

๒ 6. ประสานงานกับส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐท่ีมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับการ ควบคุมส่งเสริม หรือกาหนดมาตรฐานของสินค้าหรือบริการ การดาเนินการประสานงานกับส่วนราชการหรือ หน่วยงานอน่ื ในการคุ้มครองผบู้ ริโภคใหไ้ ด้รับความปลอดภัยและเปน็ ธรรมจากการซ้ือสนิ คา้ หรือบรกิ าร เช่น - กรณีสินค้าที่เป็นอันตราย อาหารผสมสีย้อมผ้า อาหารไม่บริสุทธิ์ หรือสินค้าท่ี ไม่ปลอดภัย อาหารมีสารบอแรกซ์เจือปน โดยประสานงานกับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงและดาเนินการตามท่ีเห็นสมควร - กรณสี นิ ค้าที่ไม่ไดค้ ุณภาพมาตรฐาน น้ามันปลอมปน สนิ ค้าเลียนแบบสินค้าทีไ่ ม่เปน็ ธรรม ขายสินค้าเกินราคา สินค้าที่มีปริมาณไม่ตรงตามมาตราช่ัง ตวงวัด จะประสานกับกรมการค้าภายใน กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และเจ้าหน้าที่ตารวจ กองบังคับการปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครอง ผบู้ ริโภค ดาเนนิ การตรวจสอบ จับกุม และดาเนนิ คดี - กรณีบริการที่เอาเปรียบผู้บริโภค โฆษณาสินค้าและบริการที่เป็นเท็จ หรือเกินจริง สนิ ค้าท่ีแสดงฉลากหลอกลวง คณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคจะกาหนดมาตรฐานในการดาเนินการเกี่ยวกับสินค้า หรือบริการเหลา่ น้ี และ สคบ. จะมหี นา้ ท่ตี ดิ ตาม สอดส่องพฤติการณข์ องผู้ประกอบธุรกจิ อยา่ งสม่าเสมอ 7. ปฏิบัติการตามท่ีคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองมอบหมาย และเป็น ประโยชนค์ ือ การแจ้งหรอื โฆษณาข่าวสารเกีย่ วกบั สินคา้ หรอื บริการท่อี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายหรือเส่ือมเสีย แก่สิทธิของผู้บริโภค การประสานงานกับพนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐให้ ปฏิบัติการตามอานาจและหน้าท่ีท่ีกฎหมายกาหนด การดาเนินคดีแพ่งและคดีอาญาแก่ผู้ประกอบธุรกิจที่ กระทาการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคในศาลตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย และฟูองเรียกทรัพย์สินหรือ ค่าเสยี หายใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภคทร่ี อ้ งขอได้ และสานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคยังมีกฎหมายที่เกยี่ วข้องต้องดาเนนิ การ ได้แก่ 1) พระราชบญั ญตั ิขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2560 โดยอยู่ในอานาจหน้าท่ีของกองคุ้มครองผู้บริโภคด้านธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง เพื่อ คุ้มครองผู้บริโภคจากผู้ประกอบธุรกิจท่ีเสนอขายสินค้า หรือบริการแก่ผู้บริโภคโดยตรงในการกาหนดหลักเกณฑ์ ในการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงให้มีความชัดเจนและเหมาะสม อันจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค มิให้ต้องตกเป็นฝุายเสียเปรียบในการซ้ือขายสินค้าหรือบริการ และเพื่อให้มีหลักประกันว่าผู้บริโภคจะได้รับ ความค้มุ ครอง หากผู้บรโิ ภคได้รับความเสียหายอันเกิดจากการท่ีผู้ประกอบธุรกจิ ไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ซึ่งคุณสมบัติของผู้ขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงซ่ึงต้องเป็นห้างหุ้นส่วน จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชนจากัด และหน้าท่ีของผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ตลาดแบบตรงตอ้ งมกี ารวางหลักประกันตามพระราชบญั ญัติน้ี รวมทั้ง การแจ้งให้นายทะเบียน ทราบเมื่อมีการย้ายสานักงาน ต้องส่งรายงานเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจต่อนายทะเบียน และการจัดทา เอกสารการซือ้ ขายสินค้าหรอื บริการ และกาหนดหลักเกณฑ์การโอนกจิ การและการเลิกประกอบธุรกิจขายตรง หรือตลาดแบบตรง ตลอดจนกาหนดเหตุเพิกถอนทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง ใหช้ ดั เจน และปรับปรุงกาหนดโทษให้มคี วามเหมาะสม 2) พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจากสินค้าไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 กาหนดขอบเขตเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายที่เกิดจากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย เนื่องจาก สินค้าในปัจจุบันไม่ว่าจะผลิตภายในประเทศหรือนาเข้า มีกระบวนการผลิตท่ีใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสูงข้ึนเป็นลาดับ การที่ผู้บริโภคจะตรวจพบว่าสินค้าไม่ปลอดภัยกระทาได้ยาก เมื่อผู้บริโภคนา

๓ สินค้าท่ีไม่ปลอดภัยไปใช้อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ หรือทรัพย์สิน ของ ผู้บริโภคหรือบุคคลอื่นได้ แต่การฟูองคดีในปัจจุบันเพ่ือเรียกค่าเสียหายมีความยุ่งยาก เนื่องจากภาระในการ พิสูจน์ถึงความจงใจหรือประมาทเลินเล่อในการกระทาผิดของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้า ตกเป็นหน้าที่ของผู้ได้รับ ความเสียหายตามหลักกฎหมายท่ัวไปเพราะยังไม่มีกฎหมายให้ความคุ้มครองผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายที่ เกิดจากสินค้า โดยมีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในความเสียหายของผู้ผลิตหรือผู้เก่ียวข้องไว้โดยตรง โดยนาหลักความรับผิดโดยเคร่งครัดมาใช้ ซึ่งมีผลทาให้ผู้เสียหายไม่ต้องพิสูจน์ความไม่ปลอดภัยของสินค้า ตลอดจนไดร้ ับการชดใช้ค่าเสียหายท่ีเป็นธรรม 3) พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไข เพ่ิมเติม เพื่อให้ผู้บริโภคท่ีได้รับความเสียหายได้รับการแก้ไขเยียวยาด้วยความรวดเร็ว ประหยัดมีประสิทธิภาพ อันเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค โดยในปัจจุบันระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมีการนา ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการมากข้ึน ในขณะที่ผู้บริโภคส่วน ใหญ่ยังขาดความรู้ในเรื่องของคุณภาพสินค้าหรือบริการตลอดจนเทคนิคการตลาดของผู้ประกอบธุรกิจ ท้ังยัง ขาดอานาจต่อรองในการเข้าทาสัญญาเพื่อให้ได้มาซ่ึงสินค้าและบริการ ทาให้ผู้บริโภคถูกเอารัดเอาเปรียบ อยู่เสมอ เมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้นกระบวนการในการเรียกร้องค่าเสียหายต้องใช้เวลานานและ สร้างความยุ่งยากให้แก่ผู้บริโภคท่ีจะต้องพิสูจน์ถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซ่ึงไม่อยู่ในความรู้เห็นของตนเอง อีกท้ัง ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีสูง ผู้บริโภคจึงตกอยู่ในฐานะท่ีเสียเปรียบจนบางครั้งนาไปสู่การใช้วิธีการ ท่ีรุนแรงและก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างผู้ประกอบธุรกิจกับกลุ่มผู้บริโภคท่ีไม่ได้รับความเป็นธ รรม อันสง่ ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ และไดม้ ีการกาหนดให้มูลนิธิที่คณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภครับรองมีสิทธิฟูองคดีแพ่ง คดีอาญา และดาเนินกระบวนการพิจารณาใด ๆ ในคดี เพื่อคุ้มครอง ผบู้ ริโภคทเี่ ป็นประโยชน์ต่อผ้บู ริโภคโดยส่วนรวมตามทีค่ ณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคกาหนดแทนผู้บรโิ ภคได้ 4) พระราชบัญญัติการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ. 2562 เนื่องจาก มาตรา 46 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้สิทธิของผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครอง บุคคลย่อมมีสิทธิ รวมกันจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภคเพื่อคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค และองค์กรของผู้บริโภคดังกล่าว มีสิทธิรวมกันจัดต้ังเป็นองค์กรท่ีมีความเป็นอิสระเพ่ือให้เกิดพลังในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค โดยได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ทั้งน้ี หลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ัง อานาจในการเป็นตัวแทนของผู้บริโภค และ การสนับสนนุ ด้านการเงินจากรฐั ให้เปน็ ไปตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ ทงั้ นี้ ในส่วนพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติการจัดต้ังสภา องค์กรของผู้บริโภค พ.ศ. 2562 เป็นกฎหมายท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผูบ้ ริโภค แตไ่ มไ่ ดก้ าหนดบทบาทหน้าที่เฉพาะของ สคบ. ทั้งนี้ หากมีการเสนอประเด็น ปรับปรุง แก้ไข เพ่ิมเติม สคบ. จะเป็นผูด้ าเนินการตามกฎหมายดังกล่าว 1.2 กฎกระทรวงการแบง่ ส่วนราชการ ปัจจุบันสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีการแบ่งขอบเขตการดาเนินงานตาม กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2558 ให้ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค มีภารกิจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคโดยการส่งเสริมและคุ้มครอง

๔ สิทธิของผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาสิทธิประโยชน์ของตน และได้รับความ ปลอดภยั และความเป็นธรรมจากการซื้อขายและการทาสัญญากับผู้ประกอบธุรกิจ รวมท้ัง ได้รับการพิจารณา และชดเชยความเสียหายจากการละเมิดตามกฎหมายโดยมอี านาจหนา้ ที่ ดังน้ี 1. ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายว่าด้วยการขายตรงและ ตลาดแบบตรง และกฎหมายอนื่ ท่เี กย่ี วข้อง 2. เสนอแนะการกาหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคต่อคณะกรรมการ คมุ้ ครองผบู้ ริโภคและคณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง 3. ดาเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค คณะกรรมการ ขายตรงและตลาดแบบตรง คณะกรรมการเฉพาะเรอ่ื ง และคณะอนุกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง ผู้บริโภคและกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง 4. เปน็ ศนู ยข์ อ้ มูลขา่ วสารเกย่ี วกบั การคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค 5. ปฏิบัติการอ่ืนตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของสานักงาน หรือตามท่ี นายกรัฐมนตรีหรอื คณะรฐั มนตรีมอบหมาย ท้ังนี้ มีการแบง่ ส่วนราชการตามกฎกระทรวง ประกอบด้วย เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภค รองเลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยงานระดับสานัก ระดับกอง และระดับกลุ่ม ภายใต้ กรอบอัตรากาลัง ข้าราชการ จานวน 153 อัตรา พนักงานราชการ จานวน 130 อัตรา และลูกจ้างประจา 2 อตั รา 1) หนว่ ยงานระดบั สานัก จานวน 3 สานัก ได้แก่ 1.1 สานกั แผนและการพฒั นาการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค 1.2 สานกั งานเลขานกุ ารกรม 1.3 กองกฎหมายและคดี 2) หนว่ ยงานระดับกอง จานวน 5 กอง ไดแ้ ก่ 2.1 กองคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นสัญญา 2.2 กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านฉลาก 2.3 กองคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นโฆษณา 2.4 กองคุม้ ครองผ้บู ริโภคด้านธรุ กจิ ขายตรงและตลาดแบบตรง 2.5 กองเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ 3) หน่วยงานระดบั กลมุ่ จานวน 2 กลุม่ ได้แก่ 3.1 กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร 3.2 กล่มุ ตรวจสอบภายใน มีโครงสร้างคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีจานวนทง้ั ส้ิน 44 คณะ ประกอบดว้ ย คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค จานวน 1 คณะ ส่วนกลาง จานวน 33 คณะ ไดแ้ ก่ กองค้มุ ครองผู้บริโภคด้านฉลาก จานวน 6 คณะ 1. คณะกรรมการวา่ ดว้ ยฉลาก 2. คณะกรรมการวา่ ด้วยความปลอดภยั ของสินคา้ และบรกิ าร

๕ 3. คณะอนุกรรมการพจิ ารณากล่ันกรองเร่ืองราวรอ้ งทุกข์จากผบู้ รโิ ภคด้านสินค้าและบรกิ ารทวั่ ไป 4. คณะอนุกรรมการไกลเ่ กลี่ยเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์จากผู้บรโิ ภค ชดุ ท่ี 3 (ด้านฉลาก) 5. คณะอนุกรรมการไกลเกลีย่ เรอ่ื งราวร้องทุกข์จากผ้บู รโิ ภคดา้ นยานยนต์ 6. คณะอนุกรรมการพจิ ารณาสนิ ค้าและบรกิ ารท่ีอาจเป็นอันตรายแกผ่ ูบ้ รโิ ภค กองคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคด้านโฆษณา จานวน 8 คณะ 1. คณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณา 2. คณะอนุกรรมการพิจารณากลัน่ กรองเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคด้านโฆษณาและบริการ 3. คณะอนุกรรมการไกลเ่ กลย่ี เรื่องราวร้องทุกขจ์ ากผูบ้ รโิ ภคชุดที่ 4 (ด้านโฆษณา) 4. คณะอนุกรรมการไกลเกลี่ยเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคด้านการใช้บริการเวชกรรม ทนั ตกรรม และสถานเสริมความงาม 5. คณะอนุกรรมการศึกษาแนวทางการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภค (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 6. คณะอนุกรรมการตดิ ตามสอดสอ่ งและวนิ ิจฉยั การโฆษณา 7. คณะอนุกรรมการปูองกันหรือระงับยับยั้งความเสียหายหรืออันตรายอันจะเกิดข้ึนแก่ ผู้บรโิ ภค 8. คณะอนุกรรมการศึกษาแนวทางการควบคุมการโฆษณาวัตถุมงคล กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นสญั ญา จานวน 6 คณะ 1. คณะกรรมการวา่ ด้วยสญั ญา 2. คณะอนกุ รรมการพจิ ารณากลนั่ กรองเร่ืองราวร้องทกุ ข์จากผู้บรโิ ภคด้านอสังหาริมทรัพย์ 3. คณะอนกุ รรมการไกล่เกลยี่ เร่ืองราวรอ้ งทุกขจ์ ากผู้บริโภค ชุดที่ 1 (ด้านสญั ญา) 4. คณะอนุกรรมการไกลเ่ กลย่ี เรอ่ื งราวร้องทุกข์จากผบู้ รโิ ภค ชุดท่ี 2 (ดา้ นสญั ญา) 5. คณะอนกุ รรมการศึกษาและพจิ ารณาข้อสญั ญาและรายการในหลักฐานการรบั เงิน 6. คณะอนุกรรมการตรวจสอบแบบสญั ญาหรอื แบบหลักฐานการรบั เงนิ กองคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคด้านธุรกจิ ขายตรงและตลาดแบบตรง จานวน 6 คณะ 1. คณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง 2. คณะกรรมการคดั เลอื กผแู้ ทนสมาคมหรอื มลู นิธิ 3. คณะอนุกรรมการพิจารณาจัดทารา่ งกฎ ระเบียบ 4. คณะอนุกรรมการกากบั ดแู ลประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง 5. คณะอนุกรรมการตดิ ตามสอดส่องและวนิ ิจฉัยโฆษณาด้านการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง 6. คณะอนุกรรมการไกล่เกลี่ยเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภค ชุดท่ี 5 (ด้านธุรกิจขายตรง และตลาดแบบตรง) กองกฎหมายและคดี จานวน 3 คณะ 1. คณะอนุกรรมการฝุายกฎหมาย 2. คณะอนุกรรมการดาเนนิ คดีแพ่งแก่ผู้กระทาการละเมดิ สิทธขิ องผูบ้ ริโภค 3. คณะอนุกรรมการพิจารณากล่ันกรองการฟูองคดตี าม มาตรา 39 แหง่ พระราชบญั ญัติ คุ้มครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522

๖ กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ จานวน 1 คณะ 1. คณะอนุกรรมการเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ สานักแผนและการพฒั นาการคุ้มครองผ้บู ริโภค จานวน 3 คณะ 1. คณะทางานขับเคลื่อนและทบทวนแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2560 - 2564) 3. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนภารกจิ การคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค ตามแผนปฏิบตั กิ ารเชงิ ยุทธศาสตร์ ของอาเซยี น ส่วนภูมิภาค จานวน 6 คณะ ได้แก่ สานักประสานและส่งเสรมิ การคุม้ ครองผบู้ ริโภคจังหวดั 1. คณะอนกุ รรมการพิจารณากล่ันกรองเร่ืองราวรอ้ งทุกขจ์ ากผู้บรโิ ภคในส่วนภมู ิภาค 2. คณะอนุกรรมการไกลเ่ กล่ียเรอ่ื งราวร้องทุกขจ์ ากผบู้ ริโภคชดุ ที่ 6 (สว่ นภูมภิ าค) 3. คณะอนกุ รรมการไกลเ่ กล่ยี เรือ่ งราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคประจาจงั หวัด 4. คณะอนกุ รรมการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภคประจาจงั หวัด 5. คณะอนุกรรมการผู้มีอานาจเปรียบเทียบความผิดท่ีเกิดขึ้นในจังหวัดอ่ืนนอกจาก กรุงเทพมหานคร 6. คณะอนกุ รรมการไกล่เกลยี่ เรื่องราวรอ้ งทุกขจ์ ากผูบ้ ริโภคประจาอาเภอ ส่วนท้องถนิ่ จานวน 4 คณะ ได้แก่ 1. คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจากรุงเทพมหานคร 2. คณะอนุกรรมการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค ประจาเมอื งพทั ยา จังหวัดชลบรุ ี 3. คณะอนุกรรมการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคประจาเทศบาล 4. คณะอนุกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคประจาองค์การบริหารส่วนตาบล 1.3 แนวทางในอนาคตของสว่ นราชการ สานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผูบ้ ริโภค มีแนวทางวา่ ในอนาคตสานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครอง ผู้บริโภค ต้องการเป็นหน่วยงานใน รูปแบบปฏิบัติ (Operator) โดยส่วนใหญ่ สอดคล้องตามพระราชบัญญัติ ค้มุ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 โดยดารงอยู่เพื่อ คุ้มครองผู้บริโภคในภาพรวมระดับประเทศและต่างประเทศ และเป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสารด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภค และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด ที่มุ่งเน้นการ บริหารงานเชิงนโยบายของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค การบริหารงานเชิงบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ และการบริหารงานด้านการให้บริการ ตลอดจนการแก้ไขกฎหมายท่ีไม่ เป็นธรรม ปรับปรุงระบบและกลไกในการคุ้มครองผู้บริโภคเทียบเท่าสากล สนับสนุนองค์กรของผู้บริโภคให้มี ความเข้มแข็ง ปูองกันการละเมิดสิทธิผู้บริโภคและอานวยความยุติธรรมแก่ผู้บริโภคสนับสนุนการบริโภคอย่าง ยั่งยืน ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีบทบาทในการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้ง การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง บูรณาการโดยยุทธศาสตร์ชาติ/เช่ือมโยง พัฒนาทกุ ระดับขนาดเลก็ /เหมาะสมกบั ภารกิจ ทันสมยั /มีขีดสมรรถนะสงู โปร่งใส/ปลอดทจุ ริตประพฤติมิชอบ

๗ บุคลากรเป็นคนดีคนเก่ง/มืออาชีพ กฎหมายเหมาะสมกับบริบท กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิเสมอภาค เพ่อื ใหผ้ ู้บรโิ ภคไดร้ บั การค้มุ ครองอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทวั่ ถึงและไดร้ บั การชดเชย เยียวยาอย่างเป็นธรรม 1. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล บูรณาการข้อมูลประชาชนจัดทา e-Government Act ในการเพ่ิมประสิทธิภาพภาครัฐโดยการเชื่อมโยงข้อมูล (Smart Service) และบูรณาการข้อมูล (Business Data Integration) เพื่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้ข้อมูลร่วมกันของส่วนราชการให้เกิดความรวดเร็วและ สะดวกแก่ประชาชนผู้รับบริการภาครัฐ ภายใต้แผนงานการเช่ือมโยงข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับ 28 หนว่ ยงาน (Linkage OCPB) 2. ด้านยุทธศาสตร์และแผนงาน จัดทาแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ เพ่ือเป็น แนวทางในการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศ ท่ีมุ่งเน้นการบูรณาการกับทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับ การคุ้มครองผ้บู ริโภค เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กร และภาคีเครือข่าย การดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคเพ่ือขจัด ปัญหาการละเมิดสิทธิผู้บริโภค สร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้สามารถดาเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเปูาหมายเพ่ือให้เกิดแนวทางการบูรณาการงานคุ้มครองผู้บริโภค ในประเทศท่ีเป็นระบบ มีมาตรฐาน และเพื่อให้เกิดการคุ้มครองผู้บริโภคที่มีความต่อเน่ือง มั่นคง และยั่งยืน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับประโยชน์อย่างสมดุลและเป็นธรรม ส่งผลให้การดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของภาคี เครือข่ายต่าง ๆ เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ ู้บรโิ ภค 3. ด้านกฎหมาย การปรับปรุง แก้ไข เพ่ิมเติม กฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ. 2562 และได้มีผลบังคับ ใช้ ส่งผลให้หน่วยงานมีภารกิจที่มีกฎหมายรองรับในการปฏิบัติงานในอนาคตท่ีชัดเจน และมีอานาจหน้าท่ี เพิม่ เติมในปริมาณท่เี พมิ่ มากขึ้น ไดแ้ ก่ 3.1 การปรบั องค์ประกอบของคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 3.2 การวนิ ิจฉัยชีข้ าด 3.3 เลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคมีอานาจฟูองคดีแทนผู้บริโภค 3.4 การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคดา้ นความปลอดภัยของสินค้าและบริการ 3.5 การเพ่ิมอัตราโทษปรับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค และกาหนดให้องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ สามารถดาเนินการเปรียบเทยี บความผดิ ได้ 3.6 การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการรวมตัวกันของผู้บริโภคในการจัดตั้ง องค์กรของผู้บริโภค และส่งเสริมองค์กรของผู้บริโภคในการรักษาสิทธิของผู้บริโภคตามแผนยุทธศาสตร์การ คมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค 4. ดา้ นการบูรณาการ 4.1 จัดทา Big Project ซ่ึงหน่วยงานมีแนวทางในการดาเนินการตามโครงการบูรณาการ ระหว่างหน่วยงาน (Big Project) เพ่ือศึกษา วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ตาม แนวทางการบรู ณาการในดา้ นต่าง ๆ ร่วมกับหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกท่ีเกี่ยวข้อง เช่น การเฝูา ระวัง การพิสูจน์ทดสอบ การแจ้งเตือนภัย การเรียกคืนสินค้า การบริหารจัดการการซ้ือ-ขายสินค้าออนไลน์ เพ่ือนามาพัฒนากระบวนการทางานให้มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 และการจัดทาแผนในการหารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้องร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม สถานศึกษา และต่างประเทศ เพ่ือนาเสนอต่อผู้บริหารและคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผน

