Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้าง AR โดยโปรแกรม Unity 15032562

การสร้าง AR โดยโปรแกรม Unity 15032562

Published by สมชาย เมืองมูล, 2022-06-12 07:45:55

Description: การสร้าง AR โดยโปรแกรม Unity 15032562

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสอ่ื แบบปฏิสัมพนั ธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Augmented Reality) เอกสารประกอบการอบรม http://bit.ly/2Y8Lae0 จัดโดย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง การพัฒนาสอ่ื ปฏสิ ัมพันธ์ดว้ ยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมลู หนา้ 1

เทคโนโลยีเสมือนจริง 1. แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเสมือนจรงิ (พนดิ า ตนั ศริ ิ, 2010) คอื การพฒั นาเทคโนโลยีทผี่ สานเอาโลกแห่ง ความเป็นจรงิ และความเสมอื นจริงเขา้ ดว้ ยกนั ผา่ นซอฟต์แวร์และอปุ กรณ์เช่อื มต่อตา่ งๆ เชน่ เวบ็ แคม คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งภาพเสมือนจริงน้ันจะแสดงผลผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ หน้าจอโทรศัพท์มือถือ บน เครื่องฉายภาพ หรอื บนอุปกรณ์แสดงผลอ่ืนๆ โดยภาพเสมือนจริงท่ีปรากฏข้นึ จะมีปฏสิ ัมพันธก์ ับผู้ใชไ้ ดท้ นั ที ท้ังใน ลักษณะที่เป็นภาพนิ่ง สามมิติ ภาพเคลื่อนไหว หรืออาจจะเป็นสื่อที่มีเสียงประกอบขึ้นกับการออกแบบสื่อแต่ละ รปู แบบวา่ ใหอ้ อกมาแบบใด โดยกระบวนการภายในของเทคโนโลยเี สมอื นจริง ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ 1. การวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็นขั้นตอนการค้นหา Marker จากภาพที่ได้จากกล้องแล้ว สืบค้นจากฐานข้อมูล (Marker Database) ที่มีการเก็บข้อมูลขนาดและรูปแบบของ Marker เพื่อนามาวิเคราะห์ รปู แบบของ Marker 2. การคานวณค่าตาแหนง่ เชิง 3 มติ ิ (Pose Estimation) ของ Marker เทียบกับกลอ้ ง 3. กระบวนการสร้างภาพสองมติ ิ จากโมเดลสามมติ ิ (3D Rendering) เป็นการเพ่มิ ข้อมลู เขา้ ไปในภาพ โดยใช้คา่ ตาแหนง่ เชิง 3 มิติ ท่ีคานวณได้จนได้ภาพเสมือนจรงิ เทคโนโลยีเสมือนจริงสามารถแบ่งประเภทตามส่วนวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การวิเคราะห์ภาพโดยอาศัย Marker เป็นหลักในการทางาน (Marker based AR) และการวิเคราะห์ภาพ โดยใช้ลักษณะต่างๆ ทอี่ ยใู่ นภาพมาวิเคราะห์ (Marker-less based AR) ทมี่ า : https://customerthink.com/education-industry-and-augmented-reality-are-becoming-the-new-buddies/ การพัฒนาสื่อปฏสิ ัมพนั ธด์ ว้ ยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 2