๘ ยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติเพื่อพิจารณาเห็นชอบ และนาไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตอ่ ไป 4.2 สร้างความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค มีการดาเนินงานในภารกิจความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ภายใต้ข้อบท ข้อตกลง และ พันธกิจระหว่างประเทศ ในระดับโลก อาเซียน ภูมิภาค พหุภาคี ทวิภาคี เพ่ือให้ “การขับเคล่ือนและดาเนินงาน ตามความร่วมมือให้สัมฤทธิ์ผลตามแผน” จานวน 19 ภารกิจ เป็นไปตามภารกิจตามกฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 มติคณะรัฐมนตรี และแผนงานของส่วนราชการ ในระดบั ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 4.3 สร้างและพัฒนาเครือข่าย กาหนดแนวทางและวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนา เครือข่ายทุกภาคส่วนตามแผนพัฒนาเครือข่ายของหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพ่ือให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม สถานศึกษา ต่างประเทศ รวมถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีการสร้างแนวทาง หรือวิธีการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการส่งเสริมให้ความรู้กระบวนการทางาน ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเบ้ืองต้น และสร้างความเข้มแข็ง และยั่งยืนทม่ี ีความครอบคลุมทัว่ ถึงในระดับประเทศ และเป็นการปูองกันการละเมิดสิทธิผู้บริโภค สามารถอานวย ความสะดวกความยุติธรรมให้แก่ผู้บริโภคได้ ในการมีบทบาทการคุ้มครองผู้บริโภคอย่ างเป็นรูปธรรมและ มีประสทิ ธภิ าพ 5. ด้านการอานวยความสะดวกและเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร 5.1 การไกล่เกล่ียออนไลน์ กระบวนการไกล่เกลี่ยออนไลน์ หน่วยงานได้เล็งเห็นปัญหา และอปุ สรรคของกระบวนการไกลเ่ กล่ยี ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ในข้ันตอนท่ียุ่งยาก ซับซ้อน และระยะเวลา ทาให้หน่วยงานต้องมีการศึกษาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อมาช่วยอานวยความ สะดวกให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยระบบไกล่เกลี่ยออนไลน์ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานไดม้ กี ารจัดทาและพัฒนาระบบไกล่เกลี่ยออนไลน์ เพื่อให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ไม่สะดวก เดินทางหรืออยู่ในระยะทางไกลสามารถเข้าสู่กระบวนการไกลเกลี่ยออนไลน์ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว ใน ทุกสถานที่ รวมทง้ั มีกระบวนการในการยนื ยันตัวตน และรบั ทราบข้อมลู ผา่ นระบบทค่ี รอบคลุม โดยจาเป็นต้องมี การพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง 5.2 จัดทาฐานข้อมูลด้านสินค้าอันตรายทั้งในประเทศและต่างประเทศ การศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ในต่างประเทศ เพื่อจัดทาเป็นฐานข้อมูลสินค้าอันตรายโดยมีรูปแบบ ท้ังในภาษาไทยและต่างประเทศ เพ่ือเป็นฐานข้อมูลสาหรับสืบค้น เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชน ทุกกลมุ่ เปาู หมาย ได้รบั ร้แู ละรบั ทราบถงึ ข้อมลู สนิ คา้ ประเภทต่าง ๆ อย่างครอบคลุม และเป็นการปูองกันก่อน การเลอื กซอื้ สนิ ค้าและบริการประเภทตา่ ง ๆ ซงึ่ มกี ารพฒั นาฐานขอ้ มลู ข่าวสารอยา่ งตอ่ เนื่อง 5.3 การจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง สานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้มีการดาเนินการร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. ในการตกลงความร่วมมือในการ อานวยความสะดวกให้ประชาชนในการติดต่อราชการแบบเบ็ดเสร็จ ตาม พ.ร.บ. การอานวยความสะดวกใน การพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 โดยมีการเช่ือมโยงข้อมูลการให้บริการผ่านระบบของศูนย์ รบั คาขออนุญาตเก่ยี วกบั การจดทะเบยี นการประกอบธรุ กิจขายตรงและตลาดแบบตรง เพ่ือให้เกิดการบริการท่ี รวดเร็ว ชว่ ยอานวยความสะดวกแก่ผูใ้ ช้บรกิ าร ลดความซ้าซ้อน ลดขน้ั ตอนทีย่ ุ่งยาก และง่ายต่อการติดต่อของ ผู้ประกอบธุรกิจ และปัจจุบันได้ดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 2 เมษายน 2562 ในการพัฒนา งานบริการภาครัฐให้เป็นระบบการให้บริการผ่านอิเล็กทรอนิกส์ และการออกเอกสารของทางราชการผ่านระบบ

๙ ดิจิทัลให้มีมาตรฐานเดียวกัน ประกอบในอนาคตสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ระหว่างการ จัดทาระบบจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง เพ่ือสนับสนุนบทบาทด้านการ จดทะเบยี นการประกอบธุรกจิ ขายตรงและตลาดแบบตรงในการขึ้นทะเบียนผปู้ ระกอบธรุ กจิ แบบเบ็ดเสรจ็ 5.4 การปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน หน่วยงานได้มีการดาเนินการทบทวนบทบาท ภารกิจ และการปรับปรุง แก้ไข เพ่ิมเติมกฎหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือให้การปฏิบัติงานของ ส่วนราชการมีความครอบคลุม โดยได้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในกรม เพ่ือให้การ บริหารราชการภายในส่วนราชการมีความคล่องตัว รวดเร็ว ตอบสนองต่อประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบายและภารกิจท่ีมีความสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนบริบทการเปล่ียนแปลงของโลก และแนวโน้มที่สาคัญในอนาคต มุ่งหมายให้องค์กรภารรัฐมีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบทการพัฒนา ประเทศ สามารถปรับตัวเข้าสู่การเป็นองค์กรสมัยใหม่ นาไปสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง สามารถ ปฏิบัตงิ านเทยี บได้กบั มาตรฐานสากล 1.4 การวเิ คราะหภ์ ารกิจของส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้ดาเนินการวิเคราะห์ภารกิจหลักและภารกิจรอง ของส่วนราชการที่สอดคล้องตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบญั ญัตขิ ายตรงและตลาดแบบตรงพ.ศ.2545 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม และแผนปฏิรูปองค์การของสานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยเรียงลาดับตามความสาคัญแบ่งออกเป็น ภารกิจหลัก 9 ภารกิจ และ ภารกจิ รอง 7 ภารกจิ ดงั น้ี ภารกิจหลกั 9 ภารกิจ ลกั ษณะงาน ลกั ษณะการ เหตุผล 1. ภารกิจรับคาร้องทุกข์/ให้คาปรึกษา/แก้ไข ภารกจิ เดิม ดาเนนิ งาน ปัญหา เกี่ยวกับ พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค และ เป็นภารกิจท่ตี ้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ พรบ. ขายตรงและตลาดแบบตรง และยัง ทาเอง ภายใตก้ องคุ้มครองผู้บริโภคด้านฉลาก ด้าน ดาเนนิ การ โฆษณา ดา้ นสัญญา ด้านธุรกิจขายตรงและตลาด 1.1 งานรบั คาร้องทุกขแ์ ละใหค้ าปรึกษา ทาเอง แบบตรง สานักงานเลขานุการกรม และสานัก 1.2 งานเจรจาไกล่เกลีย่ แกไ้ ขปัญหา ภารกจิ เดิม ประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคจังหวัด เร่อื งราวร้องทกุ ข์ผูบ้ รโิ ภค และมี เปน็ ภารกจิ งานตามพรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. บทบาท 2522 และพรบ.ขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2. ภารกิจตรวจสอบ ควบคมุ ผ้ปู ระกอบ 2545 ต้องเปน็ พนักงานเจ้าหนา้ ทีต่ ามกฎหมาย ธรุ กิจ ตาม พรบ. คุ้มครองผูบ้ รโิ ภค ดาเนินการ กาหนด (มาตรา 5) และต้องใชบ้ ุคลากรที่มีความรู้ เพ่ิมขึ้น ความสามารถเฉพาะด้าน รวมท้งั มีรูปแบบ 2.1 งานสบื สวนสอบสวน แสวงหา คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการต่าง ๆ ชัดเจน ข้อเทจ็ จริง และรวบรวมพยานหลกั ฐาน เพ่ือแก้ไขปญั หาด้านการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 2.2 งานตรวจคน้ เปน็ ภารกิจทต่ี ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ 2.3 งานตรวจสอบ ภายใตก้ องคุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก ด้าน โฆษณา ดา้ นสัญญา ด้านธุรกิจขายตรงและตลาด แบบตรง และสานักประสานและส่งเสริมการ คุม้ ครองผบู้ รโิ ภคจังหวัด โดยภารกจิ งานตรวจสอบ ควบคุม ผู้ประกอบธรุ กิจ ต้องเปน็ พนักงาน

๑๐ ภารกจิ หลกั 9 ภารกิจ ลกั ษณะงาน ลกั ษณะการ เหตผุ ล ดาเนินงาน 2.4 งานยดึ /อายดั ภารกิจเดิม เจา้ หน้าทต่ี ามกฎหมายกาหนด (มาตรา 5) และ 2.5 งานตดิ ตาม และสอดส่องพฤตกิ ารณ์ และมี ทาเอง ตอ่ มาได้มีการปรับปรุง พรบ.คุ้มครองผูบ้ รโิ ภค ของผ้ปู ระกอบธรุ กิจ บทบาท (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 เพิ่มเติม ในสว่ นการ 2.6 งานทดสอบหรือพิสจู น์สนิ คา้ หรือ คุม้ ครองผ้บู รโิ ภคด้านความปลอดภัย (มาตรา บรกิ ารใดเพ่ือค้มุ ครองสิทธผิ ู้บริโภค ดาเนนิ การ 29/1 – 29/17) ซ่ึงปัจจบุ นั ส่วนเฝูาระวังสนิ ค้า เพิ่มขึ้น และบริการ กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภคด้านฉลากเป็น 3. ภารกิจการบังคับใชก้ ฎหมาย ตาม พรบ. ผู้รบั ผดิ ชอบดาเนินการ คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค และพรบ. ขายตรงและ ตลาดแบบตรง เปน็ ภารกจิ ทต่ี ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ ภายใต้กองกฎหมายและคดี โดยงานดาเนินคดี 3.1 งานดาเนนิ คดีแทนผู้บรโิ ภค อยู่ในอานาจของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 3.2 งานบังคับคดีตามคาพิพากษาแทน ดาเนินคดีตามมาตรา 39 ต่อมาได้มีการปรบั ปรุง ผ้บู รโิ ภค พรบ.คุ้มครองผบู้ ริโภค (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 3.3 งานดาเนินคดอี าญา เพ่ิมเติม ดังน้ี 3.4 งานออกมาตรการทางปกครอง 3.5 งานรบั รองสมาคมและมลู นิธิ ตาม 1. ให้เลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค มีอานาจดาเนินคดีเกีย่ วกับการละเมิดสทิ ธขิ อง ผ้บู ริโภคแทนผู้บรโิ ภคได้ หรืออาจมอบหมาย เจ้าหน้าท่ตี าม พรบ.คุม้ ครองผู้บรโิ ภคดาเนินคดีใน ศาลแทนตามมาตรา 39 2. การเพิ่มอตั ราโทษปรบั ตาม พรบ.คมุ้ ครอง ผบู้ ริโภค และกาหนดให้องค์กรปกครองสว่ น ท้องถิ่นสามารถดาเนินการเปรียบเทยี บความผดิ ได้ (มาตรา 63) แต่ สคบ. ยงั มีความจาเปน็ ต้อง ใช้เจ้าหน้าทต่ี าม พรบ.คุม้ ครองผู้บริโภค เพือ่ กากับดูแล ควบคุม การดาเนินงานคมุ้ ครอง ผบู้ รโิ ภคในส่วนภูมภิ าคในการสรา้ งความรู้ความ เขา้ ใจเกยี่ วกับแนวทางการดาเนนิ งานร่วมกับ อปท. เพ่ือบูรณาการและประสานงานร่วมกนั 3. การบังคบั ใช้กฎหมายเกี่ยวกบั การค้มุ ครอง ผบู้ รโิ ภค มาตรา 10 (9/3) คณะกรรมการ ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคมอี านาจพิจารณาวินจิ ฉัยชี้ขาด ตามมาตรา 21 วรรคสอง 4. การรับรองสมาคมและมูลนิธิเป็นอานาจของ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคให้การรับรอง เพ่ือให้สมาคมและมูลนิธิมีสิทธิและอานาจฟูอง ตามมาตรา 41 ได้

๑๑ ภารกจิ หลกั 9 ภารกจิ ลกั ษณะงาน ลักษณะการ เหตผุ ล ภารกิจเดิม ดาเนนิ งาน 4. ภารกิจพัฒนากฎหมาย เปน็ ภารกิจท่ตี ้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ 4.1 งานจัดทาแผนพัฒนากฎหมายระยะ และยงั ทาเอง ภายใต้กองกฎหมายและคดี โดยตอ้ งมีการทบทวน ดาเนินการ พฒั นา ปรับปรุง หรือยกเลิก เก่ยี วกับกฎหมายว่า 4 ปี และแผนการพัฒนากฎหมายรายปีท้ัง ทาเอง ดว้ ยการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายวา่ ด้วยขายตรง กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ และกฎหมาย ภารกจิ เดิม และตลาดแบบตรง และกฎหมายอื่นท่เี ก่ยี วข้อง ลาดบั รอง และมี อย่างต่อเน่ืองและทนั ต่อสถานการณ์ เปน็ ตาม บทบาท มาตรา 10 (9/1) และ (9/2) ประกอบกับการ 4.2 งานจัดทา แก้ไข ปรับปรุง ทบทวน พัฒนาฐานข้อมลู กฎหมายที่เป็นปัจจบุ นั และยกเลิกกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ดาเนนิ การ และกฎหมายลาดับรอง เพ่ิมขึน้ เป็นภารกิจที่ต้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ ภายใตส้ านักแผนและการพัฒนาการคุม้ ครอง 4.3 งานจัดทาฐานข้อมูลกฎหมาย ผบู้ ริโภค โดยมบี ทบาทภารกิจท่ีเพ่ิมขึ้นท่ี 5. ภารกิจยทุ ธศาสตร์ และนโยบายด้านการ จาเปน็ ต้องจดั ทาแผนยุทธศาสตรก์ ารคุ้มครอง คุ้มครองผ้บู ริโภค ผบู้ รโิ ภคในภาพรวมของประเทศโดยมีการบูรณา การการทางานร่วมกับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องตาม 5.1 งานจัดทาแผน และขบั เคล่ือน แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผ้บู ริโภค เพื่อใหก้ าร ยุทธศาสตร์ดา้ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภค และ คุม้ ครองผบู้ รโิ ภคในภาพรวมของประเทศมี การบรู ณาการร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ประสทิ ธิภาพอย่างย่ังยืน ตามพรบ.คุ้มครองผบู้ รโิ ภค 2522 และท่ีแก้ไข 5.2 งานติดตาม ประเมินผล และวิเคราะห์ เพ่ิมเติม เกี่ยวกับบทบาทภารกิจที่เพ่มิ ขึน้ ขอ้ มูลในการวางยุทธศาสตร์และนโยบาย - มาตรา 10 (8/1) กาหนดให้หนว่ ยงานมีหน้าที่ บทบาทหลกั ในการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์การ ค้มุ ครองผู้บรโิ ภคใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรที เี่ ก่ียวกับ การคุ้มครองผู้บริโภค หรือมาตรฐานการคุ้มครอง ผบู้ ริโภคสากล - มาตรา 10 (9/1) เสนอความเห็นต่อ ครม. เพ่ือให้มีการตรากฎหมาย แก้ไข หรือปรับปรุง กฎหมายหรือกฎเก่ียวกับการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคให้ สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ผบู้ ริโภค - มาตรา 10 (9/2) เสนอความเห็นต่อสว่ น ราชการ หน่วยงานอน่ื ของรฐั หรือองค์กร เพื่อ จดั ทา ทบทวน ประเมิน หรือปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการปฏิบัตริ าชการหรือดาเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค

๑๒ ภารกจิ หลกั 9 ภารกิจ ลักษณะงาน ลกั ษณะการ เหตุผล ดาเนินงาน 6. ภารกิจดา้ นตา่ งประเทศ ภารกจิ เดิม เป็นภารกิจท่ีต้องดาเนินการโดยส่วนราชการ 6.1 งานนโยบายและยุทธศาสตร์ระหว่าง และมี ทาเอง ภายใต้สานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครอง บทบาท ผบู้ รโิ ภค ส่วนความรว่ มมือกับต่างประเทศ ประเทศ 1. งานนโยบายและยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศ 6.2 งานวิเทศสัมพนั ธ์ ดาเนินการ หนว่ ยงานจาเป็นต้องมีการเสนอแนะ นโยบาย 6.3 งานเยยี วยาผู้บรโิ ภคข้ามแดน เพ่ิมขนึ้ กรอบทิศทาง รูปแบบ เทคนิค วธิ ีการ และ แผนปฏิบตั งิ าน ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคใน ระดับนานาชาติ และจัดทายุทธศาสตรค์ วาม ร่วมมือดา้ นการค้มุ ครองผบู้ ริโภคระหวา่ ง ประเทศ และเปน็ ศูนย์ประสานงานหลกั กบั องค์การระหวา่ งประเทศและหนว่ ยงานทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานพนั ธกรณี ระหวา่ ง ประเทศและมาตรฐานสากลด้านการคมุ้ ครอง ผบู้ รโิ ภค ตลอดจนมคี ณะอนุกรรมการขบั เคล่ือน ภารกจิ การคุ้มครองผ้บู รโิ ภค ตามแผนปฏิบตั กิ าร เชงิ ยทุ ธศาสตร์ของอาเซยี น 2. งานวิเทศสัมพันธ์ จาเป็นต้องประสานและ ดาเนินงานการจดั ประชุม การแปลภาษา และ จัดทาข้อมลู เผยแพรเ่ อกสารภาษาต่างประเทศ การสรา้ งความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานต่างประเทศ หรือองคก์ ารระหวา่ งประเทศตามพันธกรณี ของ อนสุ ญั ญา พธิ สี ารและความตกลงระหว่าง ประเทศ 3. งานเยยี วยาผู้บริโภคข้ามแดน เดิมเปน็ การ สนับสนนุ การเป็นล่าม และแปลภาษาเกย่ี วกับ เร่อื งร้องทกุ ขต์ า่ งประเทศ ซงึ่ ปัจจบุ นั มีบทบาท ภารกิจที่เพิม่ ข้ึนโดยส่วนความร่วมมือกับ ตา่ งประเทศเข้ามารบั ผิดชอบดาเนินการรับเรื่อง รอ้ งทุกข์ สบื สวนสอบสวนข้อเทจ็ จริง เจรจาไกล่ เกลยี่ ประนปี ระนอม จดั ทาสานวนคดี ในคดี เกย่ี วกบั การบรโิ ภคข้ามแดน (ตา่ งประเทศ) ทม่ี ี ฝาุ ยใดฝาุ ยหนึ่งอยนู่ อกราชอาณาจักรไทยทั้งหมด ตลอดจนการพฒั นา จัดหาข้อมลู สนับสนนุ เกย่ี วกับเว็บไซต์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคใน ต่างประเทศ

๑๓ ภารกจิ หลกั 9 ภารกิจ ลักษณะงาน ลักษณะการ เหตผุ ล 7. ภารกจิ การเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ ภารกจิ เดิม ดาเนินงาน องค์ความรแู้ ละให้การศึกษาแก่ผู้บรโิ ภค ทาเองและ เป็นภารกจิ ทีต่ ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ และยัง มอบหมาย ภายใต้กองเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์เปน็ 7.1 งานเผยแพร่วิชาการและ ดาเนนิ การ งานบางสว่ น หน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนท่ีเปน็ ไปตาม ประชาสัมพันธใ์ ห้ผู้บรโิ ภคมคี วามรู้ ความ ให้ อปท. กฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครองผู้บริโภค เข้าใจเกยี่ วกับการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค ภารกิจเดิม - มาตรา 20 (3) การสนับสนุนหรือทาการศึกษา และมี ทาเอง และวจิ ยั ปญั หาเก่ยี วกับการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 7.2 ประชาสัมพนั ธ์และเผยแพร่กจิ กรรม บทบาท รว่ มกบั สถาบันการศึกษาและหน่วยงานอน่ื ความก้าวหน้า และผลงานของ สคบ. - มาตรา 20 (5) ดาเนินการเผยแพร่วชิ าการและ ดาเนินการ ใหค้ วามรู้และการศึกษาแกผ่ บู้ ริโภค เพ่ือสรา้ งนสิ ยั 7.3 ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านการคุ้มครอง เพิ่มขน้ึ การบรโิ ภคอย่างย่งั ยนื ผบู้ รโิ ภค ทั้งนี้ ในการกากับดูแลการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ และให้ความรู้ทางวิชาการในส่วนภมู ิภาคน้นั จะ 8. ภารกิจสรา้ งและพัฒนาเครือข่ายค้มุ ครอง เปน็ หน้าที่ในสว่ นของสานักประสานและสง่ เสริม ผูบ้ ริโภค การคุ้มครองผบู้ ริโภคจงั หวัด จะต้องเปน็ หน่วยงาน ขบั เคลื่อนผลักดัน กากับ ดูแล และส่งเสริม 8.1 สร้างเครือขา่ ยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค แผนการดาเนินงาน โดยดาเนินการตามแผนการ ประชาสังคม สถาบันการศกึ ษา และ กระจายอานาจใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ตา่ งประเทศ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 เพ่ือให้การดาเนินงาน คุ้มครองผบู้ ริโภคในส่วนภมู ิภาคให้มีประสิทธภิ าพ 8.2 ส่งเสรมิ และพัฒนาภาคีเครือขา่ ย ประชาชนเข้าถึงข้อมลู ได้สะดวกและงา่ ยขน้ึ ขบั เคลื่อนกิจกรรมสู่ชมุ ชนเพ่ือส่งเสริมการมี สว่ นร่วมในการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค เปน็ ภารกิจทีต่ ้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ ภายใตก้ องเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ในการสรา้ ง และพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความ ครอบคลุมเพอ่ื ส่งเสริม ผลักดัน และสนับสนนุ ให้ เครือข่ายหรือ อสคบ. สามารถขับเคลื่อนกิจกรรม ดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเป็นรูปธรรม ใน การช่วยเหลือเบ้ืองตน้ แก่ผู้บรโิ ภคที่ไดร้ ับความ เดอื ดร้อน ได้แก่ 1. การให้คาปรึกษา แนะนา รับเร่ืองร้องทุกข์ 2. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3. การรณรงคเ์ กีย่ วกบั สิทธผิ ูบ้ ริโภค แต่ สคบ. ยังจาเป็นต้องกากับ ดูแลการดาเนินงาน ของเครือขา่ ย หรือ อสคบ. ในการเปน็ ทป่ี รึกษา ให้ข้อมลู และประสานงานส่งต่อเรื่องระหวา่ งกัน ตลอดจนการพฒั นารูปแบบของฐานข้อมูล เครือข่ายผู้บรโิ ภคให้มีประสทิ ธภิ าพเข้าถึงง่าย

๑๔ ภารกิจหลัก 9 ภารกจิ ลักษณะงาน ลักษณะการ เหตผุ ล ดาเนนิ งาน 9. ภารกิจกากับดแู ลการประกอบธรุ กิจขาย ภารกจิ เดิม สะดวกต่อการใชง้ านรว่ มกนั ตรงและตลาดแบบตรง และยัง ทาเอง และไดม้ ีการปรับปรุง พรบ.คุ้มครองผู้บรโิ ภค ดาเนนิ การ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 เพิ่มเตมิ 9.1 งานรับจดทะเบยี น - มาตรา 20 (2/1) สง่ เสริมและสนับสนุนการมี 9.2 งานแก้ไขเปล่ยี นแปลงเอกสาร สว่ นรว่ มและการรวมตัวกนั ของผ้บู รโิ ภคในการ 9.3 งานการวางหลักประกนั จัดตั้งองค์กรของผบู้ รโิ ภค และส่งเสรมิ องค์กรของ 9.4 งานเพิกถอน ผู้บริโภคตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผบู้ รโิ ภค 9.5 การรายงานผลการประกอบธรุ กิจ - มาตรา 20 (4) สง่ เสริมและสนบั สนุนให้มี 9.6 งานตรวจสอบผู้ประกอบธรุ กิจ การศึกษาแกผ่ ู้บริโภคในทุกระดบั การศึกษา 9.7 การเฝาู ระวังการโฆษณาสนิ ค้าตลาด เกี่ยวกับความปลอดภยั และอันตรายที่อาจได้รบั แบบตรง จากสินค้าและบริการ 9.8 งานแก้ไขปัญหาการซอื้ ขายออนไลน์ เปน็ ภารกจิ ท่ตี ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ (สินคา้ จดทะเบยี น) ภายใต้กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านธุรกิจขายตรง และตลาดแบบตรง 1. เลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็น นายทะเบียนตามกฎหมาย ซึ่งการรบั จดทะเบยี น แก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร วางหลกั ประกนั เพิก ถอน รายงานผลการประกอบธุรกจิ ต้อง ดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาด แบบตรง พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. มีคณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง เปน็ ผพู้ ิจารณาเรื่องร้องทุกขจ์ ากผู้บรโิ ภคเกี่ยวกับ ธรุ กิจขายตรงและตลาดแบบตรง กากับดูแล ตรวจสอบผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบ ตรง รวมทัง้ ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ในการ ประกอบธรุ กิจขายตรงและตลาดแบบตรง ตาม มาตรา 13 3. ต้องเป็นพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีตามกฎหมาย กาหนด

๑๕ ภารกิจสนับสนนุ 7 ภารกจิ ลกั ษณะงาน ลักษณะการ เหตผุ ล ภารกิจเดิม ดาเนินงาน 1. ภารกจิ ตรวจสอบภายใน 1.1 งานตรวจสอบการเงิน บญั ชี พสั ดุ และยงั ทาเอง เปน็ ภารกจิ ท่ตี ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ 1.2 งานตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎ ดาเนนิ การ ภายใตก้ ลุ่มตรวจสอบภายใน ในการทาหนา้ ทห่ี ลัก ระเบียบ ภารกจิ เดิม 1.3 งานตรวจสอบการดาเนนิ งาน และยัง ในการตรวจสอบการดาเนินงานภายในสานักงาน ดาเนินการ โครงการ และสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของสานักงาน 2. ภารกจิ พฒั นาระบบบริหารราชการของ ภารกจิ เดิม สคบ. และยัง รับผดิ ชอบงานขึ้นตรงต่อเลขาธิการฯ ดาเนนิ การ 2.1 งานระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ ทาเอง เป็นภารกจิ ที่ต้องดาเนินการโดยส่วนราชการ 2.2 งานบริหารการเปลีย่ นแปลงและ ภารกจิ เดิม ภายใต้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เพ่ือทาหน้าที่หลกั นวตั กรรม และยัง ในการพัฒนาการบริหารของสานกั งานให้เกิดผล 3. ภารกิจบรหิ ารและพฒั นาบคุ ลากร ดาเนินการ สมั ฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุ้มค่า รบั ผิดชอบงาน 3.1 งานบริหารทรพั ยากรบุคคล ข้นึ ตรงต่อเลขาธกิ ารฯ 3.2 งานพัฒนาทรัพยากรบคุ คล ภารกจิ เดิม และยัง ทาเอง เปน็ ภารกิจที่ต้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ 4. ภารกิจการเงิน บัญชี และพัสดุ ดาเนินการ ภายใตส้ านักงานเลขานุการกรม (สว่ นบรหิ าร 4.1 งานการเงนิ และบัญชี ทรัพยากรบุคคล และพฒั นาทรพั ยากรบุคคล) 4.2 งานพัสดุ เกีย่ วกับการปฏิบัติราชการทัว่ ไปของสานักงาน และราชการอ่ืนท่ีไม่ได้แยกให้เปน็ หน้าท่ีของกอง 5. ภารกจิ บริหารงบประมาณ และวางแผน หรอื สว่ นราชการใดโดยเฉพาะ และดาเนินการ 5.1 งานบริหารงบประมาณ เก่ยี วกบั เลขานุการคณะกรรมการคุ้มครอง 5.2 งานวางแผน ผบู้ รโิ ภค ทาเอง เป็นภารกิจที่ต้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ ภายใตส้ านักงานเลขานุการกรม (ส่วนการเงนิ และ บญั ชี ส่วนพสั ดุ) จาเป็นต้องดาเนนิ การเอง เนอื่ งจากตอ้ งเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและบรหิ ารพัสดุภาครฐั ทาเอง เป็นภารกิจทตี่ ้องดาเนินการโดยส่วนราชการ ภายใตส้ านักแผนและการพัฒนาการค้มุ ครอง ผบู้ ริโภค (สว่ นวิชาการ วางแผน ติดตามและ ประเมินผล) จาเปน็ ต้องดาเนินการเองเนื่องจาก ต้องดาเนินการประสานงานกับสานักงบประมาณ ในการจัดทางบประมาณของสานกั งาน และ วางแผน จัดทาแผนปฏิบัตริ าชการประจาปีการ รายงานผลการดาเนินงาน และข้อมูลเชงิ สถติ ิ

๑๖ ภารกจิ สนับสนนุ 7 ภารกิจ ลกั ษณะงาน ลกั ษณะการ เหตุผล 6. ภารกิจพัฒนานวตั กรรมการใหบ้ ริการและ ภารกจิ เดิม ดาเนินงาน เช่อื มโยงหนว่ ยงานทกุ ภาคสว่ น และยงั ทาเอง เป็นภารกจิ ท่ตี ้องดาเนินการโดยสว่ นราชการ 6.1 งานยทุ ธศาสตร์และพัฒนาระบบ ดาเนนิ การ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และจ้าง ภายใต้สานักแผนและการพัฒนาการคมุ้ ครอง ภารกจิ เดิม 6.2 งานคอมพิวเตอร์และเครือขา่ ย และยงั บรษิ ัทเอกชน ผ้บู รโิ ภค (ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ) ดาเนินการ 6.3 งานส่งเสริมนวัตกรรม ดาเนนิ การ บางสว่ น เกยี่ วกับยุทธศาสตร์และพฒั นาระบบเทคโนโลยี 7. ภารกจิ งานบรหิ ารทวั่ ไป สารสนเทศตามแผนปฏิบตั ิการดจิ ทิ ลั และเป็น ศูนย์กลางข้อมูลดา้ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (Big data) พฒั นาระบบ Core Business และระบบ Back Office ขององค์กร ตลอดจนการบารุงรักษา คอมพวิ เตอร์และเครือข่าย และสง่ เสรมิ ถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ บุคลากร ซง่ึ ในปัจจุบนั การพัฒนาระบบเทคโนโลยี การบารุงรกั ษาคอมพิวเตอร์และเครือข่ายจะใช้ ลกั ษณะการ Outsource ของภาคเอกชน ทาเอง เปน็ ภารกิจทตี่ ้องดาเนินการโดยสว่ นราชการของ ทกุ สานัก กอง กลุ่ม เกย่ี วกับการบริหารงานท่วั ไป งานสารบรรณ งานอานวยการ ประสานติดต่อ ราชการภายในและภายนอก รวมทั้งการกากับดูแล วสั ดุ ครภุ ณั ฑข์ องหน่วยงาน

๑๗ 2. เหตผุ ลความจาเปน็ ในการขอจัดตงั้ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู ริโภค ไดด้ าเนินการตามอานาจหนา้ ที่และภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมายตาม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2558 อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ องค์กร และประชาชน แต่เนื่องจากบริบท สถานการณ์ทีเ่ ปล่ียนแปลงไปในดา้ นต่าง ๆ เช่น การปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ การพัฒนาด้านเทคโนโลยี ท่ีทันสมัย ด้านเศรษฐกิจและสังคมเก่ียวกับการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจ และรูปแบบการบริโภคของ ประชาชน แสดงให้เห็นถงึ โอกาสและภยั คุกคาม ทจ่ี ะทาให้หน่วยงานมีความจาเป็นต้องบริหารจัดการโครงสร้างให้มี ความม่ันคงในระยะยาว ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่ให้ความสาคัญในการปฏิรูประบบและกลไกในการคุ้มครอง ผู้บริโภคและปฎิรูปการบริหารจัดการภาครัฐตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ให้มีความคล่องตัว รวดเร็วตอบสนองต่อ ประชาชน สามารถปรับตัวเข้าสู่การเป็นสานักงานสมัยใหม่ นาไปสู่การเป็นองค์กรท่ีมีขีดสมรรถนะสูง สามารถ ปฏบิ ตั ิงานเทยี บไดก้ ับมาตรฐานสากล 2.1 บทบาทภารกิจทเี่ พม่ิ ขึ้นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการค้มุ ครองผบู้ ริโภค จากการทบทวนบทบาทภารกิจของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ในปัจจุบันได้มีการ ปรบั ปรุงพระราชบัญญัติคุ้มครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 เพมิ่ เติมรายละเอียด ดงั นี้ 1. มาตรา 8 กาหนดให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสามารถมอบหมายเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อแก้ไขข้อจากัดด้านบุคลากรในส่วนภูมิภาค และเพ่ือให้มีเจ้าหน้าที่ ท่ปี ฏบิ ัตงิ านเพยี งพออันจะทาให้การตรวจสอบ ติดตาม กากับ ดแู ลเปน็ ไปอย่างท่ัวถึงและมีประสทิ ธิภาพเพิ่มขึ้น 2. มาตรา 9 การปรับองค์ประกอบคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กาหนดให้มีคณะกรรมการ คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลดั กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน แปดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตามหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีกาหนด โดยต้องมีผู้แทนท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคจากภาควิชาการ ภาคประชาชน และภาคผู้ประกอบธุรกิจอย่างน้อยภาคละสองคน เป็นกรรมการ เพ่ือรับฟังความเห็นจากหน่วยงานของรัฐหรือผู้ทรงคุณวุฒิเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีรอบ ด้านและครอบคลุมยิง่ ขึน้ อนั จะชว่ ยใหก้ ารคุ้มครองผู้บริโภคมีประสทิ ธิภาพยงิ่ ขนึ้ 3. มาตรา 10 (3) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพิ่มข้ึนในการกาหนดแนวทางการ แจ้งหรอื โฆษณาขา่ วสารเก่ียวกบั สินค้าหรอื บรกิ ารทอ่ี าจกระทบตอ่ สทิ ธิของผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเสื่อมเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค ตามมาตรา 20 (2/2) เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินการแจ้งหรือโฆษณา ทเี่ หมาะสมและไมส่ รา้ งความเสยี หายใหผ้ ปู้ ระกอบธรุ กจิ เกดิ สมควร 4. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (8/1) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพ่ิมขึ้นในการจัดทา แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี ท่ี เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค หรือมาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภคสากล เพื่อให้มีแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ผู้บริโภคทเ่ี กดิ จากการบรู ณาการการทางานของหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องแบบองค์รวม อันจะทาให้การคุ้มครองผู้บริโภค มีประสทิ ธิภาพ 5. มาตรา 10 วรรคหน่ึง (9/1) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าท่ีเพ่ิมขึ้นในการเสนอ ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการตรากฎหมาย แก้ไขหรือปรับปรุงกฎหมายหรือกฎเกี่ยวกับการคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภคใหส้ อดคลอ้ งตามแผนยุทธศาสตร์ดา้ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภค

๑๘ 6. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (9/2) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพ่ิมข้ึนในการเสนอ ความเห็นต่อส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์กรอ่ืน เพ่ือจัดทา ทบทวน ประเมินหรือปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติราชการหรือการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งในการออก กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายและกฎเก่ยี วกับการคมุ้ ครองผู้บริโภค 7. มาตรา 10 วรรคหนึง่ (9/3) คณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภคมีอานาจหนา้ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ ในการพิจารณา วนิ จิ ฉัยชี้ขาดการใช้บังคับกฎหมายเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ตามมาตรา 21 วรรคสอง เพื่อให้มีองค์กรกลางใน การวินิจฉยั ชขี้ าดในกรณที ี่หน่วยงานของรฐั มคี วามเห็นแตกตา่ งกนั 8. มาตรา 11 วรรคสาม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีพ้นจากตาแหน่งตามวาระยังคงอยู่ในตาแหน่งตาม วาระยังคงอยใู่ นตาแหน่งเพอ่ื ดาเนินงานตอ่ จนกว่ากรรมการซึง่ ได้รบั แตง่ ตง้ั ใหมจ่ ะเข้ารับหน้าที่ เพื่อทาให้การปฏิบัติ หน้าท่ีของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นไปด้วยความต่อเนื่องแม้กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจาก ตาแหน่ง และยงั ไม่มีการแตง่ ต้งั กรรมการชุดใหมข่ ้นึ 9. มาตรา 12 วรรคส่ี เมอื่ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒพิ น้ จากตาแหน่งกอ่ นวาระ ให้คณะกรรมการคุ้มครอง ผูบ้ รโิ ภคประกอบดว้ ยกรรมการทัง้ หมดเท่าที่มอี ยู่จนกวา่ จะมีการแตง่ ต้งั กรรมการขึ้นใหม่ เพ่อื ทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นไปโดยไม่หยุดชะงักแม้กรรมการประเภทผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจากตาแหน่ง กอ่ นวาระ และยงั ไมม่ กี ารแต่งตง้ั กรรมการคนใหมข่ ้นึ 10. มาตรา 14 (1/1) กาหนดให้มีคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง เพ่ิมขึ้นคือคณะกรรมการว่าด้วยความ ปลอดภยั ของสนิ คา้ และบรกิ าร เพือ่ คุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการเป็นการเฉพาะ ) และ มาตรา 14 วรรคสาม กาหนดวาระการดารงตาแหนง่ ของคณะกรรมการเฉพาะเร่ืองคราวละ 3 ปี หรือนามาตรา 11 วรรคสอง และวรรคสาม และมาตรา 12 มาใช้ประกอบโดยอนโุ ลม 11. มาตรา 17/1 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการเฉพาะเรื่อง กรรมการเฉพาะเร่ือง และประธานอนุกรรมการและอนุกรรมการตามมาตรา 15 ได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอ่ืนตามที่ รัฐมนตรีกาหนด เพื่อให้ครม. กาหนดกรอบเบ้ียประชุมท่ีเหมาะสมสาหรับคณะกรรมการแต่ละคณะ และเพ่ือเป็น แรงจงู ใจให้บคุ คลทม่ี คี วามเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นเข้ามาร่วมทางานในดา้ นการให้ความค้มุ ครองผบู้ ริโภคมากยิง่ ขึ้น 12. มาตรา 20 (2/1) กาหนดให้สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค ส่งเสริมและสนบั สนนุ การ มีส่วนร่วมและการรวมตัวกันของผู้บริโภคในการจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภค และส่งเสริมองค์กรของผู้บริโภคในการ รักษาสทิ ธิของผูบ้ รโิ ภคตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารค้มุ ครองผู้บรโิ ภค 13 มาตรา 20 (2/2) แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจกระทบต่อสิทธิของ ผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเส่ือมเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค โดยจะระบุช่ือสินค้าหรือบริการหรือช่ือ ของผูป้ ระกอบธรุ กิจด้วยก็ได้ 14. มาตรา 20/1 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจโฆษณาคาพิพากษาถึงที่สุด กรณีผู้ประกอบธุรกจิ ฝาุ ฝนื หรอื ไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคาสั่ง และการเข้าดาเนินการ แทน 15. มาตรา 28 กรณคี ณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่าข้อความใดท่ีใช้ใน การโฆษณาเปน็ เท็จหรือเกินจรงิ คณะกรรมการสามารถออกคาสง่ั ให้ผกู้ ระทาการโฆษณาพสิ จู นเ์ พือ่ แสดงความจริงได้ หรอื กรณีเรง่ ด่วน อาจออกคาส่งั ระงบั การโฆษณาดังกล่าวเปน็ การช่ัวคราวหรือจะทราบผลการพิสูจนก์ ็ได้ 16. มาตรา 29/1 – 29/17 การดาเนินงานเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของ สนิ ค้าและบรกิ าร

๑๙ 17. มาตรา 39/1 กาหนดให้เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอานาจดาเนินคดีเก่ียวกับ การละเมิดสิทธิของผู้บริโภคแทนผู้บริโภคได้ และมีอานาจแต่งต้ังข้าราชการใน สคบ. ท่ีไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทาง นติ ิศาสตร์ เป็นเจ้าหน้าท่ีคุ้มครองผูบ้ ริโภคเพ่ือดาเนินคดแี พงและคดอี าญาแกผ่ กู้ ระทาการละเมิดสิทธิของผูบ้ รโิ ภคใน ศาลได้ 18. มาตรา 62 ความผิดตามกฎหมายท่ีมีโทษปรับสถานเดียว หรือเป็นความผิดที่มีโทษปรับหรือมี โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้คณะกรรมการมีอานาจเปรียบเทียบได้ และให้คณะกรรมการมีอานาจมอบหมายให้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะอนุกรรมการ พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น ดาเนินการเปรียบเทียบได้ รวมท้ังค่าปรับจากการเปรียบเทียบท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ปฏิบัติการและ ดาเนินการเปรียบเทียบความผิดที่ได้รับมอบหมายตามมาตรา 62 นี้ ให้ตกลงเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นตามมาตรา 63 ดังนั้น สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค จึงมีบทบาทในการดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ที่เพ่ิมข้ึนเป็นจานวนมาก และต้องขับเคลื่อนการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้เป็นตามยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย สาคัญของรัฐบาล แผนการปฏริ ปู ประเทศ และมตคิ ณะรฐั มนตรี ทเ่ี กย่ี วกบั การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค 2.2 บทบาทภารกจิ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ยทุ ธศาสตร์ชาติ 1. ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มุ่งเน้นการแก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ปรับปรงุ ระบบและกลไกในการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค สนับสนนุ องค์กรของผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็ง ปูองกันการละเมิด สิทธิผู้บริโภคและอานวยความยุติธรรมแก่ผู้บริโภค สนับสนุนการบริโภคอย่างย่ังยืนและส่งเสริมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ มบี ทบาทในการคุ้มครองผู้บรโิ ภคอย่างเป็นรูปธรรม 2. ด้านการปรับสมดุลและบริหารจัดการภาครัฐ ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง บูรณาการโดย ยุทธศาสตรช์ าติ/เชอ่ื มโยงพัฒนาทุกระดับขนาดเล็ก/เหมาะสมกับภารกิจ ทันสมัย/มีขีดสมรรถนะสูง โปร่งใส/ปลอด ทจุ รติ กฎหมายเหมาะสมกับบรบิ ท กระบวนการยตุ ธิ รรม เคารพสิทธเิ สมอภาค แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 1. ด้านความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม การคุ้มครองแรงงานไทยให้มีสวัสดิภาพใน การทางานโดยยกระดับกลไกการดูแลคุ้มครองสวัสดิภาพของผู้ใช้แรงงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และ ส่งเสริมการทางานท่ีมีคุณค่า และการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับสินค้าและบริการท่ีปลอดภัยและได้มาตรฐาน เพื่อให้เกดิ ความเปน็ ธรรมและลดความเสียเปรียบของผู้บรโิ ภค 2. ด้านการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ มุ่งเน้นพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐใหม้ ีความทนั สมยั ภาครัฐมขี นาดเหมาะสมกับภารกิจ มสี มรรถนะสูงตอบสนองปัญหาความต้องการของ ประชาชนและสนับสนุนให้เป็นประเทศไทย 4.0 ท่สี ามารถกา้ วทันความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาได้อย่างยั่งยืน ด้วยหลักการ “ภาครฐั ของประชาชน เพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” 3. ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม มุ่งเน้นการดาเนินการปรับปรุง แก้ไข ยกเลิกกฎหมาย ให้มีเท่าที่จาเป็นและสอดคล้องบริบทและไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ และส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม รวมทั้ง บูรณาการเชื่อมโยงกฎหมายทุกลาดับชั้นให้เช่ือมโยงกันอย่าง เป็นเอกภาพ ไม่ขัดกัน มีการนากฎหมายไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใสซึ่งเป็นกลไกสาคัญที่จะนา กระบวนการยตุ ธิ รรมปราศจากความเหลือ่ มลา้ และความไมเ่ ท่าเทยี ม และการพฒั นากระบวนการยุติธรรม โดย อานวยความยุติธรรมให้เป็นไปอย่างเสมอภาค โปร่งใส เป็นธรรมท่ัวถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติ บูรณาการ