2. หลกั การของเทคโนโลยีเสมือนจรงิ ประกอบดว้ ย 1. ตวั Marker (หรือที่เรยี กวา่ Markup) 2. กล้องวิดโี อ กล้องเวบ็ แคม กลอ้ งโทรศพั ทม์ อื ถอื หรอื ตัวจบั Sensor อืน่ ๆ 3. สว่ นแสดงผล อาจเป็นจอภาพคอมพวิ เตอร์ หรอื จอภาพโทรศัพทม์ อื ถือ หรืออนื่ ๆ 4. ซอฟต์แวร์หรือสว่ นประมวลผลเพือ่ สรา้ งภาพหรอื วตั ถแุ บบสามมิติ พื้นฐานหลักของ AR จาเป็นต้องรวบรวมหลักการของการตรวจจับการเคลื่อนไหว (Motion Detection) การตรวจจับการเต้นหรือการเคาะ (Beat Detection) การจดจาเสียง (Voice Recognize) และการประมวลผล ภาพ (Image Processing) โดยนอกจากการตรวจจับการเคลื่อนไหวผ่าน Motion Detect แล้วการตอบสนอง บางอย่างของระบบผ่านสื่อนั้น ต้องมีการตรวจจับเสียงของผู้ใช้และประมวลผลด้วยหลักการ Beat Detection เพอ่ื ให้เกดิ จังหวะในการสร้างทางเลือกแก่ระบบ เช่น เสยี งในการสั่งให้ตวั Interactive Media ทางาน ทั้งนี้การสั่ง การด้วยเสียงจดั ว่าเป็นAR และในส่วนของการประมวลผลภาพนั้น เป็นส่วนเสริมจากงานวิจัยซึ่งเป็นสว่ นย่อยของ AR เพราะเนน้ ไปที่การทางานของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent: AI) ในการสื่ออารมณ์กบั ผู้ใช้บริการผ่าน สแี ละรปู ภาพ 3. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี AR จากจุดเดน่ ของ AR ทส่ี ามารถแสดงผลเช่อื มโยงระหวา่ งโลกแหง่ ความจริงและโลกเสมือน ทาใหเ้ ทคโนโลยี ดังกลา่ วไดถ้ กู ออกแบบและพัฒนาให้เหมาะกับการใช้งานอยา่ งกวา้ งขวางในดา้ นตา่ ง ๆ (นงลกั ษณ์ มแี ก้วและคณะ, 2557) ดังตอ่ ไปน้ี 1. ด้านการโฆษณาและการตลาด เทคโนโลยี AR ถูกพัฒนามากที่สุดในด้านการโฆษณาและการตลาด ซึ่ง บริษัทต่างๆ ได้พยายามแสวงหาแนวทางที่จะดึงดูดใจลูกค้าโดยการนาเทคโนโลยี AR มาประยุกต์ใช้ในการทา การตลาดในทุกรูปแบบ ซึ่งจะทาให้ผู้บริโภคได้รับรู้ข้อมูลด้วยรูปแบบและประสบการณ์ใหม่ๆ ซึ่งจะสร้างความ สนใจในตัวสินค้าและสามารถดึงดูดใจผู้บริโภคได้อย่างดี เช่น การทาการตลาดของกาแฟยี่ห้อดังสตาร์บัคส์ (Starbucks) ในช่วงวันวาเลนไทน์ ไดน้ า AR code ตดิ ไว้ ที่แกว้ กาแฟ เพอ่ื ทาให้แกว้ กาแฟมีลูกเล่นมากยิ่งขึ้น โดย เมื่อผบู้ ริโภคใชส้ มาร์ทโฟนที่มีแอปพลเิ คช่ันของสตาร์บัคส์จะมหี วั ใจบนิ เคล่ือนไหวเป็นรูปร่างตา่ งๆ กัน นอกจากน้ี ยงั สามารถส่งวดิ โี อทถ่ี ่ายจาก AR Code ไปยังอีเมล (email)หรือ Facebook ของแฟนเพจไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากน้ียัง มกี ารทาการตลาดของบริษัทรถยนต์ Audi ได้ทาการพัฒนาแอปพลิเคช่ันเพื่อชว่ ยขยายขอบเขตการรับรู้ข้อมูลของ รถจากโบรชัวร์ที่บริษัทแจกให้กับลูกค้า ในแอปพลิเคชั่นนี้ผู้ซื้อสามารถที่จะสแกน AR code ที่อยู่ภายในโบรชัวร์ เพื่อดูรายละเอียดในตัวรถได้อย่างชัดเจนรวมไปถึงการมีวิดีโอ คู่มือการใช้แบบวิดีโอ หรือแม้กระทั่งสามารถที่จะ เลือกซื้ออุปกรณ์หรือสินค้าเกี่ยวกับรถยนต์ได้ผ่านทางแอปพลเิ คชัน่ น้ีเลย ซึ่งสิ่งเหล่านี้สร้างความสนใจให้ผู้บรโิ ภค เปน็ อยา่ งมาก การพฒั นาสื่อปฏสิ มั พันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจรงิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมูล หนา้ 3