๒๐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมให้ดาเนินงานอย่างเป็นเอกภาพ เพ่ือให้สามารถจัดการกับ ข้อขัดแย้ง กรณพี ิพาทได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ แผนปฏริ ูปประเทศ 1. ด้านสงั คม 1.1 กิจกรรมที่ 1 พัฒนาโครงสรา้ งและศักยภาพของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 1.2 กจิ กรรมท่ี 2 การเสรมิ สร้างพลงั ให้แกผ่ ้บู รโิ ภคและการพฒั นาผูบ้ ริโภคโดยอาศยั เทคโนโลยี 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน การจัดองค์กรภาครัฐให้เปิดกว้างและเชื่อมโยงข้อมูลกันมี โครงสร้างองค์กรกะทัดรัดแต่แข็งแรง ทางานเพ่ือประชาชนโดยยึดการทางานเชิงพื้นท่ีเป็นหลัก จัดระบบบริหาร และบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัล จัดระบบบุคลากรภาครัฐให้มีมาตรฐานกลางเพ่ือสรรหาและรักษาไว้ซ่ึง กาลังคนทีม่ คี ุณภาพสูง มีคุณธรรม จริยธรรม และสรา้ งวัฒนธรรมตอ่ ต้านการทุจริตในภาคราชการและภาคสงั คม 3. ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีมาตรการควบคุม กากับ ตดิ ตามการบริหารจดั การของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน มีกลไกที่เหมาะสมในการประสานงาน ปูองกันและ ปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบ ในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตร์ เพ่อื ให้ประเทศไทยปลอดทจุ ริต แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 1. สรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลือ่ มล้าในสังคม ใหค้ วามสาคัญกบั การจัดบริการของรัฐ ที่มีคุณภาพท้ังด้านการศึกษา สาธารณสุข กระจายการจัดบริการภาครัฐให้มีความครอบคลุมและท่ัวถึงท้ังใน เชิงปริมาณ และคุณภาพ ตลอดจนสร้างชุมชนเข้มแข็งให้เป็นพลังร่วมทางสังคมเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาและ พรอ้ มรบั ผลประโยชน์จากการพัฒนา 2. การบริหารจดั การในภาครฐั การปอ้ งปันการทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภบิ าลใน สังคมไทย ให้ความสาคัญกับการส่งเสรมิ และพัฒนาธรรมาภบิ าลในภาครัฐอยา่ งเป็นรปู ธรรม นโยบายรัฐบาล 1. นโยบายหลัก 1.1 นโยบายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย ส่งเสริม การค้าในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพ่ิมโอกาสให้ผู้ประกอบการรายย่อยทั้งในภาคการผลิตและ บริการในการเขา้ ถึงตลาด โดยการสร้างความเช่ือมนั่ ระหว่างผู้ซ้ือกับผู้ขาย และจูงใจให้เกิดการค้าผ่านช่องทาง ออนไลน์ ด้วยการทบทวนกฎหมายเพื่อยกระดับมาตรฐานด้านความปลอดภัยไซเบอร์ การคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้ง การแก้ไขปัญหาการดาเนินธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมความสามารถ ของผปู้ ระกอบการไทยที่ให้บริการแพลตฟอรม์ การค้าออนไลน์ พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการที่เก่ียวข้อง เช่น โลจิสติกส์ และระบบการชาระเงินให้ได้มาตรฐานสากล เชื่อมโยงและบูรณาการฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ของรัฐเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการ รวมถึงส่งเสริมการกากับดูแลที่มีมาตรฐานและเอื้อต่อ การประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการทุกขนาดตลอดจนช่วยเสริมสร้ างโอกาสทางธุรกิจของกิจการบริษัท การค้าระหว่างประเทศในประเทศไทย รวมทั้ง ยกระดับมาตรฐานร้านค้าปลีกให้เข้าสู่การค้าออนไลน์ เพื่อ ลดผลกระทบจากพฤติกรรมของผู้บริโภคทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป

๒๑ 1.2 นโยบายท่ี 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้การขับเคล่ือนการพัฒนา ประเทศ สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน การปฏิรูประบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดย การนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเข้ามาช่วยในการให้บรกิ ารของภาครัฐ และการบูรณาการการทางานของหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากน้ี กระบวนการยุติธรรมจะต้องเป็นท่ีพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง กฎหมายจะต้องได้รับการ ปรบั ปรงุ ให้มคี วามทนั สมยั เป็นธรรมและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม 1.3 นโยบายท่ี 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ กระบวนการ ยตุ ิธรรม 2. นโยบายเร่งด่วน 2.1 การแก้ไขปญั หาในการดารงชวี ิตประชาชน 2.2 การพัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชน แผนขับเคลอ่ื นการผลติ และการบรโิ ภคที่ย่งั ยืน พ.ศ. 2560 – 2579 มุ่งเน้นการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างยั่งยืนเป็นไปตามข้อตกลงของสหประชาชาติว่าด้วยเปูาหมาย การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื (SDGs) ขอ้ 12 สร้างหลกั ประกันการผลิตและการบรโิ ภคท่ยี ่ังยนื แผนยุทธศาสตรก์ ารค้มุ ครองผู้บรโิ ภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2560 – 2564) มีเปูาหมายเพ่ือให้เกิดแนวทางการบูรณาการงานคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศท่ีเป็นระบบ มีมาตรฐาน เพื่อให้เกิดการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีมีความต่อเนื่อง ม่ันคง และยั่งยืน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับ ประโยชน์อย่างสมดุลและเป็นธรรม อันจะส่งผลให้การดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้บริโภคในประเทศไทยต่อไป โดยมีการขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ 5 ดา้ น ดงั นี้ 1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบและกลไกการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 2. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลในการคุม้ ครองผู้บริโภค 3. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาองคค์ วามรู้ และการสอ่ื สารเพอ่ื การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 4. ยุทธศาสตรก์ ารสร้างและการพัฒนาศกั ยภาพเครอื ข่ายคุ้มครองผู้บรโิ ภค 5. ยทุ ธศาสตร์การส่งเสริมการบูรณาการการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค แผนยุทธศาสตร์และกลยทุ ธ์ของสานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค (2563 – 2565) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนากลไก มาตรการ หรือแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภค ที่มีมาตรฐาน ในระดับสากล โดยได้กาหนดกลยุทธเ์ พื่อใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาข้อมูลสารสนเทศ การสื่อสาร และนวัตกรรมเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค โดยไดก้ าหนดกลยทุ ธเ์ พื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค และท้องถ่นิ โดยกาหนดกลยทุ ธเ์ พ่อื ให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาการบรหิ ารจดั การองคก์ รและเพม่ิ ศักยภาพบคุ ลากรใหม้ ีประสิทธภิ าพ

๒๒ จากบทบาทภารกจิ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และบทบาทภารกิจของหน่วยงานท่ี สอดคล้องรองรับกับยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏริ ูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายรัฐบาล และเปูาหมายพัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs) ดังกล่าว ทาให้สานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค พิจารณาและทบทวนแล้ว มีเหตุผลความจาเป็นขอปรับปรุงโครงสร้างการแบ่ง ส่วนราชการในภาพรวม โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1. บูรณาการและขับเคล่ือนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีมุ่งเน้นการทางานร่วมกับเครือข่าย ทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบมีมาตรฐาน เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมการดาเนินงานตามบทบาท ภารกิจ อานาจและ หน้าที่ กฎหมายของหน่วยงาน ท่ีสอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ นโยบายรัฐบาล และกรอบนโยบายอาเซียน และเกิดผลลัพธ์ในภาพรวมของประเทศ อันเป็นผลทาให้ ประชาชนได้รบั การแกไ้ ขปัญหาและเยยี วยาอยา่ งมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว 2. ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ให้สอดคล้องกับสถานการณ์หรือบริบท ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเพื่อตอบความต้องการของประชาชน ที่สามารถเข้าถึงบริการและข้อมูลข่าวสารได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว และสิทธิผู้บริโภคได้รับการคุ้มครอง มีมาตรการหรือกลไกท่ีมีประสิทธิภาพและพิทักษ์สิทธิผู้บริโภค ด้านตา่ ง ๆ อาทิ ดา้ นการรบั รู้ ด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรม หรอื ดา้ นอืน่ ๆ อันเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผบู้ รโิ ภค 3. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สนับสนุนการพัฒนาระบบบริหาร จัดการและกากับดูแลให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการพื้นฐานและการคุ้มครอง ผู้บริโภค และด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ ที่มุ่งเน้นการดาเนินงานตามกรอบความร่วมมืออาเซียนของการให้ ความสาคัญกบั การแข่งขนั ทางการตลาดควบคูก่ ารคมุ้ ครองผู้บริโภค และจรรยาบรรณท่ดี ี 4. ภารกจิ ทเี่ พิ่มขึ้นตามพระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 เกี่ยวกับการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ กาหนดให้มีคณะกรรมการว่าด้วยความปลอดภัยของสินค้าและ บริการ และการกาหนดมาตรการเก่ียวกับความปลอดภัยของสินค้าและบริการ (มาตรา 29/1 ถึงมาตรา 29/17) เพ่อื ให้ผปู้ ระกอบธุรกจิ ต้องปฏิบัตติ ามกฎหมายดา้ นความปลอดภยั ของสนิ ค้าและบรกิ ารอยา่ งเคร่งครัด และคุ้มครอง ผู้บริโภคให้ได้รับสินค้าและบริการที่ปลอดภัย รวมทั้ง การมอบอานาจการดาเนินคดีแทนผู้บริโภคโดย ลคบ. มอบหมาย จนท. ดาเนินคดใี นศาลแทนอัยการ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค จึงมีความประสงค์ขอจัดต้ังหน่วยงานเพ่ิมขึ้นจานวน 3 กอง ได้แก่ กองคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค กองคุ้มครองผู้บริโภคด้านต่างประเทศ และกองคุ้มครองผู้บริโภค ด้านความปลอดภยั ของสนิ คา้ และบรกิ าร หากเม่อื จดั ตั้งขนึ้ แลว้ คาดวา่ จะส่งผลให้ประสทิ ธภิ าพการดาเนินงานด้าน การคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มข้ึนในระดับประเทศและสามารถดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล อนั จะสง่ ผลประโยชนต์ ่อส่วนราชการและประชาชนจะได้รับ ดังน้ี 1. กระบวนการหรือแนวทางในการบริหารจัดการเร่ืองร้องทุกข์ และแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องทุกข์ ได้รับ การพฒั นาและส่งเสริมองค์ความรู้ให้เกิดความเชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพ่ิมขึ้นแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน และเจ้าหน้าท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเป็นไปตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ส่งผลให้ ผบู้ รโิ ภคได้รับการชดเชย เยยี วยา ท่สี ะดวกและรวดเร็ว 2. มุ่งสนับสนุน ส่งเสริมความร่วมมือ รณรงค์ และประชาสัมพันธ์กับเครือข่ายในระดับจังหวัด และ ระดับท้องถ่ิน อันส่งผลให้เกิดการบูรณาการร่วมกัน ในการสร้างความรู้ความเข้าใจและแนวทางปฏิบัติตาม แผนยุทธศาสตร์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคท่ีเป็นรูปธรรม เกิดเครือข่ายชุมชนเพ่ิมขึ้นและเกิดความตระหนัก

๒๓ ในการคุ้มครองผู้บริโภค และเกิดการขับเคลื่อนทางสังคมการคุ้มครองผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศอย่าง กว้างขวาง 3. การบรหิ ารงานเชิงพ้ืนท่ีได้รับการบูรณาการรว่ มกันกับหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องดา้ นการคมุ้ ครองผู้บริโภค และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ อย่างครอบคลมุ ตลอดจนการรบั ฟังความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค นามา วิเคราะห์หาสาเหตุปัญหาท่ีเกิดข้ึนเชิงพื้นที่มีความชัดเจนและสามารถทราบแนวโน้มการเกิดปัญหาเพื่อนาไปสู่ แนวทางการบรู ณาการและพฒั นางานค้มุ ครองผบู้ ริโภคในสว่ นภมู ิภาคร่วมกัน เพื่อตอบสนองต่อประชาชนท่ีตรงตาม เปูาหมาย 4. การขบั เคลื่อนการคุ้มครองผ้บู รโิ ภคด้านตา่ งประเทศภายใตแ้ ผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 มติคณะรัฐมนตรี และแผนขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่ย่ังยืน ส่งผลต่อ ความสาคัญในการดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับประเทศโดยสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้บริโภคใน ประเทศและต่างประเทศได้รบั การคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคในกรอบหรอื มาตรฐานเดยี วกนั 5. สร้างความเชื่อม่ันด้านการคุ้มครองผู้บริโภคระหว่างประเทศและให้แก่ผู้บริโภคชาวต่างชาติในการ เปน็ หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคที่ใหก้ ารกากบั ดแู ลใหค้ วามเปน็ ธรรม เกี่ยวกบั การบรหิ ารจัดการแกไ้ ขปัญหาเรอื่ งร้อง ทุกข์เพ่ือช่วยเหลือผู้บริโภคในประเทศและต่างประเทศ ภรณี ถูกละเมิดสิทธิโดยผู้ประกอบธุรกิจไทยได้อย่างเป็น ระบบมาตรฐานสากล รวมท้งั เป็นแรงสนับสนุนในการแข่งขนั ทางการค้าของไทยเปน็ ไปอย่างคล่องตวั มีประสิทธิภาพ 6. มุ่งสนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือเก่ียวกับการเยียวยาผู้บริโภคข้ามแดน เพื่อรองรับการ แก้ไขปัญหาเยียวยาด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศและต่างประเทศที่ตอบสนองต่อประชาชนท่ีมีกระบวนการ ครอบคลมุ กระชับ และรวดเรว็ 7. ส่งผลให้การบริหารงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ มีขั้นตอนกระบวนการแก้ไขปัญหาที่มีความชัดเจนตามกระบวนการ สะดวกรวดเร็ว และเป็นการส่งเสริมให้ ผปู้ ระกอบธุรกจิ มีแนวทางปฏบิ ัตดิ า้ นความปลอดภัยของสนิ คา้ และบริการอย่างถูกต้องตามกฎหมายชัดเจน 2.3 ขอ้ เสนอการถา่ ยโอนภารกิจของหนว่ ยงาน (One-In, X-Out) ด้วย ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เรื่อง แผนปฏิบัติ การกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ฉบับท่ี 1 ได้กาหนดให้สานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคถ่ายโอนภารกิจการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2545 ภารกิจท่ีถ่ายโอน คือ การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้เก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมรี ายละเอียดขอบเขตการถ่ายโอนและข้ันตอนการปฏบิ ัติ ดังน้ี ขอบเขตการถ่ายโอน ขัน้ ตอน/วิธีการปฏิบตั ิ พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 8 1. พนักงานองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน เข้ารับการ กาหนดให้ พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น ฝกึ อบรมความรู้ และเทคนิควธิ ีทสี่ ว่ นกลาง (สคบ.) พนักงานเจ้าหน้าท่ี โดยมีอานาจหน้าท่ตี ามท่ี 2. ดาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้แก่ พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้บริโภคกาหนด และตามที่ ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผา่ นสื่อ คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภคมอบหมาย ทางวิทยุ ส่ือสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าวอย่างต่อเน่ือง

๒๔ ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ได้มีประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เรื่อง การบังคับใช้แผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และ แผนปฏิบัติการกาหนดข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบับท่ี 2) ภารกิจท่ีถ่ายโอน คือ การให้ความคุ้มครองผู้บริโภค และการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้เก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภคแก่ ผบู้ ริโภค โดยมีรายละเอียดขอบเขตการถ่ายโอนและขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ขอบเขตการถ่ายโอน ข้ันตอน/วิธีการปฏบิ ัติ 1. การให้ความคุ้มครองผู้บริโภค 1. แต่งตั้งผู้บริหาร อปท. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ 1.1 ใหผ้ ูบ้ ริหาร อปท. เปน็ พนักงาน เจา้ หน้าที่ประจา ประจาท้องถิ่นมีอานาจหน้าที่ตามท่ีคณะกรรมการ ทอ้ งถิน่ มีอานาจตามท่ีคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ ริโภค คุ้มครองผู้บริโภคกาหนด รวมทั้งให้มีอานาจ แต่งตั้ง กาหนด รวมทง้ั ใหม้ ีอานาจแต่งตงั้ พนักงานส่วนท้องถ่ิน พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติ เป็นพนักงานเจา้ หน้าที่ เพ่ือปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ตามกฎหมาย หนา้ ทีต่ ามกฎหมายภายในเขตพ้ืนที่ อปท. ในเขตพื้นท่ี อปท. 2. ให้ อปท. เป็นหน่วยรับเรื่องราวร้องทุกขจ์ าก 1.2 ให้ อปท. มีหน้าท่ีในการรับเร่ืองราวร้องทุกขจ์ าก ผู้บริโภคท่ีได้รบั ความเดือดร้อนหรอื เสียหาย อนั ประชาชนในพื้นท่ีเพ่ือนาเสนอตอ่ สานักงาน เน่ืองมาจากการกระทาของผู้ประกอบธรุ กิจเพื่อ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) และให้ ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ในกรณีเป็นอานาจของ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคพิจารณามอบอานาจ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคให้ อปท. รวบรวม บางเรื่องที่ เห็นสมควรให้แก่ อปท. เพ่ือแก้ไขปัญหา เอกสาร พยานหลักฐานแลว้ ส่ง สคบ. เพ่ือเสนอคณะ ความเดือดร้อนของประชาชน กรรมการฯ 1.3 ให้ อปท. มีสว่ นรว่ มในคณะกรรมการคุ้มครอง 3. ให้ อปท. รว่ มเป็นกรรมการ สคบ. ในทกุ ระดับ ผู้บริโภคทุกระดับ 4. สคบ. เตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. โดยจัดทาคู่มือ 1.4 ให้แบ่งรายได้และคา่ ปรับทเ่ี กิดจากการดาเนินงาน การปฏิบัติงานและฝึกอบรมให้ข้าราชการหรือพนักงาน ของ อปท. ใหแ้ ก่ อปท. ของ อปท. มคี วามร้ใู นการปฏิบตั ิงาน 1.5 ให้คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค กาหนดแนวทาง มาตรฐานวธิ ปี ฏิบัติ ตลอดจนกากับดูแลให้คาแนะนาการ ปฏบิ ตั งิ านแก่ อปท. 1.6 สคบ. ทาหน้าที่เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ความรู้ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชาติ สาหรับการ เผยแพร่และประชาสัมพันธใ์ นระดับพ้ืนที่ให้ อปท. เป็น หน่วยงานดาเนินการ 2. การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ความรู้เก่ียวกับ 1. พนักงาน อปท. เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ และ การคุ้มครองผู้บริโภคแก่ผู้บรโิ ภค เทคนคิ วธิ ีการทส่ี ว่ นกลาง (สคบ.) 2. ดาเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ แก่ ประชาชนในเขต อปท. ของตนผ่านทางสื่อวิทยุ สื่อ สงิ่ พิมพ์ หอกระจายข่าวอยา่ งต่อเน่ือง

๒๕ 2.4 วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (External environment) ท่ีมีผลกระทบต่อการทางาน ของหน่วยงาน รวมถงึ การเตรยี มความพรอ้ มและรองรับการเปล่ยี นแปลง ด้วย สถานการณ์และบริบทที่เปล่ียนแปลงไปด้านกฎหมาย ด้านเทคโนโลยี ด้านกระบวนการและ บูรณาการทางานรว่ มกนั ดา้ นโครงสรา้ ง และดา้ นบุคลากร ทาใหส้ านกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บริโภคต้องมีการ วิเคราะห์แนวทางการเตรียมความพร้อมและรองรับการเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมภายนอกหรือ ปัจจัยท่ีไม่สามารถควบคุมได้ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของหน่วยงานตามบทบาทภารกิจด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ การรับเร่ือง ให้คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องทุกข์ผู้บริโภค การบังคับใช้กฎหมาย การตรวจสอบ ควบคุม ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมาย การดาเนินเกี่ยวกับยุทธศาสตร์และนโยบายด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภค การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การสร้างและพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค และการกากับดูแล การประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง ตลอดจนการนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในฐานข้อมูลด้านการ คุม้ ครองผบู้ รโิ ภคของหนว่ ยงาน และวเิ คราะห์รายละเอียดสรปุ ได้ดังนี้ สภาพแวดล้อมภายนอก การเตรยี มความพรอ้ มและรองรบั การเปล่ยี นแปลง โอกาส (Opportunity) 1. รัฐบาลให้ความสาคัญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และ 1. ทบทวน ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ด้านการคุ้มครอง โอกาสท่ีจะไดร้ ับการสนบั สนนุ ด้านบคุ ลากร ผู้บริโภค แผนปฏิบัติราชการ 2563 – 2565 และ 2. การบูรณาการการทางานดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภคใน แผนปฏิบัติราชการรายปีเป็นประจาทุกปีที่สอดรับ ระดับประเทศและต่างประเทศ กับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนปฏิรูปประเทศ 3. มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคทุกภาคส่วนสนับสนุน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นโยบายรัฐบาล การดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคต่อการรับเร่ือง 2. บูรณาการภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ร้องทุกข์ ให้คาปรึกษา แนะนา รณรงค์ เผยแพร่ สื่อมวลชน ภาควิชาการ และต่างประเทศ ร่วมจัดทา ประชาสัมพันธเ์ กย่ี วกบั การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค แผนยทุ ธศาสตรด์ ้านการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมาย 4. การแก้ไข ปรับปรุง กฎหมายด้านการคุ้มครอง ว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ผู้บริโภคมีความทันสมัย และบังคับใช้กฎหมายเป็นไป นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการ ตามทก่ี าหนดไว้ คุ้มครองผู้บริโภค หรือมาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภค 5. การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยด้านการคุ้มครอง สากล ผู้บริโภคอยา่ งตอ่ เนือ่ งทตี่ อบสนองต่อประชาชนให้เข้าถึง 3. จัดทาแผนส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายด้านการ ง่าย สะดวกและรวดเร็ว คุ้มครองผู้บริโภคในระดับจังหวัด และระดับท้องถ่ิน เพื่อกาหนดกลยุทธ์และขับเคล่ือนการดาเนินงานด้าน การคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภมู ภิ าค 4. ทบทวน แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง ผู้บริโภค และกฎหมายว่าดว้ ยขายตรงและตลาดแบบตรง ให้ทันต่อสถานการณ์ และจัดทาแผนพัฒนากฎหมาย ระยะ 4 ปี และรายปี รวมท้ัง พัฒนาฐานข้อมูลด้าน กฎหมาย 12 ดา้ น อยา่ งต่อเนื่องและเป็นปจั จบุ นั 5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของระบบ Core Business / e-Service และระบบสนบั สนนุ การทางานใน องค์กร และการเช่ือมโยงข้อมูล 6 มิติ 28 หน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลบุคคล ข้อมูลนิติบุคคล ข้อมูลร้องทุกข์

๒๖ สภาพแวดล้อมภายนอก การเตรยี มความพร้อมและรองรบั การเปลี่ยนแปลง ข้อมูลอนุญาตการประกอบธุรกิจ ข้อมูลการเตือนภัย ข้อมูลการดาเนินคดี เพื่อรวบรวมเป็นคลังข้อมูล Big Data พัฒนาสู่ระบบ Web Portal ระบบ BI สาหรับ ผู้บรหิ าร สู่ Application OCPB Connect และ Chatbot อุปสรรค (Threat) 1. ลักษณะและรูปแบบการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน 1. กาหนดแนวทางและจัดทาแผนการตรวจสอบ ผู้ประกอบธุรกิจมีการนาเสนอสินค้าและบริการตาม ผู้ประกอบธุรกิจ เพ่ือกากับ ดูแล ควบคุมตรวจสอบ ช่องทางที่หลากหลายเพิ่มขึ้น ส่งผลท่ีอาจก่อให้เกิดการ สินค้าและบริการโดยเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ เอารัดเอาเปรยี บเทยี บผูบ้ ริโภคเพมิ่ ข้ึน คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 2. ลักษณะและรูปแบบการบริโภคนิยมของผู้บริโภคมี 2. การตรวจสอบ Monitor ด้านโฆษณาสนิ คา้ และบริการ ทิศทางที่เปล่ียนแปลงไป เน่ืองจากผู้บริโภคชอบความ อย่างต่อเนื่องและเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ สะดวก สบาย เข้าถึงสินค้าและบริการง่ายและรวดเร็ว คุ้มครองผู้บริโภค รวมท้ัง บูรณาการการทางานร่วมกับ โดยผ่านชอ่ งทางที่หลากหลายในรปู แบบออนไลน์เพิม่ ข้ึน เครือข่ายทุกภาคส่วนเพ่ือปลูกฝังและผลักดันการ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และ คุม้ ครองผู้บริโภคทต่ี อบสนองต่อประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังมีการบูรณาการงานด้าน 3. ส่งเสริมการดาเนินงานตามแผนส่งเสริมและพัฒนา การคมุ้ ครองผบู้ ริโภคยงั ไม่เต็มประสทิ ธภิ าพ เครือข่ายด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับจังหวัด 4. การเปิดการค้าเสรีระหว่างประเทศ ส่งผลทาให้สินค้า และระดับท้องถ่ิน และการดาเนินงานตามระเบียบ และบริการผ่านเข้าสู่ตลาดได้โดยง่าย ทาให้การกากับ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคว่าด้วยการปฏิบัติ ดูแล ตรวจสอบ ควบคุมสินค้าและบริการจาเป็นต้องมี ราชการเพ่ือประชาชนของคณะอนุกรรมการคุ้มครอง ความรัดกมุ เพิ่มขึ้น เพ่ือเป็นการปอู งกันสนิ คา้ และบริการ ผู้บริโภคประจาจังหวัดในการดาเนินการเกี่ยวกับการรับ ที่ไมป่ ลอดภยั เร่อื งราวร้องทกุ ข์ พ.ศ. 2562 5. ประชาชนขาดการรับรู้สิทธิผู้บริโภค และกฎหมาย 4. การดาเนินงานพัฒนาความร่วมมือภายใต้กรอบ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค อาจทาให้เกิดปัญหาเก่ียวกับ นโยบายและมาตรการของอาเซียนด้านการคุ้มครอง การบรหิ ารจัดการและแกไ้ ขปัญหาเรอื่ งร้องทุกข์ผู้บริโภค ผ้บู ริโภคอย่างตอ่ เน่อื งเป็นรูปธรรม เพ่ิมข้นึ 5. สารวจการรับรู้ข้อมูลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของ ประชาชนในระดับประเทศ และนาผลสารวจมาจัดทา แผนการพัฒนางานประชาสัมพันธ์เชิงรุกด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค และแผนการปรับปรุงการดาเนินงาน ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภค เพื่อพัฒนาให้ เกิดความรวดเร็ว ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค รวมท้ัง การจัดทาฐานข้อมลู สนิ ค้าที่ไมป่ ลอดภัย

๒๗ 2.5 ปัญหาการดาเนินงาน หรือการบริหารงานของกรม อันเนื่องมาจากโครงสร้างส่วนราชการเดิม ไม่เหมาะสม สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ท่ีผ่านมาสานักงาน ได้ปฏิบัติงานตามอานาจหน้าที่และบทบาท ภารกิจท่ีได้รับมอบหมายอย่างเต็มประสิทธิภาพ แต่เน่ืองจากสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้มีการ ปรับปรงุ พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2562 โดยมีบทบาทภารกิจอานาจหนา้ ทีเ่ พ่มิ เตมิ ดังนี้ ข้อกฎหมาย บทบาทหน่วยงาน 1. มาตรา 8 กาหนดให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสามารถ สานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคต้อง มอบหมายเจ้าพนักงานท้องถ่ินให้ปฏิบัติการตาม ทาหน้าท่ีในการขับเคล่ือนนโยบายการคุ้มครอง พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือแก้ไขข้อจากัด ผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค ในการสร้างการรับรู้และ ด้านบุคลากรในส่วนภูมิภาค และเพื่อให้มีเจ้าหน้าท่ี ความเข้าใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้สามารถ ที่ปฏิบัติงานเพียงพออันจะทาให้การตรวจสอบ ติดตาม ปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการบริหาร กากบั ดแู ลเป็นไปอยา่ งทวั่ ถงึ และมีประสิทธภิ าพเพิ่มขึน้ จัดการบุคลากรของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค ในการ ถ่ายทอดแนวทางการดาเนินงาน การรับเรื่อง แก้ไข ปัญหา การตรวจสอบ ติดตาม กากับดูแลเป็นไปอย่าง ทวั่ ถึงและมีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน 2. มาตรา 9 การปรบั องค์ประกอบคณะกรรมการ สคบ. ต้องสนับสนุน เสนอแนะ ให้ข้อมูลด้านการ คุม้ ครองผบู้ รโิ ภค กาหนดให้มคี ณะกรรมการคุ้มครอง คุ้มครองผู้บริโภค แก่คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ผบู้ รโิ ภค ประกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรี เปน็ ประธาน ตลอดจนการรับฟังความคิดเห็นท่ีรอบด้านและ กรรมการ ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี ปลัดกระทรวง ครอบคลมุ ยิง่ ข้ึน อันจะชว่ ยให้การค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค เกษตรและสหกรณ์ ปลดั กระทรวงคมนาคม มปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ข้นึ ปลดั กระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม ปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ปลัดกระทรวง อตุ สาหกรรม และผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินแปดคนซ่ึง คณะรัฐมนตรแี ตง่ ต้งั ตามหลกั เกณฑ์ท่รี ฐั มนตรีกาหนด โดยต้องมีผู้แทนทม่ี ีความรูค้ วามเชีย่ วชาญดา้ นการ คุ้มครองผบู้ ริโภคจากภาควชิ าการ ภาคประชาชน และภาคผู้ประกอบธรุ กิจอย่างนอ้ ยภาคละสองคนเป็น กรรมการ เพอื่ รบั ฟังความเห็นจากหน่วยงานของรัฐ หรอื ผ้ทู รงคุณวุฒเิ กี่ยวกับการคมุ้ ครองผู้บริโภคทรี่ อบ ดา้ นและครอบคลุมยิง่ ขึน้ อนั จะชว่ ยให้การคุม้ ครอง ผบู้ รโิ ภคมปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. มาตรา 10 (3) คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมี สคบ. ต้องสนับสนุน เสนอแนะ และให้ความเห็นแก่ อานาจหน้าที่เพิ่มขึ้นในการกาหนดแนวทางการแจ้งหรือ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเก่ียวกับแนวทางใน โฆษณาข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจกระทบ การแจ้งหรือโฆษณาข่าวสารเก่ียวกับสินค้า/บริการ ตอ่ สทิ ธขิ องผูบ้ ริโภคหรอื อาจกอ่ ให้เกิดความเสียหายหรือ ที่อาจกระทบต่อสิทธิหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหาย เส่ือมเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค ตามมาตรา 20 (2/2) ตอ่ ผู้บรโิ ภค เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินการแจ้งหรือโฆษณา

๒๘ ข้อกฎหมาย บทบาทหนว่ ยงาน ทเี่ หมาะสมและไม่สร้างความเสียหายให้ผู้ประกอบธุรกิจ เกิดสมควร 4. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (8/1) คณะกรรมการ สานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคมี คมุ้ ครองผบู้ ริโภคมอี านาจหนา้ ที่เพม่ิ ขึ้นในการจัดทาแผน บทบาทภารกิจต้องจัดทาแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคให้สอดคล้องกับ ผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศโดยมีการบูรณาการ ยทุ ธศาสตรช์ าติ นโยบายของรฐั บาล มติคณะรัฐมนตรี ที่ การทางานร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามแผน เกยี่ วกบั การคุ้มครองผบู้ รโิ ภค หรอื มาตรฐานการคมุ้ ครอง ยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้การคุ้มครอง ผู้บริโภคสากล เพ่ือให้มีแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศมีประสิทธิภาพอย่าง ผู้บริโภคที่เกิดจากการบูรณาการการทางานของ ยั่งยืน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องแบบองค์รวม อันจะทาให้การ 2522 ตลอดจนสนับสนุน เสนอแนะ ให้ความเห็นการ คมุ้ ครองผบู้ ริโภคมปี ระสิทธิภาพ ดาเนินงานเกี่ยวกับการจัดทา ทบทวน ประเมินหรือ 5. มาตรา 10 วรรคหนึ่ง (9/1) คณะกรรมการ ปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติราชการหรือ คุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพ่ิมข้ึนในการเสนอ การดาเนนิ งานตามแผนยุทธศาสตรก์ ารคุ้มครองผู้บริโภค ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการตรากฎหมาย รวมทั้งในการออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย แกไ้ ขหรอื ปรบั ปรงุ กฎหมายหรือกฎเก่ียวกับการคุ้มครอง และกฎเกี่ยวกบั การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค ผู้บริโภคให้สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ด้านการ คุ้มครองผู้บรโิ ภค 6. มาตรา 10 วรรคหน่ึง (9/2) คณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพ่ิมข้ึนในการเสนอ ความเห็นต่อส่วนราชการ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ หรือ องค์กรอ่ืน เพ่ือจัดทา ทบทวน ประเมินหรือปรับปรุง มาตรการ และแนวทางการปฏิบัติราชการหรือการ ดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค รวมท้ังในการออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย และกฎเกยี่ วกบั การค้มุ ครองผูบ้ ริโภค 7. มาตรา 10 วรรคหน่ึง (9/3) คณะกรรมการ สคบ. ต้องสนับสนนุ เสนอแนะ และให้ความเหน็ แก่ คุ้มครองผู้บริโภคมีอานาจหน้าที่เพิ่มข้ึนในการพิจารณา คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ในการพจิ ารณา วนิ ิจฉัยชี้ขาดการใช้บังคับกฎหมายเก่ียวกับการคุ้มครอง วนิ ิจฉัยช้ขี าดการใชบ้ งั คับกฎหมายเกย่ี วกับการคุ้มครอง ผบู้ ริโภค ตามมาตรา 21 วรรคสอง เพื่อให้มีองค์กรกลาง ผูบ้ ริโภค ใ น ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข า ด ใ น ก ร ณี ที่ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ มี ความเห็นแตกตา่ งกนั 8. มาตรา 14 (1/1) กาหนดให้มีคณะกรรมการ หน่วยงานจาเป็นต้องมีบทบาทดาเนินงานเก่ียวกับงาน เฉพาะเรื่อง เพ่ิมข้ึนคือคณะกรรมการว่าด้วยความ เลขานกุ ารของคณะกรรมการว่าด้วยความปลอดภัยของ ปลอดภัยของสินค้าและบริการ เพ่ือคุ้มครองผู้บริโภค สนิ คา้ และบริการเพมิ่ ขน้ึ ด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการเป็นการเฉพาะ และมาตรา 14 วรรคสาม กาหนดวาระการดารง ตาแหน่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องคราวละ 3 ปี

๒๙ ขอ้ กฎหมาย บทบาทหนว่ ยงาน หรือนามาตรา 11 วรรคสอง และวรรคสาม และมาตรา 12 มาใช้ประกอบโดยอนโุ ลม 9. มาตรา 20 (2/1) กาหนดให้สานักงาน กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ต้องทาหน้าที่ส่งเสริม คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมและสนับสนุน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมและการรวมตัวกันของ การมีส่วนร่วมและการรวมตัวกันของผู้บริโภคในการ ผู้บริโภคในการจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภค และส่งเสริม จัดต้ังองค์กรของผู้บริโภค และส่งเสริมองค์กรของ องค์กรของผู้บริโภคในการรักษาสิทธิของผู้บริโภคตาม ผู้บริโภคในการรักษาสิทธิของผู้บริโภคตามแผน แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค ตลอดจนการแจ้ง ยุทธศาสตร์การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค หรือโฆษณาข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจ 10. มาตรา 20 (2/2) แจ้งหรือโฆษณาข่าวสาร กระทบต่อสิทธิของผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความ เก่ียวกับสินค้าหรือบริการที่อาจกระทบต่อสิทธิของ เสยี หายหรอื เส่อื มเสียแก่สิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเส่ือมเสีย แก่สิทธิของผู้บริโภค โดยจะระบุชื่อสินค้าหรือบริการ หรือชอ่ื ของผปู้ ระกอบธุรกจิ ดว้ ยก็ได้ 11. มาตรา 20/1 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง สคบ. มอี านาจโฆษณาคาพิพากษาถึงที่สุด กรณีผู้ ผู้บริโภคมีอานาจโฆษณาคาพิพากษาถึงท่ีสุด กรณี ประกอบธุรกจิ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัติ ผู้ประกอบธุรกิจฝุาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย น้ี หรือการไมป่ ฏบิ ัติตามประกาศหรือคาส่ังและการเขา้ หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคาส่ัง และการเข้า ดาเนินการแทน เพ่ือเป็นการป้องกนั ความเสียหายและ ดาเนนิ การแทน เป็นช่องทางการเผยแพรข่ ่าวสารเกยี่ วกับสนิ ค้าหรือ บริการไปยังผู้บริโภค โดยเปน็ การให้ความคุ้มครอง ผบู้ ริโภคในระยะเร่มิ แรกต้ังแต่ข้นั ตอนการตัดสนิ ใจ 12. มาตรา 28 กรณคี ณะกรรมการวา่ ด้วยการโฆษณา กองคมุ้ ครองผ้บู ริโภคด้านโฆษณา ต้องดาเนินการตาม เห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่าข้อความใดท่ีใช้ในการ บทบาทอานาจหน้าทตี่ ามมาตรา 28 เก่ียวกับการออก โฆษณาเป็นเท็จหรือเกินจริง คณะกรรมการสามารถออก คาสงั่ ระงบั การโฆษณาเปน็ การช่ัวคราว ตามกฎหมาย คาส่ังให้ผกู้ ระทาการโฆษณาพสิ ูจน์เพือ่ แสดงความจริงได้ วา่ ดว้ ยการค้มุ ครองผู้บริโภค หรือกรณีเร่งด่วน อาจออกคาส่ังระงับการโฆษณา ดงั กลา่ วเป็นการช่วั คราวหรือจะทราบผลการพสิ ูจนก์ ไ็ ด้ 13. มาตรา 29/1 – 29/17 การดาเนินงานเกี่ยวกับ จาเป็นต้องมหี นว่ ยงานในการกากับดูแลการคุ้มครอง การคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและ ผ้บู ริโภคด้านความปลอดภยั ของสินค้าและบริการเพ่มิ ขึน้ บริการ 14. มาตรา 39/1 กาหนดใหเ้ ลขาธิการคณะกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอานาจ คุ้มครองผู้บริโภค มีอานาจดาเนินคดีเก่ียวกับการละเมิด ในการดาเนินคดีเก่ียวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค สิทธิของผู้บริโภคแทนผู้บริโภคได้ และมีอานาจแต่งต้ัง แทนผู้บริโภคได้ หรืออาจแต่งตั้งข้าราชการใน สคบ. ข้าราชการใน สคบ. ท่ไี มต่ ่ากว่าปรญิ ญาตรีทางนติ ศิ าสตร์ เปน็ เจ้าหน้าทค่ี มุ้ ครองผบู้ ริโภคเพื่อดาเนินคดีแพงและ เป็นเจ้าหน้าท่ีคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อดาเนินคดีแพงและ คดีอาญาแก่ผู้กระทาการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคใน คดีอาญาแก่ผู้กระทาการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคในศาล ศาลได้ ได้

๓๐ ขอ้ กฎหมาย บทบาทหนว่ ยงาน 15. มาตรา 62 ความผิดตามกฎหมายท่ีมีโทษปรับ สคบ. ต้องมีบทบาทการถ่ายทอดการดาเนินงาน สถานเดียว หรือเป็นความผิดท่ีมีโทษปรับหรือมีโทษ เปรียบเทียบความผิดด้านการคุ้มครองผู้บริโภค แก่ จาคุกไม่เกินหน่ึงปี ให้คณะกรรมการมีอานาจ พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือเจ้าพนักงาน เปรยี บเทียบได้ และใหค้ ณะกรรมการมอี านาจมอบหมาย ท้องถ่ิน ในการดาเนินการเปรียบเทียบได้ รวมท้ังค่าปรับ ให้คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะอนุกรรมการ จากการเปรียบเทียบท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเจ้าพนักงาน ปฏิบัติการและดาเนินการเปรียบเทียบความผิดที่ได้รับ ท้องถ่ิน ดาเนินการเปรียบเทียบได้ รวมท้ังค่าปรับจาก มอบหมายตามมาตรา 62 น้ี ให้ตกลงเป็นรายได้ของ การเปรียบเทียบท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ตามมาตรา 63 ปฏิบัติการและดาเนินการเปรียบเทียบความผิดที่ได้รับ มอบหมายตามมาตรา 62 น้ี ให้ตกลงเป็นรายได้ของ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามมาตรา 63 จากการปรับปรุงพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2562 เป็นผลทาให้อานาจหน้าท่ีและ การปรับปรุงโครงสร้างมีสภาพปญั หาภายในท่ีเกดิ ขนึ้ ประกอบกับบทบาทดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศท่เี ปล่ียนแปลงไป ทาใหส้ ว่ นราชการต้องมกี ารปรบั รปู แบบกระบวนการทางานสู่ Digital Transformation พบวา่ มสี ภาพปญั หา ดังนี้ 1. เน่ืองจากรฐั บาลได้ให้ความสาคัญกับการคุ้มครองผู้บริโภคในการปรับปรุงระบบกลไกการคุ้มครอง ผู้บริโภคให้มีความทันสมัย ทัดเทียมระดับสากล และสามารถช่วยเหลือเยียวยาผู้บริโภคได้ทันท่วงทีทั้งใน ประเทศและตา่ งประเทศ ซ่ึงปัจจุบันหน่วยงานได้มีการขับเคล่ือนนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค ดา้ นตา่ งประเทศ และงานทดสอบหรือพสิ จู น์สินค้าหรือบริการใดเพ่ือคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคอย่างต่อเน่ือง โดยมี บทบาทในการรับเรื่องและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และต่างประเทศ การตรวจสอบ ผู้ประกอบธุรกิจ การดาเนินการเกี่ยวกับสินค้าและบริการท่ีไม่ปลอดภัยหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค การ ส่งเสริมความรคู้ วามเขา้ ใจ เผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภค ตลอดจนการประสานงานกับ หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งด้านการคุม้ ครองผบู้ ริโภค แตเ่ นอ่ื งจากหน่วยงานมีปรมิ าณอัตรากาลังที่มีอยู่อย่างจากัดใน การขับเคล่ือนการคุ้มครองผู้บริโภค ซ่ึงปัจจุบันบุคลากรของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคท่ี ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนภูมิภาค ไม่มีสถานะเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 จึงต้องอาศัยหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ที่คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคแต่งตั้งให้เป็นพนักงาน เจ้าหน้าท่ตี ามกฎหมายปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีแทน ท้ังนี้ ได้มกี ารปรับปรงุ พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผูบ้ ริโภค มาตรา 8 ให้ เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ทาให้หน่วยงานต้องมี การขับเคล่ือนนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคเพ่ิมขึ้น ในการสร้างความรู้ความเข้าใจในการ ปฏิบัติงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคแก่เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนการบริหารจัดการ บุคลากรของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค ในการถ่ายทอดแนวทางการดาเนินงานการรับเร่ืองและแก้ไขปัญหา การ ตรวจสอบ ติดตาม กากับดูแลเป็นไปอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ความ เชย่ี วชาญดงั กล่าว อันจะส่งผลให้การแก้ไขปัญหาเรือ่ งร้องทุกข์ของผู้บริโภคมีความสะดวก รวดเร็ว สร้างความ เป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าระหว่างผู้บริโภคที่มีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ ผบู้ รโิ ภคท่มี ภี มู ิลาเนาอย่ใู นภมู ิภาคและท้องถิน่ ได้ 2. การดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562 มาตรา 62 กาหนดใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถดาเนินการเปรียบเทียบความผิดได้ โดยค่าปรับท่ีได้ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน เป็นรายได้จากการดาเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็น

๓๑ แรงจูงใจและเพิ่มบทบาทให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการคุ้มครองผู้บริโภคมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นและ แก้ไขข้อจากัดด้านบุคลากรในส่วนภูมิภาค และจะทาให้มีเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานเพียงพออันจะทาให้การ ตรวจสอบ ติดตาม กากบั ดแู ลเป็นไปอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ซ่ึงสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภคจาเป็นต้องขับเคลื่อนงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค ต้องมีการประสานงานและ เร่งดาเนนิ การในการสร้างความรู้ความเข้าใจถึงแนวทางวิธีการปฏิบัติตามกระบวนงานร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้มีการสอดรับเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้ สามารถดาเนนิ งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและทัว่ ถงึ 3. การดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคเป็นการดาเนินงานในรูปแบบของ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัดตามมติคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค อันมีองค์ประกอบ ด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการ อัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชนและการบังคับคดีจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ เป็นอนุกรรมการ และผู้อานวยการ กลุ่มงานศูนย์ดารงธรรมจังหวัด เป็นอนุกรรมการและเลขานุการมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ภายในจังหวัด เพื่อร่วมพิจารณาดาเนินคดีแทนผู้บริโภค และพิจารณาเห็นชอบในการดาเนินงานด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค การที่คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการ ซ่ึงมภี ารกจิ ประจาของหนว่ ยงานหลายดา้ นและมปี รมิ าณงานมาก ทาให้ไม่สามารถดาเนินงานด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภคได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ หน่วยงานจึงจาเป็นต้องมีการกาหนดนโยบายหรือทิศทางการดาเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคในระดับจังหวัดและท้องถ่ินให้ชัดเจนและครอบคลุมระดับประเทศ เพ่ือให้การดาเนินงาน คมุ้ ครองผู้บรโิ ภคในส่วนภูมภิ าคมปี ระสิทธิภาพเพมิ่ ข้ึน 4. คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้กาหนดให้คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด มีอานาจและหน้าท่ีในการรับและพิจารณากลั่นกรองคาร้องทุกข์จากผู้บริโภคท่ีได้รับความเสียหายอันเน่ืองมาจาก การกระทาของผู้ประกอบธุรกิจ ไม่ได้รับความเป็นธรรมในการซ้ือสินค้า หรือบริการเพ่ือนาเสนอต่อคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคพิจารณาใช้อานาจดาเนินคดีแทนผู้บริโภคตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจเพื่อปูองกันมิให้มีการกระทาใด ๆ อันจะเป็นการ ละเมิดสิทธิผู้บริโภคได้ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน และสร้างเครือข่ายความเข้มแข็งของ ประชาชนเพอ่ื ปูองกนั การละเมิดสิทธิของผู้บริโภค โดยเป็นภารกิจท่ีต้องใช้งบประมาณ และอัตรากาลังในการ ดาเนินงาน ซ่ึงสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้จัดสรรงบประมาณให้จังหวัดทุกจังหวัดจ้างเหมา บุคลากรเพียง 2 คน เท่าน้ัน ประกอบกับ การพิจารณาเรื่องร้องทุกข์จากผู้บริโภคเพ่ือนาเสนอคณะกรรมการ คุ้มครองผบู้ รโิ ภคพิจารณาใชอ้ านาจดาเนนิ คดีแทนผู้บริโภคนนั้ จะตอ้ งมเี งือ่ นไขในการพจิ ารณาประกอบด้วย - ผู้ร้องเป็นผู้บริโภคตามคานิยามในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 หรือไม่ - มกี ารกระทาอันเป็นการเขา้ ข่ายละเมิดสิทธขิ องผู้บริโภคหรอื ไม่ - การดาเนินคดจี ะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้บรโิ ภคโดยส่วนรวมหรือไม่ ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ียุ่งยาก ซับซ้อน และไม่เก่ียวข้องกับอานาจหน้าท่ีในการดาเนินงานของ หัวหน้าส่วนราชการอ่ืน ๆ ที่เป็นคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด ส่งผลให้การแก้ไขปัญหา เยียวยาความเสียหายของผู้บริโภคเป็นไปอย่างล่าช้า ไม่ทันต่อสถานการณ์ ไม่สามารถดาเนินการตรวจสอบผู้ ประกอบธุรกิจให้ดาเนินการตามที่กฎหมายได้กาหนดให้ต้องปฏิบัติตามได้ และก่อให้เกิดความเสียหายท่ีจะ เกิดขนึ้ แก่ประชาชนในส่วนภูมิภาค

๓๒ 5. กลไกการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามท่ี คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีคาสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาเทศบาล และ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาองค์การบริหารส่วนตาบล โดยกาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบล ต้องจัดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องทุกข์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในพ้ืนที่ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย อันเนื่องมาจากการกระทาของผู้ประกอบธุรกิจ และดาเนินการเจรจาไกล่เกล่ียระงับข้อพิพาทในเบ้ืองต้น หาก คู่กรณีไม่สามารถตกลงกันได้ให้รวบรวมข้อเท็จจริงนาเสนอคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด พิจารณาดาเนนิ การต่อไป พบวา่ การดาเนินงานขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ยงั มีปัญหา ไดแ้ ก่ 5.1 ผูบ้ รหิ ารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เหน็ วา่ งานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคไมใ่ ช่ภารกิจหลักท่ีมีความ จาเป็นเร่งด่วน เน่ืองจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอนมาเป็นจานวนมาก ประกอบ กับงานพน้ื ฐานของส่วนท้องถ่นิ ตามกฎหมาย คอื งานดา้ นสาธารณูปโภคและสิ่งแวดล้อม กรณีงานส่วนท้องถิ่น ที่เป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วก็จะมงุ่ เนน้ ให้ความสาคญั ต่อการพัฒนาสถานท่ีทอ่ งเทยี่ วเปน็ หลัก 5.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้เก่ียวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ทา ให้ไม่มีเจ้าหน้าท่ีท่ีจะรับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านฉลาก โฆษณา และสัญญา ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภคฯ และเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบเรื่อง การประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง ตาม พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง จึงไม่มีความพร้อมในการดาเนินการเจรจาไกล่เกล่ียและแก้ไข ปัญหาใหก้ ับผบู้ ริโภคไดอ้ ย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ 5.3 ความแตกต่างของศักยภาพการดาเนินงานของส่วนท้องถ่ินในแต่ละแห่ง เช่น การบริหาร จัดการงบประมาณ และบุคลากร ท่มี ีทรัพยากรในด้านต่าง ๆ ไม่เท่ากัน บางแห่งอาจมีทรัพยากรมาก บางแห่ง อาจมีทรพั ยากรนอ้ ย เปน็ ตน้ 6. หน่วยงานมีบทบาทภารกิจเพิ่มข้ึนตามมาตรา 10 (8/1) (9/1) (9/2) (9/3) เกี่ยวกับการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศ โดยจาเป็นต้องมีการบูรณาการการทางานร่วมกับ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือให้การคุ้มครองผู้บริโภคในภาพรวมของ ประเทศมีประสิทธิภาพมั่นคงและยั่งยืน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 และต้องสนับสนุน เสนอแนะ ให้ความเห็นแก่คณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค ในการดาเนินงานเก่ียวกับการจัดทา ทบทวน ประเมิน หรือปรับปรุงมาตรการ แนวทางการปฏิบัติราชการหรือการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค การออกกฎหมาย บังคับใชก้ ฎหมาย กฎเกยี่ วกบั การคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค รวมทัง้ การพจิ ารณาวนิ ิจฉยั ชขี้ าดการใชบ้ งั คบั กฎหมายเก่ียวกบั การคมุ้ ครองผบู้ ริโภค 7. ปัจจบุ นั ส่วนความร่วมมอื กบั ต่างประเทศ เข้ามามีบทบาทในการบริหารจัดการรับเร่ืองร้องทุกข์ เจรจา ไกล่เกล่ีย สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง และให้ความช่วยเหลือผู้บริโภคข้ามแดน ท้ังกรณีคนไทยท่ีถูกละเมิดสิทธิ ผบู้ รโิ ภคในตา่ งประเทศ คนไทยทซี่ อื้ สนิ ค้าออนไลน์จากต่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงผู้บริโภคไทยกว่า 66 ล้านคน และชาวต่างประเทศท่ีถูกละเมิดสิทธิผู้บริโภคในประเทศไทยหรือสินค้าออนไลน์จากผู้ประกอบธุรกิจไทยซึ่งมี จานวนมหาศาลจากทั่วโลก และพบว่ามีอุปสรรคในเรื่องการจัดการโครงสร้างของส่วนความร่วมมือกับ ต่างประเทศ อันเนื่องมาจากตามนโยบายของอาเซียนได้มุ่งเน้นให้ทุกประเทศมีหน่วยงานเยียวยาผู้บริโภคข้าม แดน (Cross-border Redress Center) เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินการแก้ไขปัญหาผู้บริโภคข้ามแดนระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียน และระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับคู่เจรจา ได้อย่างรวดเร็ว กระชับ และเป็นแบบ Real time โดยขณะนี้ ผู้ทาหน้าท่ีรับเรื่องร้องทุกข์ สืบข้อเท็จจริง เจรจาไกล่เกลี่ย ประนีประนอม จัดทาสานวน คดี ดาเนินการโดยนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ ในขณะที่อานาจหน้าที่ในการ

๓๓ ทาคดดี งั กล่าว ตอ้ งดาเนินการโดยนักสืบสวนสอบสวนหรือนิติกรเท่าน้ัน จึงเป็นประเด็นท่ีว่า ขณะนี้ นักวิเคราะห์ นโยบายและแผนของส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ ปฏิบัติงานที่นอกเหนือจากอานาจหน้าที่ของตน ประกอบ กับโครงสร้างของสานกั แผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค จะไม่มีอัตรากาลังท่ีเป็นนักสืบสวนสอบสวนหรือ นิติกร ดังนั้น จึงเป็นประเด็นข้อขัดแย้งที่ว่า ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ จาเป็นจะต้องแยกโครงสร้างออก จากสานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้มีอัตรากาลังที่เป็นนักสืบสวนสอบสวนและนิติกรท่ีมี ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ เพื่อบริหารจัดการภารกิจด้านการเยียวยาผู้บริโภคข้ามแดนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพและสามารถดาเนินการได้อย่างสัมฤทธิผลตามตัวชวี้ ัดทก่ี าหนด 8. ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศไม่สามารถจัดตั้ง “ศูนย์เยียวยาผู้บริโภคข้ามแดน” ได้ตามนโยบาย ของอาเซียน เน่ืองจากอุปสรรคทางด้านโครงสร้างของสานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค จึงทาให้ ภารกิจดังกล่าวล่าช้าออกไปเกินกว่าที่ควรจะเป็น ท้ังนี้ ในการจัดต้ังศูนย์เยียวยาผู้บริโภคข้ามแดน ได้มีการจ้างท่ี ปรึกษาเพ่ือร่างแนวทางและโครงสร้างของศูนย์ฯ เรียบร้อยแล้ว อันประกอบไปด้วย คณะกรรมการท่ีทาหน้าที่ วินิจฉัยคดีระหว่างประเทศ และเจ้าหน้าท่ีท่ีทาหน้าที่สืบสวนสอบสวน เจรจาไกล่เกล่ีย และจัดทาสานวนคดี ผู้บริโภคข้ามแดน ประกอบกับขณะน้ี องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ได้เสนอให้ความ ช่วยเหลือในการร่างแนวทางการจัดต้ังศูนย์เยียวยาผู้บริโภคข้ามแดนของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภค โดยใช้ต้นแบบจากองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคภาครัฐของประเทศในสหภาพยุโรป เป็นแบบอย่าง ทาให้ใน อนาคตอันใกล้นี้ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจาเป็นจะต้องปรับโครงสร้างองค์กร ให้ส่วนความ ร่วมมอื กบั ต่างประเทศสามารถขบั เคลื่อนศูนย์เยยี วยาผู้บริโภคข้ามแดนได้โดยเร็วที่สุด 9. ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศ ตามบทบาทภารกิจการคุ้มครองผู้บริโภคที่ปรากฏในข้อบท ข้อตกลง และพันธกรณีระหว่างประเทศ จานวน 19 รายการ ขณะนี้ส่วนใหญ่อยู่ในระหว่างเร่ิมต้นดาเนินการ เจรจาการร่างข้อบทและมีบางส่วนท่ีอยู่ในระยะขับเคล่ือนงานเบื้องต้น โดยเป็นท่ีแน่นอนว่าในอนาคตอันใกล้ ภายใน 1 ปีนี้ จะต้องขยายขอบเขตการดาเนินงานข้ึนจากระดับ “การจัดทาความร่วมมือ” เป็นระดับ “การ ขับเคล่ือนและดาเนินงานตามความร่วมมือให้สัมฤทธิผลตามแผน” ซ่ึงจะส่งผลกระทบโดยตรงทาให้ภารกิจของ ส่วนความร่วมมือกับต่างประเทศเพ่ิมขึ้นเป็นจานวนมาก และต้องการการบริหารจัดการท่ีรวดเร็ว เพื่อให้ ตอบสนองตอ่ การขบั เคล่ือนงานดา้ นต่างประเทศได้อย่างทันเวลา 10. หน่วยงานมีบทบาทเพ่ิมขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 14 (1/1) ในการกาหนดให้มีคณะกรรมการเฉพาะเร่ือง เพิ่มขึ้นคือ คณะกรรมการว่าด้วยความปลอดภัยของสินค้าและบริการ และมาตรา 29/1 – 29/17 การดาเนนิ งานเก่ยี วกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคด้านความปลอดภัยของสินค้าและบริการ และจาเป็นต้องดาเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการ ของคณะกรรมการว่าดว้ ยความปลอดภยั ของสินค้าและบริการเพ่ิมขึ้น 2.6 การวเิ คราะห์บทบาทหน้าท่แี ละภารกิจของหนว่ ยงานในอนาคต 2.6.1 สานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด มีความจาเป็นขอจัดต้ังใหม่เป็น “กอง ค้มุ ครองผูบ้ ริโภคในส่วนภูมิภาค” ในปี พ.ศ. 2558 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้มีคาส่ังที่ 158/2558 ลงวันท่ี 25 ธันวาคม 2558 เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบกับ มติ อ.ก.พ. สานักนายกรัฐมนตรี ในการประชุม ครั้งท่ี 4/2558 เมื่อวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2558 ให้กาหนด หน่วยงานและหน้าท่ีความรับผิดชอบภายในสานัก/กอง ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีส่วน

๓๔ ประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด 1 และ 2 สังกัดสานักแผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค มีหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ ดังนี้ 1. ประสานนโยบายและดาเนนิ การตามแผนยุทธศาสตร์และจัดทาแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติใน ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด และระดับภาคให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งเร่งรดั ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องในพื้นที่ 2. ศึกษา วิเคราะห์ การจัดทาแผนงาน โครงการ ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับจังหวัดและ ระดบั เขตพื้นที่เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครองผบู้ ริโภคให้มีประสิทธิภาพ 3. ให้คาปรึกษา ชี้แนะเพื่อพัฒนาการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้กับเครือข่ายในระดับท้องถิ่น ระดบั จงั หวดั และระดับภาค 4. บริหารจัดการการคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นท่ีที่รับผิดชอบ กลั่นกรองงานรับเรื่องราวร้องทุกข์ ให้ คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกับการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ การเจรจาไกล่เกลี่ย วิธีการประนีประนอมข้อ พิพาทอย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบพฤติการณ์ผู้ประกอบธุรกิจในระดับจังหวัดร่วมกับจังหวัดหรือท้องถิ่ น สนับสนุนการทาหน้าท่ีฝุายเลขานุการ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด คณะอนุกรรมการผู้มี อานาจเปรียบเทียบความผิดท่ีเกิดขึ้นในจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการไกล่เกล่ีย เร่ืองราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคประจาจังหวัด และบูรณาการกับคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคระดับองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และหนว่ ยงานเอกชน 5. สง่ เสริมและสนับสนุนนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดทาข้อมูลพื้นฐานและเป็นการ เชอ่ื มขอ้ มูลการแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผบู้ ริโภค 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมรณรงค์การคุ้มครองสิทธิ ผู้บริโภคสู่ชุมชน รวมถึงการสร้างความร่วมมือในการรวมพลังเป็นผู้บริโภคที่เข้มแข็งโดยการตั้งกลุ่มชมรมและ สมาคมคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคภาคเอกชน ในระดับจังหวดั และท้องถ่ิน 7. ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในกรอบอาเซียนในระดับจังหวัดและ ท้องถิ่น 8. ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานความร่วมมือภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในระดับจังหวดั และระดับท้องถิ่น 9. ติดตามรายงานผลการดาเนินงานคุ้มครองผบู้ ริโภคในจงั หวัดและท้องถนิ่ 10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย ทั้งน้ี เพื่อเป็นการทดลองแนวทางการบริหารงานในส่วนภูมิภาค การประสานนโยบายและการ ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ สู่การปฏิบัติระดับจังหวัดและท้องถิ่น และเป็นการรองรับนโยบาย การดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถ่ิน อันจะเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ให้บริการประชาชนด้านการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคในพ้ืนท่ีสว่ นภมู ิภาค ตอบสนองต่อความตอ้ งการของประชาชนให้ ได้รับการคุ้มครองอย่างทั่งถึง ทันต่อสภาวการณ์และสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชนให้สามารถ เข้าถึงการบริการของรัฐได้ง่ายขึ้น สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจึงได้กาหนดให้มีกลุ่มเขต ตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี สาหรับการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานในพ้ืนท่ี จานวน 9 กลุ่มงาน ดงั น้ี

๓๕ กล่มุ เขต จงั หวัด กลมุ่ เขต 1 ตั้งอยูท่ ่ี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระบุรี จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดชยั นาท จังหวัดลพบรุ ี จงั หวัดสงิ ห์บุรี และจังหวดั อา่ งทอง กลุ่มเขต 2 ตั้งอยูท่ ี่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด จังหวดั ชลบรุ ี สระแกว้ จงั หวดั สมุทรปราการ จงั หวดั จนั ทบรุ ี จังหวัดตราด และจังหวดั ระยอง กลมุ่ เขต 3 ตงั้ อยู่ที่ จงั หวดั นครปฐม จงั หวดั กาญจนบรุ ี จงั หวดั ราชบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด จังหวดั นครปฐม ประจวบครี ขี นั ธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมทุ รสงคราม และจังหวัดสมทุ รสาคร กลมุ่ เขต 4 ตง้ั อยทู่ ี่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี จังหวดั กระบ่ี จงั หวดั ตรงั จงั หวัดพังงา จงั หวดั ภูเกต็ และจงั หวดั ระนอง จงั หวดั สงขลา จังหวัดนราธิวาส จงั หวัดปัตตานี จงั หวัดยะลา และจังหวัดสตูล กลุ่มเขต 5 ตั้งอยู่ที่ จงั หวัดสงขลา จังหวัดอุดรธานี จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัด หนองบวั ลาภู จังหวดั นครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจงั หวัดสกลนคร กลุม่ เขต 6 ตั้งอยู่ที่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลาปาง จังหวัดลาพูน จังหวัด จงั หวัดอดุ รธานี เชยี งราย จังหงวดั น่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร่ จังหวัดพษิ ณุโลก จงั หวัดตาก จงั หวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดอุตรดิตถ์ กลมุ่ เขต 7 ตง้ั อยู่ที่ จังหวัดกาแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวดั อทุ ยั ธานี จังหวดั เชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด ศรีสะเกษ จงั หวดั ยโสธร จังหวัดอานาจเจริญ และอุบลราชธานี กลมุ่ เขต 8 ตั้งอยทู่ ี่ จงั หวัดพิษณโุ ลก กลุ่มเขต 9 ตั้งอยู่ที่ จังหวัดนครราชสมี า โดยให้มีอานาจและหน้าท่ีในการประสานนโยบายและดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์และจัดทา แผนปฏิบัติการไปสูก่ ารปฏบิ ัติในระดบั จังหวัดและท้องถ่ิน ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ รวมท้ัง เร่งรัด ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ บริหารจัดการเร่ืองร้องทุกข์ สนับสนุนการทาหน้าที่ ฝุายเลขานุการของคณะอนุกรรมการในระดับจังหวัดและท้องถิ่น ตลอดจนการสนับสนุนการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมรณรงค์การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคให้กับประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ โดยให้ อย่ภู ายใต้การบงั คบั บัญชาของผู้อานวยการกองคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค และกาหนดให้มีพนักงานจ้าง เหมาบรกิ ารปฏิบตั หิ นา้ ท่กี ล่มุ งานจานวน 4 คน เพือ่ ทาหน้าที่ ดังนี้ 1. ประสานนโยบายและดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคไปสู่การปฏิบัติ ในระดบั จังหวดั และทอ้ งถนิ่ 2. เร่งรัดและประสานการดาเนินการตามแผนงาน/โครงการในระดับจังหวัด และท้องถ่ิน เพื่อ ส่งเสรมิ สนับสนุนการดาเนนิ งานคุ้มครองผู้บริโภคใหม้ ีประสิทธิภาพ 3. ตดิ ตาม รวบรวม สรปุ ผลการดาเนนิ งานในระดับจังหวัด และทอ้ งถิ่น 4. ใหค้ าปรกึ ษา ชแี้ นะการดาเนินงานคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคให้กบั เครอื ขา่ ยในระดับจงั หวดั และท้องถิน่ 5. ปฏิบัติงานอื่นใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

๓๖ ปัจจุบันสานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นหน่วยงานขับเคลื่อนงานด้านการ คุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคเป็นบทบาทหลักในการรับเร่ืองและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ การตรวจสอบ ผู้ประกอบธุรกิจ การให้คาแนะนาผู้ประกอบธุรกิจในการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย การเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์การคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคท้ังในระดับจังหวัดและท้องถ่ิน การดาเนินการเกี่ยวกับการ จดั ประชมุ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีผลการดาเนินงานท่ีผา่ นมา ดงั นี้ 1. สถิติเรื่องร้องทุกข์ในการแก้ไขปัญหาในส่วนภูมิภาคและส่วนกลางของส่วนประสานและส่งเสริมการ ค้มุ ครองผู้บรโิ ภคจังหวัด การแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งร้องทกุ ข์ การแก้ไขปญั หาเรือ่ งร้องทุกข์ (สว่ นกลาง) (สว่ นภมู ิภาค) รับเรื่อง ยตุ ิ รบั เรอ่ื ง ยุติ 716 761 4752 3616 640 574 3919 2925 390 2995 2139 114 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี พ.ศ. เรอื่ งร้องทุกข์ สปจ. (สว่ นกลาง) เรือ่ งร้องทุกข์ สปจ. (ส่วนภูมภิ าค) รับเรื่อง ยตุ ิ รอ้ ยละ ปี 2560 390 114 29.23 รับเรือ่ ง ยตุ ิ ร้อยละ ปี 2561 716 640 89.39 ปี 2562 761 574 75.43 4,752 3,919 82.47 3,616 2,925 80.89 2,995 2,139 71.42 จากตาราง พบว่า การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ในส่วนภูมิภาคดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2560 – 2562 ของสานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดส่วนกลาง มีปริมาณเร่ืองร้องทุกข์น้อยกว่าส่วน ภูมิภาค มีการรับเรื่องโดยเฉล่ีย 622 เร่ือง สามารถยุติได้โดยเฉล่ีย 443 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 71.22 เม่ือ เทียบกับปริมาณเร่ืองร้องทุกข์ในส่วนภูมิภาค พบว่า มีจานวนเร่ืองร้องทุกข์เป็นจานวนมาก มีการรับเร่ืองโดย เฉล่ยี 3,788 เรอ่ื ง สามารถยุติได้โดยเฉลี่ย 2,994 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 79.04 และคาดว่าในอนาคตอาจมี ปริมาณเรื่องร้องทุกข์ท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพ่ิมข้ึน อันเน่ืองมาจากปัจจัยหรือผลกระทบที่ไม่สามารถ ควบคุมได้เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเปลี่ยนแปลง กฎหมายท่ีมีการปรับปรุง แก้ไข เพ่ิมเติมให้ทันต่อ สถานการณ์ รูปแบบของการประกอบธุรกิจ รูปแบบช่องทางการสื่อสารในการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่

๓๗ ผู้บริโภค เป็นต้น ดังน้ัน หน่วยงานจึงจาเป็นต้องเร่งดาเนินการมุ่งเน้นการปรับปรุงระบบและกลไกการคุ้มครอง ผบู้ ริโภค สนบั สนนุ องค์กรของผูบ้ ริโภคให้มีความเข้มแข็ง ปูองกันการละเมิดสิทธิผู้บริโภคและอานวยความยุติธรรม แก่ผู้บรโิ ภคสนบั สนุนการบริโภคอย่างย่ังยืนและต้องส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการคุ้มครอง ผ้บู รโิ ภคอย่างเป็นรูปธรรมเพ่มิ มากขน้ึ จานวนเงนิ ทีผ่ ูบ้ รโิ ภคไดร้ บั การชดเชยเยียวยาปี 2562 และปี 2563 25,000,000 20,869,032 20,000,000 15,000,000 3,269,353 10,000,000 ปี 2563 5,000,000 0 ปี 2562 ปี 2562 ปี 2563 จากสถิติ พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้ดาเนินการช่วยเหลือ ผู้ร้องทุกข์ในส่วนภูมิภาคให้ได้รับการชดเชยเยียวยาได้เป็นจานวนท้ังสิ้น 20,869,032 บาท และในช่วงปี พ.ศ. 2563 ต้ังแต่ 1 ตุลาคม 2563 – 29 กุมภาพันธ์ 2563 สามารถช่วยเหลือผู้ร้องทุกข์ในส่วนภูมิภาคให้ได้รับ การชดเชยเยยี วยาไดเ้ ป็นจานวน 3,269,353 บาท การจดั ประชมุ ในส่วนภมู ภิ าค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จานวนครงั้ การจดั ประชุม คณะอนุกรรมการผมู้ ีอานาจเปรยี บเทยี บความผดิ ฯ 2 54 คณะอนุกรรมการไกลเ่ กล่ยี เร่อื งราวร้องทุกขฯ์ 3 50 60 คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคประจาจังหวดั 0 10 20 30 40 คณะอนุกรรมการคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคประจาจงั หวดั คณะอนุกรรมการไกล่เกลีย่ เรอื่ งราวรอ้ งทุกขฯ์ คณะอนุกรรมการผ้มู ีอานาจเปรยี บเทยี บความผิดฯ จากสถิติการดาเนินงาน พบว่า สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีการจัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการท่ีเกยี่ วขอ้ งในส่วนภูมภิ าค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 รวมจานวนทง้ั สนิ้ 59 ครั้ง

๓๘ 2. การตรวจสอบผู้ประกอบธรุ กิจและให้คาแนะนาผปู้ ระกอบธรุ กิจ ในการตรวจสอบและให้คาแนะนา ผปู้ ระกอบธุรกิจในส่วนภูมิภาค มีการบังคับใช้กฎหมายในการลงโทษผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างเข้มงวด ซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้มีคาส่ังแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจา จังหวัด โดยได้กาหนดให้มีอานาจหน้าที่ในการติดตามและสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจ ซ่ึงกระทา การใด ๆ อันมีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค และอาจจัดให้มีการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้าหรือ บริการใด ๆ ตามที่เห็นสมควร และจาเป็นเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค รวมท้ังให้มีอานาจในการแต่งตั้ง คณะทางานตามท่ีเห็นสมควร ซ่ึงคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจา จังหวัด ได้มีคาส่ังแต่งตั้ง คณะทางานตรวจสอบฉลากสินค้าที่ควบคุมฉลาก คณะทางานตรวจสอบโฆษณา และคณะทางานตรวจสอบ สัญญาธุรกิจท่ีควบคุมสัญญาและหลักฐานการรับเงิน โดยมีหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดซ่ึงเป็นพนักงาน เจา้ หนา้ ท่ีตามพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 เป็นหัวหน้าคณะทางาน ตรวจสอบและให้คาแนะนาผู้ประกอบธรุ กจิ (จานวนราย) ตรวจสอบและใหค้ าแนะนาผู้ประกอบธรุ กิจ (จานวนราย) 3237 2765 2292 ปีงบ 2561 ปีงบ 2562 ปีงบ 2563 ปีงบประมาณ ตรวจสอบและให้คาแนะนาผู้ประกอบธรุ กจิ 2561 2,292 ราย 2562 3,237 ราย 2563 2,765 ราย จากการดาเนินงานทผ่ี ่านมา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2563 สานักประสานและส่งเสริมการ คุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่า ได้ดาเนินการตรวจสอบและให้คาแนะนา ผ้ปู ระกอบธุรกจิ โดยเฉลย่ี จานวน 2,765 ราย แต่ด้วยบทบาทภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีภารกิจ หลายด้าน ทาให้การขับเคล่อื นงานคมุ้ ครองผ้บู ริโภคในส่วนภูมิภาคในอนาคตจาเปน็ ตอ้ งได้รับการบูรณาการและ ขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจน การประสานงาน สรา้ งความรู้ความเข้าใจถงึ แนวทางการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นให้สอดรับกันระหว่างหน่วยงาน และกากบั ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านอย่างเป็นรปู ธรรมเพ่มิ ขึ้น 3. การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค จะดาเนินการเผยแพร่ผ่าน สอ่ื ประชาสัมพันธ์ในจงั หวัด จัดประชุมสัมมนาให้ความรู้ผู้ประกอบธุรกิจและผู้บริโภค โดยส่วนใหญ่กลุ่มเปูาหมาย จะเป็นผู้ประกอบธุรกิจรถยนต์ใช้แล้ว และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซ่ึงไม่ครอบคลุมถึงธุรกิจทุกประเภทตามท่ี คณะกรรมการเฉพาะเรื่องได้ออกประกาศไว้ รวมถึง การจัดงานวันคุ้มครองผู้บริโภคในวันท่ี 30 เมษายน ของ ทุกปีในส่วนภูมิภาค ไม่สามารถดาเนินการจัดงานวันคุ้มครองผู้บริโภคได้ตรงตามวันท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด

๓๙ เนอ่ื งจาก สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีงบประมาณสนับสนุนที่ไม่เพียงพอ ทาให้จังหวัดต่าง ๆ ต้อง เข้าไปจัดงานร่วมกับส่วนราชการอ่ืน เช่น การจัดงานพร้อมกับงานกาชาดจังหวัดของพาณิชย์จังหวัด เป็นต้น เพอื่ ให้จังหวัดสามารถจัดงานวันคุ้มครองผู้บริโภคได้ การเผยแพร่และประชาสมั พันธก์ ารคมุ้ ครองผู้บริโภคในสว่ นภูมภิ าค (จานวนคร้ัง) การเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์การคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคในสว่ นภมู ภิ าค (จานวนครง้ั ) 2034 2032 2031 ปงี บ 2561 ปีงบ 2562 ปีงบ 2563 จากการดาเนนิ งานทีผ่ ่านมา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2563 สานักประสานและส่งเสริมการ คุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่า ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์การคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค โดยเฉล่ียจานวน 2,032 ครั้ง และคาดว่า หากสานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ จะทาให้การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และสานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดจะเป็นหน่วยงานในการกาหนดบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อน ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริโภคและประชาชนทั่วไป ให้สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ดา้ นการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคได้โดยง่าย ท่ัวถึง และสามารถนาไปถ่ายทอดองค์ความรู้ให้บุคคล รุน่ ตอ่ ไปไดแ้ ละเป็นการรกั ษาสทิ ธผิ ู้บรโิ ภค งบประมาณของสานกั ประสานและส่งเสรมิ การคุ้มครองผูบ้ ริโภคจังหวดั ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 40220700 33067000 33067000 33067000 33067000 33073000 28367000 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

๔๐ งบประมาณของสานกั ประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคจังหวัด ปี 2557 33,067,000 บาท - ปี 2558 33,067,000 บาท - ปี 2559 33,067,000 บาท - ปี 2560 33,067,000 บาท - ปี 2561 28,367,000 บาท ลดลงร้อยละ 14.21 ปี 2562 28,044,000 บาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16.59 ปี 2563 5,029,000 บาท (งบกลาง) เพ่ิมข้ึนร้อยละ 21.61 40,220,700 บาท หนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบเพ่ิมขนึ้ หรอื เปลีย่ นแปลงไป สานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด ได้ดาเนินการตามบทบาทภารกิจและ แผนงานท่สี าคญั ดา้ นการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค และพระราชบญั ญัตคิ ุม้ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522 ประกอบดว้ ย 1. ภารกิจตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ มงุ่ เน้นการปรับปรงุ ระบบและกลไกการค้มุ ครองผบู้ ริโภค สนับสนุน องค์กรของผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็ง ปูองกันการละเมิดสิทธิผู้บริโภคและอานวยความยุติธรรมแก่ผู้บริโภค สนับสนุนการบริโภคอย่างย่ังยืนและต้องส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีบทบาทในการคุ้มครองผู้บริโภค อย่างเปน็ รูปธรรม 2. ภารกิจตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2562 ได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติม มาตรา 8 กาหนดให้พนกั งานเจ้าหน้าทีส่ ามารถมอบหมายเจา้ พนักงานท้องถิน่ ใหป้ ฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัติ คมุ้ ครองผบู้ ริโภค เพ่ือแกไ้ ขขอ้ จากดั ด้านบุคลากรในสว่ นภมู ภิ าค และเพื่อให้มีเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานเพียงพออัน จะทาให้การตรวจสอบ ติดตาม กากับ ดแู ลเปน็ ไปอยา่ งท่วั ถงึ และมปี ระสทิ ธิภาพเพ่ิมข้ึน และ มาตรา 62 กาหนดให้ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีอาจมอบหมายเจ้าหน้าพนักงานท้องถิ่นดาเนินการเปรียบเทียบความผิดได้ โดยจาเป็นต้องบูรณา การและขบั เคลือ่ นการดาเนินงานด้านการค้มุ ครองผู้บริโภคร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง ประสานงาน สรา้ งความรู้ความเข้าใจถงึ แนวทางการปฏบิ ตั ิงานร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินให้สอดรับกันระหว่างหน่วยงาน และกากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั งิ านอยา่ งเปน็ รูปธรรมเพม่ิ ขน้ึ 3. ภารกิจแผนปฏิรูปประเทศในการปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้บริโภค สนับสนุนให้เกิดการพัฒนา ชมุ ชนเขม้ แขง็ และเกิดการขับเคลอ่ื นสงั คมด้านการคุ้มครองผบู้ ริโภคในภาพรวมระดบั ประเทศ 4. เพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐมนตรีในการส่งเสริมให้มีหน่วยงานรับผิดชอบ กากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบ บริหารจัดการ สอดคล้องตามบทบาทภารกิจ กฎหมาย และให้คาปรึกษา แนะนาข้อมูลเชิงวิชาการและ เชงิ ปฏบิ ัติ เพอื่ บริหารจดั การดา้ นการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคในสว่ นภมู ภิ าคอย่างครอบคลมุ และสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของ หน่วยงาน ชมุ ชน และยึดประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง 5. สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ได้ตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค และได้มีความเห็นเชิงนโยบายว่า สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคจาเป็นต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ที่เ กิดข้ึนใน ปัจจบุ ัน รวมทัง้ ตอบสนองความต้องการของผ้รู บั บริการไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพเพิ่มมากขนึ้

๔๑ ด้วยบทบาทภารกิจและแผนงานท่ีสาคัญดังกล่าว ประกอบกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสภาพปัญหาใน อนาคตด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นผลทาให้สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ต้องทบทวนปรับปรุง โครงสร้างหน่วยงาน เน่ืองจากโครงสร้างของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคยังไม่มีหน่วยงานในส่วน ภูมิภาค ที่จะทาหน้าที่รับเร่ืองและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ การตรวจสอบและแนะนาผู้ประกอบธุรกิจ การ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การจัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการต่าง ๆ รวมทั้ง กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ดาเนินคดี และการบังคับใช้กฎหมายได้อย่างเต็มที่ ตลอดจนการลดระยะเวลาข้ันตอนการแก้ไขปัญหา เรือ่ งรอ้ งทุกขผ์ ้บู ริโภคในสว่ นภมู ิภาคที่สะดวกและรวดเร็วขึ้น ทาให้ผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคไม่ได้รับการคุ้มครองที่ รวดเร็วและเป็นธรรมตามสมควร ถึงแม้ว่าคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจะมีคาส่ังแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัด ซึ่งมีองค์ประกอบโดยมีหัวหน้าส่วนราชการภายในจังหวัดและมีผู้ว่าราชการ จังหวัดเป็นประธาน โดยเป็นการดาเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการ ทาให้ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงได้ โดยง่าย และสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคยังไม่มีท่ีตั้งของหน่วยงานในระดับภูมิภาค ปัจจุบันใช้ท่ีต้ัง ของศูนย์ดารงธรรมจังหวัดในการรับเร่ืองร้องทุกข์จากผู้บริโภค อีกท้ังเจ้าหน้าท่ีของสานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคประจาจังหวัดมีสถานะเป็นเจ้าหน้าที่จ้างเหมาบริการ ซึ่งไม่ใช่พนักงานเจ้าหน้าท่ีตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 โดยสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคได้มอบอานาจให้ จังหวัดเป็นผู้สรรหา และทาสัญญาจ้าง จานวน 2 คน ซ่ึงในบางจังหวัดก็จะนาเจ้าหน้าท่ีไปปฏิบัตริ าชการงาน เลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด งานเลขานุการของรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือหัวหน้าสานักงานจังหวัด แล้วแต่กรณี ส่งผลให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ แสดงให้เห็นว่าในอนาคตหน่วยงานจะมี หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบเพิ่มขนึ้ และเปลย่ี นแปลงไปโดยมีขอบเขตการดาเนินงาน ดังนี้ ๑. การประสานนโยบายและดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์และจัดทาแผนปฏิบัติการไปสู่ การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด และระดับภาคให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทด้านการ ค้มุ ครองผบู้ ริโภคเพิม่ ขน้ึ ๒. ศึกษา วิเคราะห์ การจัดทาแผนงาน โครงการ ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับท้องถิ่น ระดับจงั หวัดและระดบั ภาค เพือ่ ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคใหม้ ีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ขนึ้ ๓. ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคให้กับเครือข่ายใน ระดับทอ้ งถ่นิ ระดบั จังหวัด และระดบั ภาค ๔. ดาเนินงานเก่ียวกับการรับเร่ืองร้องทุกข์และบริหารคดีด้านสัญญา โฆษณา ฉลาก ธุรกิจ ขายตรงและตลาดแบบตรง ในพื้นท่ีท่ีรับผิดชอบ กลั่นกรองงานรับเร่ืองร้องทุกข์ ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับเร่ืองร้องทุกข์ การเจรจาไกล่เกล่ีย วิธีการประนีประนอมข้อพิพาทอย่างมี ประสิทธภิ าพ การตรวจสอบพฤติการณผ์ ู้บรโิ ภคธรุ กิจในระดับจังหวัดและทอ้ งถนิ่ ร่วมกับจงั หวัดและท้องถนิ่ ๕. ปฏิบัติงานทาหน้าท่ีคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือเลขาธิการ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมอบหมาย 6. ส่งเสริมและสนับสนุนการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริหารจัดการข้อมูลด้านการ คุม้ ครองผ้บู รโิ ภคในส่วนภมู ภิ าค 7. ส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์และการจัดกิจกรรมรณรงค์การ คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดและท้องถิ่น รวมถึง การสร้างความร่วมมือในการรวมพลัง เปน็ ผู้บรโิ ภคท่ีเขม้ แขง็ โดยการตัง้ กลมุ่ ชมรม และสมาคมคมุ้ ครองผู้บริโภคภาคเอกชน

๔๒ 8. ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคที่สอดคล้องกับกรอบอาเซียนใน ระดับจังหวัดและท้องถิ่น รวมทั้ง การดาเนินงานความร่วมมือภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในระดับจงั หวดั และระดบั ท้องถิ่น 9. ติดตามรายงานผลการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับจังหวัดและท้องถ่ิน รวมทั้ง เร่งรัดติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องในพนื้ ที่ 10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือ ท่เี ลขาธกิ ารมอบหมาย ซง่ึ กองคุ้มครองผ้บู ริโภคในส่วนภมู ิภาค จะเป็นกลไกหลกั ในการขบั เคลื่อนบทบาทภารกิจของสานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคถ่ายทอดสรู่ ะดับจงั หวัดและระดบั ท้องถนิ่ โดยแบง่ ออกเป็น 3 ฝา่ ย ดงั นี้ ฝ่ายบริหารท่ัวไป 1. รับผิดชอบดาเนินงานด้านการบรหิ ารทว่ั ไปของหนว่ ยงาน 2. งานสารบรรณ รับ-ส่ง บริการค้นห้า/จัดเก็บ รวบรวมข้อมูล ร่าง-พิมพ์ หนังสือและเอกสารราชการ จัดทาสาเนาเอกสาร ทาลายเอกสาร 3. ดาเนินงานเกี่ยวกับการจัดหา ควบคุม กากับดูแลวสั ดุครุภณั ฑห์ น่วยงาน 4. ดาเนินการเกยี่ วกับการลาประเภทต่าง ๆ ของบคุ ลากร 5. งานอานวยการ/ประสานราชการ ติดต่อประสานราชการหรือหน่วยงานภายนอก 6. งานการเงิน บญั ชี พัสดุ อาคาร สถานท่ี การบริหารบุคคล งานประชาสัมพันธ์และงานด้านเทคโนโลยี ดจิ ิทลั 7. ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอ่ืนทีเ่ กี่ยวข้องหรือที่ไดร้ บั มอบหมาย ฝ่ายรับเรอื่ งราวร้องทุกข์ในส่วนภมู ิภาค 1. ดาเนนิ การเกี่ยวกับการรับเรื่องราวรอ้ งทุกขแ์ ละบรหิ ารคดีด้านสัญญาในเขตพนื้ ท่ีและจังหวดั 2. ดาเนินการเจรจาไกล่เกลี่ยหรือประนีประนอมข้อพิพาท เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคระหว่าง ผู้บรโิ ภคกับผปู้ ระกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุม้ ครองผบู้ ริโภค

๔๓ 3. ดาเนินงานเก่ียวกับการประชุมของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในฐานะอนุกรรมการและ ผู้ชว่ ยเลขานุการ 4. ดาเนินงานในคณะอนุกรรมการฯ ท่ีคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคหรือเลขาธิการคณะกรรมการ คุ้มครองผ้บู รโิ ภคมอบหมาย 5. ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวขอ้ งหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย ฝา่ ยควบคมุ กากับ ติดตามประเมนิ ผลและพัฒนาเครือข่ายการคุม้ ครองผู้บรโิ ภคในส่วนภมู ิภาค 1. ดาเนินการตรวจสอบการประกอบธุรกิจในเขตพนื้ ท่ีและจังหวดั 2. ดาเนินการส่งเสริมความร่วมมือในการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง 3. ดาเนินการประชาสัมพันธ์การคุ้มครองผู้บรโิ ภค 4. ดาเนินการจัดประชุมสัมมนาให้ความรู้และสร้างเครือข่ายการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับเขตพื้นที่ จังหวัดและ 5. ปฏิบัติงานโครงการพิเศษ/งานอ่ืน ๆ ที่เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคและผู้อานวยการ สานักประสานและส่งเสริมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคจงั หวัด มอบหมาย 6. ดาเนินการเก่ียวกับติดตามการปฏิบัติงาน การรายงานผลการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่สานักงาน ค้มุ ครองผู้บรโิ ภค เขต 1-9 และเจา้ หน้าท่ีสานกั งานคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภคประจาจงั หวัด 76 จงั หวดั 7. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอ่ืนที่เก่ียวข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ ับต่อสว่ นราชการ 1. การบริหารจัดการรับเร่ืองและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ การตรวจสอบ ติดตาม และแนะนาผู้ประกอบ ธุรกิจ กอ่ ให้เกิดการบูรณาการการทางานร่วมกันระหวา่ งหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องเพ่ือให้การดาเนนิ งานคุม้ ครองผ้บู ริโภค ส่วนภมู ิภาคให้มปี ระสทิ ธิภาพเพม่ิ ขน้ึ 2. การเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการรับเร่ืองและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ การตรวจสอบ ตดิ ตาม และแนะนาผู้ประกอบธรุ กิจทใี่ ชค้ วามรู้ความเชี่ยวชาญด้านการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคตาม พรบ. คุ้มครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 แก่เจ้าหน้าท่ีและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการพัฒนาการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วน ภูมภิ าคเป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน 3. การส่งเสริม สนับสนุนความร่วมมือกับเครือข่ายในจังหวัดและท้องถิ่น ก่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกัน ในการสรา้ งความรู้ความเข้าใจและแนวทางปฏบิ ัติตามแผนยุทธศาสตร์ดา้ นการคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคที่เป็นรปู ธรรม 4. การรณรงค์ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในระดับจังหวัดและท้องถิ่นที่เข้าถึงชุมชน ทาให้เกิดเครือข่าย ชุมชนเพม่ิ ข้นึ และให้ความสาคัญกบั การค้มุ ครองผบู้ ริโภค เกิดภูมิคุ้มกนั สนบั สนนุ การบริโภคต่อภาพรวมของประเทศ 5. การวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในเชิงพื้นท่ีท่ีมีความแตกต่างกันมีความชัดเจนและทราบแนวโน้มการเกิด ปญั หาเพ่ือนาไปสู่แนวทางการพฒั นางานคุ้มครองผ้บู รโิ ภคในส่วนภูมิภาคในอนาคตอย่างมปี ระสิทธิภาพ ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ ับต่อประชาชน 1. ประชาชนไดร้ ับการแกไ้ ขปัญหาเรอื่ งร้องทุกขแ์ ละไดร้ ับการเยียวยาในส่วนภมู ิภาคอยา่ งท่ัวถึง รวดเร็ว 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดาเนินงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคเพิ่มข้ึนและเกิดการ ขับเคล่ือนทางสังคมการคมุ้ ครองผู้บริโภคในภาพรวมของประเทศอย่างกวา้ งขวาง 3. ประชาชนได้รับการพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างทั่วถึงและรับรู้ถึงสิทธิ ผบู้ รโิ ภค

๔๔ ขอ้ ดีและข้อเสียของการบริหารงานภายใต้สานกั แผนและการพัฒนาการคุ้มครองผู้บรโิ ภค ข้อดีของการแยกออกจากสานักแผนฯ ข้อเสียหากอยภู่ ายใต้สานักแผนฯ เดิม  สามารถตอบสนองนโยบายรัฐบาล นโยบาย  การตอบสนองนโยบายรฐั บาล นโยบาย รัฐมนตรี และแผนงานระดับต่างๆ ได้อย่าง รฐั มนตรี และแผนงานระดบั ต่าง ๆ อาจ ชดั เจน ไม่มคี วามครอบคลมุ และชัดเจน  เกิดกระบวนการบริหารงานในส่วนภูมิภาค  กระบวนการบรหิ ารงานในส่วนภูมิภาคและ และท้องถ่ิน ในการรับเร่ืองร้องทุกข์และการ ทอ้ งถิ่น ในการรับเร่ืองร้องทุกข์และการแก้ไข แก้ไขปัญหาเร่ืองร้องทุกข์อย่างเต็มรูปแบบ ปัญหาเรื่องร้องทุกขม์ ีกระบวนการทล่ี ่าชา้ ชดั เจน และเปน็ รปู ธรรม สามารถอานวยความ ขาดประสิทธภิ าพ และยังต้องผ่าน สะดวกให้กับประชาชนได้สะดวกและรวดเร็ว กระบวนการพิจารณาฯ หลายขน้ั ตอน มากขึ้น  การสง่ เสริมหรือถ่ายทอดประชาสัมพันธ์  เกดิ การสง่ เสริมให้ส่วนภูมิภาคในระดับจังหวัด การดาเนนิ งานในสว่ นภูมิภาคและท้องถ่ิน และท้องถิ่นให้ความสาคัญกับการคุ้มครอง อาจไม่ครอบคลุมหรือไม่ทั่วถงึ ในทุกพนื้ ท่ี ผู้บริโภคอย่างครอบคลุมมากข้ึน ประกอบกับ การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ  การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาและการรายงานผล คุ้มครองผบู้ ริโภคระดับจังหวดั และท้องถ่นิ ในเชิงพนื้ ทีย่ ังไมช่ ดั เจน เนื่องจากบุคลากรยงั มี ทศิ ทางการสื่อสารและการประสานงานท่ยี ัง  การประชาสมั พนั ธ์และรณรงค์ในระดับจังหวัด ไมช่ ดั เจน ประกอบการบูรณาการรว่ มกบั และท้องถิ่นท่ีเข้าถึงชุมชน กองทุนหมู่บ้าน หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องมีกระบวนการลา่ ช้า ทาให้เกิดเครือข่ายชุมชนท้ังในระดับจังหวัด และท้องถิ่นท่ีให้ความสาคัญกับการคุ้มครอง ผู้บริโภคและเกิดภูมิคุ้มกันในการบริโภคที่ดี ทวั่ ประเทศ  สามารถวเิ คราะหป์ ัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ ในเชิงพืน้ ท่ี ท่ีมีความแตกตา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งชดั เจนใน การแก้ปัญหาเรื่องร้องทกุ ขผ์ ู้บริโภคและ ทราบแนวโน้มการเกิดปญั หาเพอ่ื นาไปสู่ แนวทางการพฒั นางานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค ในส่วนภูมิภาค

๔๕ ความแตกตา่ งของการบริหารงาน ภาระงาน และบทบาทภารกิจระหว่างกองคุ้มครองผู้บริโภคในส่วน ภมู ภิ าค กับกองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นฉลาก สญั ญา โฆษณา ขายตรงและตลาดแบบตรง (ส่วนกลาง) กองค้มุ ครองผู้บรโิ ภคในสว่ นภูมภิ าค กองคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นฉลาก สัญญา โฆษณา ขายตรงและตลาดแบบตรง (ส่วนกลาง) 1. เปน็ กองดา้ นวชิ าการและกองดา้ นการปฏิบตั ิ 1. เปน็ กองด้านการปฏิบตั ิ ดาเนนิ การตรวจสอบ  การประสานนโยบายและดาเนินการตาม ฉลากสนิ ค้า/โฆษณา/สัญญา/ขายตรงและตลาดแบบ แผนงานในระดับตา่ ง ๆ และการจดั ทา ตรงตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองผู้บรโิ ภคและ แผนปฏบิ ตั กิ ารส่รู ะดับภาค ระดบั จงั หวดั พระราชบัญญตั ิขายตรงและตลาดแบบตรง และระดบั ทอ้ งถ่นิ ให้สอดคล้องกบั นโยบาย 2. ดาเนินการเกย่ี วกบั เร่ืองร้องทกุ ข์ การเจรจา และแผนงานด้านการคุ้มครองผบู้ ริโภค ไกลเ่ กล่ีย การประนีประนอมขอ้ พิพาท การตรวจสอบ พฤติการณ์ผูป้ ระกอบธรุ กิจดา้ นฉลาก สัญญา โฆษณา  การศึกษา วเิ คราะห์ จดั ทาแผนงาน/ ขายตรงและตลาดแบบตรง (สว่ นกลาง) โครงการร่วมกับหน่วยงานในระดบั จังหวดั 3. ดาเนินการเก่ยี วกับงานเลขานกุ ารของ และระดบั เขตพน้ื ท่ี คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการฯ คณะ อนกุ รรมการฯ ด้านฉลาก สญั ญา โฆษณาขายตรงและ  การให้คาปรึกษาชแ้ี นะ เพ่ือพัฒนาการ ตลาดแบบตรง ดาเนินงานค้มุ ครองผู้บรโิ ภคกับเครอื ข่ายใน 4. ดาเนนิ การเก่ียวกบั การยกรา่ ง ปรับปรงุ แก้ไข ระดับภาค ระดบั จังหวดั ระดับท้องถิ่น เพ่มิ เติมระเบยี บ ประกาศคาส่ังดา้ นฉลาก สัญญา โฆษณา ขายตรงและตลาดแบบตรง  การส่งเสริมและสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน คุ้มครองผบู้ ริโภคในกรอบอาเซยี นในระดับ ของหนว่ ยงานอื่นทีเ่ ก่ยี วขอ้ งหรือที่ไดร้ บั มอบหมาย จังหวดั และท้องถิน่ รวมท้ังการดาเนินงาน ความร่วมมือภาคีเครือขา่ ยต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในระดบั จงั หวัดและระดับท้องถน่ิ รวมท้ังการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์  การสง่ เสริมสนบั สนนุ การนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการจดั ทาข้อมลู พื้นฐานและการ เชื่อมข้อมลู การแก้ไขปญั หาคุ้มครองผ้บู ริโภค ในระดับจงั หวัดและท้องถิ่น 2. ดาเนินการเกยี่ วกบั เรื่องร้องทกุ ข์และบริหารคดี การเจรจาไกลเ่ กล่ยี การประนปี ระนอมข้อพิพาท การตรวจสอบพฤตกิ ารณผ์ ปู้ ระกอบธุรกจิ ในเขตพ้นื ที่ และจังหวดั 3. ดาเนินการเกีย่ วกบั งานอนุกรรมการของ คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภคประจาจังหวดั และ คณะอนกุ รรมการไกล่เกลยี่ เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์จาก ผูบ้ ริโภคประจาจงั หวดั 4. ดาเนินการตรวจสอบผูป้ ระกอบธรุ กจิ ในระดับ จังหวัดและระดับท้องถิน่

๔๖ กองคมุ้ ครองผู้บริโภคในส่วนภูมภิ าค กองคุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านฉลาก สญั ญา โฆษณา ขายตรงและตลาดแบบตรง (ส่วนกลาง) 5. ตดิ ตามรายงานผลการดาเนนิ งานคุ้มครองผู้บริโภค ในจังหวัดและทอ้ งถน่ิ 6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหนว่ ยงานอนื่ ทีเ่ กีย่ วข้องหรอื ที่ได้รับมอบหมาย การเชื่อมโยงการทางานและขอบเขตของการแบ่งงานระหว่างกองคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาค กับกองคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นสัญญา โฆษณา ฉลาก ขายตรงและตลาดแบบตรง กองคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคในสว่ นภมู ิภาค กองคุม้ ครองผู้บรโิ ภคด้านสญั ญา โฆษณา ฉลาก ขายตรงและตลาดแบบตรง การรับเร่อื งรอ้ งทุกขแ์ ละแกไ้ ขปญั หาเร่อื งรอ้ งทกุ ข์ การรบั เรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์และแกไ้ ขปญั หาเร่ืองร้องทุกข์  บรหิ ารจัดการเร่อื งร้องทกุ ข์ในสว่ นภมู ภิ าค  บริหารจัดการเรื่องร้องทุกข์ในเขต (ตามมูลคดที เ่ี กิด) กรุงเทพมหานคร (ส่วนกลาง)  มคี ณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจา  มีคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งด้านโฆษณา จงั หวัด และคณะอนุกรรมการไกล่เกลย่ี ฉลาก สัญญา ขายตรงและตลาดแบบตรง เร่อื งราวร้องทกุ ขจ์ ากผบู้ ริโภคประจาจังหวัด การตรวจสอบและการใหค้ าแนะนาผปู้ ระกอบธรุ กิจ การตรวจสอบและการใหค้ าแนะนาผู้ประกอบธุรกิจ  มีการจดั ทาแผนตรวจสอบและใหค้ าแนะนา  การจัดทาแผนตรวจในสว่ นภูมภิ าคจะ ดา้ นโฆษณา ฉลาก สัญญา ขายตรงและ ตรวจสอบผูป้ ระกอบธรุ กจิ เกย่ี วกับดา้ น ตลาดแบบตรงในพนื้ ที่กรุงเทพมหานคร หาก โฆษณา ฉลาก สญั ญา ขายตรงและตลาด เปน็ การออกตรวจในต่างจังหวดั จะต้องมกี าร แบบตรง ในจงั หวัดและทอ้ งถ่ินโดยมี ประสานกบั กองคุม้ ครองค้มุ ครองผู้บริโภคใน เจ้าหน้าที่เฉพาะดา้ นโฆษณา ฉลาก ขายตรง สว่ นภมู ภิ าค ผา่ นคณะอนุกรรมการคุ้มครอง และตลาดแบบตรง ร่วมดาเนนิ การลงพน้ื ที่ด้วย ผู้บริโภคประจาจังหวดั และ การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ คณะอนุกรรมการไกล่เกลีย่ เรื่องราวรอ้ งทุกข์  เจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาคมีหน้าที่ส่งเสริมและ จากผู้บริโภคประจาจงั หวัด ที่มี ผอู้ านวยการ ร่วมมือกับหน่วยงานและส่ือมวลชนภายใน กองเป็น อนุกรรมการ และมีเจา้ หนา้ ท่ไี ป จังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด เพื่อเผยแพร่ รว่ มดาเนินการลงพืน้ ท่ีด้วย ขอ้ มูลขา่ วสารด้านการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคอย่าง การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ต่อเน่ือง และการรณรงค์เร่ืองสิทธิผู้บริโภค  การส่งเสริมและเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ใน อย่างต่อเน่ืองในภาพรวม โดยมีการประสาน การจัดโครงการหรือกิจกรรมเฉพาะดา้ น ใน ร่ ว ม กั บ เ จ้ า ห น้ า ท่ี เ ฉ พ า ะ ด้ า น ใ น ก า ร จั ด ด้านโฆษณา ฉลาก สัญญา ขายตรงและ โครงการหรอื กิจกรรมเพอื่ ใหค้ วามรู้ ตลาดแบบตรง ในการสร้างความรคู้ วาม  ส่งเสริมการพัฒนาเครือขา่ ยในจงั หวัดและ เข้าใจใหก้ ับผู้ประกอบธรุ กิจและผู้บริโภค ทอ้ งถ่นิ ในการสนบั สนุนบุคคล ชุมชน กองทุนหมู่บา้ น ด้านการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค

๔๗ กระบวนงานแกไ้ ขปัญหาเรื่องรอ้ งทกุ ข์ แสดงได้ดังนี้ การแกไ้ ขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของกองคุม้ ครอง การแก้ไขปัญหาเร่ืองรอ้ งทกุ ข์ของกองคมุ้ ครอง ความเชื่อมโยง ผู้บริโภคในสว่ นภมู ภิ าค (สว่ นกลาง) ผบู้ ริโภคในสว่ นภมู ภิ าค (ภมู ิภาค) การทางาน ศูนยร์ บั เร่อื งรอ้ งทกุ ขผ์ บู้ ริโภค เจา้ หน้าท่ี สคบ. จังหวดั รับเร่ืองรอ้ งทุกข์ ฝา่ ยคดั กรองเร่อื งร้องทกุ ข์ การรบั เรอื่ งราวร้อง ตรวจสอบและรวบรวมเอกสารหลกั ฐาน ทกุ ข์และแก้ไข ตรวจสอบและส่งเรอื่ ง ปญั หา จะมกี าร เชญิ ผปู้ ระกอบธรุ กิจและผูบ้ ริโภค บรกิ ารจดั การ กองคุ้มครองผบู้ รโิ ภคในสว่ นภูมภิ าค ไกลเ่ กลี่ยเบื้องตน้ แบง่ เป็น ตรวจสอบรายละเอยี ดมูลคดีทีเ่ กดิ - สว่ นภมู ภิ าค ตกลงกนั ไม่ได้ ตกลงกนั ได้ จะแยกตามมูลคดีเกดิ ขนึ้ อยูก่ บั ผู้รอ้ งทกุ ข์มคี วามประสงคด์ าเนินการ - ส่วนกลาง สว่ นกลางหรอื ส่วนภมู ิภาค (มูลคดตี ่างพนื้ ท)ี่ เฉพาะ กทม. การตรวจสอบและให้ คาแนะนา กรณผี ู้ร้องทุกข์ประสงค์ กรณผี รู้ ้องทกุ ข์ประสงค์ คณะอนกุ รรมการไกลเ่ กล่ยี ยุตเิ รือ่ ง การตรวจสอบและ ดาเนินการในสว่ นกลาง ดาเนินการในส่วนภูมภิ าค เร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์จาก ใหค้ าแนะนาผู้ ผู้บรโิ ภคประจาจังหวดั ตกลงกนั ได้ ประกอบธุรกิจ สง่ ใหจ้ งั หวดั ดาเนนิ การ ยตุ ิเรอ่ื ง - เจ้าหนา้ ท่กี อง ตกลงกนั ไม่ได้ คุ้มครองผู้บริโภคใน ไกล่เกลยี่ ชั้นเจา้ หน้าท่ี รวบรวมข้อเท็จจริง ส่วนภูมภิ าคมีการ คณะอนุกรรมการคุม้ ครอง เพ่มิ เตมิ ตามมติ จดั ทาแผนตรวจและ ตกลงกนั ไม่ได้ ตกลงกนั ได้ ผบู้ รโิ ภคประจาจังหวดั คณะอนกุ รรมการฯ ลงพืน้ ท่ี โดยการลง ยุตเิ ร่อื ง พน้ื ท่ีจะมกี าร คณะอนกุ รรมการไกล่เกล่ยี เห็นควร สอบข้อเทจ็ จริง ประสานงานกบั กอง เร่อื งราวรอ้ งทกุ ขภ์ มู ภิ าค ดาเนินคดี เพ่มิ เติมและครบถว้ น หลักเฉพาะด้าน หรอื ยุติเรอ่ื ง สญั ญา โฆษณา ฉลาก ตกลงกันไม่ได้ ตกลงกันได้ ส่วนกลางในการรว่ ม ดาเนนิ การรวบรวม ลงพื้นท่ีตรวจดว้ ย ขอ้ เท็จจริงเสนอ คคบ. คณะอนกุ รรมการพิจารณา ยตุ ิเรือ่ ง กลนั่ กรองฯ สว่ นภมู ิภาค การเผยแพร่และ ประชาสมั พนั ธ์ มมี ตใิ ห้ยตุ ิหรือฟอ้ งดาเนนิ คดี แจ้งมติ คคบ. - เจ้าหนา้ ที่กอง ให้แกผ่ ้รู อ้ งทุกข์ทราบ คุ้มครองผบู้ ริโภคใน คณะกรรมการคมุ้ ครอง สว่ นภูมิภาคจะมี ผู้บรโิ ภค หนา้ ท่ีส่งเสริมและ แจ้งมติ คคบ. หมายเหตุ คณะอนุกรรมการไกล่เกลย่ี เรือ่ งราวร้อง สนบั สนุนความ ใหแ้ กผ่ ูร้ อ้ งทกุ ขท์ ราบ ทุกขจ์ ากผ้บู ริโภคประจาจงั หวัด และคณะอนกุ รรมการ รว่ มมอื รว่ มกบั หน่วยงานและ หมายเหตุ ระยะเวลาเปน็ ไปตามระเบยี บ ค้มุ ครองผู้บรโิ ภคประจาจงั หวัดมี คณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภควา่ ดว้ ยการปฏิบัติ เครือขา่ ยทกุ ภาคส่วน ราชการเพื่อประชาชน พ.ศ. 2562 กาหนดไว้ ผู้อานวยการกอง เปน็ อนกุ รรมการ ซึ่งอาจมอบหมาย โดยมกี าร พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีเพื่อดาเนินการลงพืน้ ที่ในการเจรจา ประสานงานร่วมกับ ไกลเ่ กลยี่ แทนได้ เพ่ือความสะดวกและรวดเรว็ ในการ เจ้าหนา้ ทส่ี ่วนกลาง ดาเนินงานการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคในส่วนภมู ิภาค เฉพาะด้านเพอ่ื จัด โครงการให้ความรู้