2. ด้านสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง วิศวกรที่ออกแบบโครงสร้าง หรือสถาปนิกที่ออกแบบตกแต่ง สามารถนาเอา AR ไปประยุกต์ใช้ในงานทาให้เห็นภาพหรือรูปแบบของงานได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดย AR จะช่วยให้ สามารถดูแบบแปลนของสิ่งก่อสร้างในแบบสองมิติ ให้เห็นภาพในแบบสามมิติจากภาพแปลนนั้นๆ ในทันที นอกจากนี้ยังสามารถดูส่วนประกอบของสิ่งปลูกสร้าง ระบบต่างๆ ภายในสิ่งปลูกสร้างนั้นๆ อาทิ ระบบไฟฟ้า ระบบน้า ระบบอินเทอร์เน็ต ที่ได้ออกแบบไว้ในสิ่งปลูกสร้างจะสามารถแสดงได้ในรูปแบบสามมิติเหมือนอาคาร จริง สามารถช่วยให้ประหยัดเงินและเวลา เพราะไม่ต้องสร้างโมเดลอาคารสามมิติของจริง สามารถมองเห็น โครงสร้างได้ทันทแี บบสามมิติ ในแบบ 360 องศา 3. ด้านความบันเทิง AR ถูกนามาประยุกต์ใช้ในด้านการให้ความบันเทงิ คือ การสร้างภาพเสมือนสามมิติ ในบริบทของสภาพแวดล้อมจริงได้ จึงถูกนามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย อาทิ การทาหนังสือให้มีความน่าสนใจ มากยิ่งขึ้น โดยนอกจากผู้อ่านเนื้อหาสามารถมองเห็นหรือสัมผัสเพียงภาพนิ่งแล้ว การนา AR ไปใช้ในการสร้าง ภาพเสมอื นสามมิติ ทาให้ผ้อู ่านสามารถมองเหน็ ภาพสามมิติและได้ยนิ เสยี งเพลง หรือเสียงประกอบการเคล่ือนไหว ของวตั ถุในหนังสือน้นั ๆ ในเวลาเดียวกันกบั การอ่านหนังสอื เลม่ นัน้ และภาพสามมิติพร้อมเสียงสมจริงยังคงแสดงต่อ อยู่เรื่อยๆตลอดระยะเวลาการอา่ น พร้อมสามารถตอบสนองตอ่ ผู้อ่านได้ตลอดเวลา 4. ด้านการแพทย์ จากงานวิจัยของ Samset และคณะ (2008) ได้รายงานว่า AR สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในด้านการจัดการเรียนการสอนทางด้านการแพทย์กล่าวคือ กรณีการเรียนผ่าตัด อาจารย์สามารถให้ นักศึกษาแพทย์ทดลองทาปฏิบัติการผ่าตัดจากหุ่นที่มี AR code ติดอยู่ซึ่งเมื่อมองผ่านจอคอมพิวเตอร์หรือใส่ แว่นตาทีม่ ีแอปพลิเคชั่น จะสามารถเห็นอวยั วะภายในของมนุษยแ์ บบเสมอื นจริงสามมติ ิในบริเวณจริงของร่างกาย ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนเองได้ซ้อมลงมือก่อนที่จะทาปฏิบัติการกับตัวอย่างจริง ทาให้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นทั้งในแง่ของความปลอดภัย งบประมาณ และเวลา นอกจาก AR จะนามาใช้ในการเรียน การสอนแล้ว AR ยังสามารถช่วยในการผ่าตัดจริงคือ แพทย์สามารถเห็นตาแหน่งของอวัยวะผ่านแว่นตา หรือ จอคอมพิวเตอร์ หรือแท็บเล็ต เหมือนเป็นแผนที่บอกตาแหน่งอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ทาให้แพทย์สามารถผ่าตัด โดยไม่ต้องเปิดแผลขนาดใหญ่ และการผ่าตัดมีความปลอดภัยและประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน 5. ด้านการเดินทาง และการท่องเที่ยว AR สามารถส่งเสริมให้สัมผัสประสบการณ์ต่างๆที่แปลกใหม่ ออกไป มีการใช้ระบบ GPS ระหว่างที่เดินทางท่องเที่ยว สาหรับหาสถานที่ท่องเที่ยว ตาแหน่งต่างๆ ทั้งร้านค้า บริการต่างๆ และสามารถเชื่อมต่อกับสังคมออนไลน์ได้ทันทีและสอดคล้องกับสถานที่จริงที่กาลังเดินทางอยู่และ สามารถมองหาสถานที่ต่างๆ พร้อมขอ้ มลู รายละเอียดของสถานท่ีน้นั ดว้ ย ทมี่ าของข้อมูล พนิดา ตันศริ ิ : 2010, “โลกเสมอื นผสานโลกจริง”, Executive Journal , มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, หนา้ 169-171. นงลักษณ์ มแี ก้ว และคณะ. (2557). Augmented Reality Technology (AR) เมอ่ื เทคโนโลยสี ามารถเช่อื มโลกเสมือน มาบรรจบกับโลกของความจรงิ และการประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั การศกึ ษา. จุลสารนวตั กรรม, 9(34), 8 - 16. การพัฒนาสือ่ ปฏสิ มั พนั ธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมืองมลู หนา้ 4

การเลือก Model 3D สาหรับงานเทคโนโลยเี สมือนจริง 3D formats : OBJ, .FBX, .3DS Low Poly High Poly เวบ็ ดาวน์โหลด Model 3D https://poly.google.com https://archive3d.net https://free3d.com https://www.turbosquid.com http://www.3dmodelfree.com การพัฒนาสื่อปฏสิ ัมพนั ธด์ ว้ ยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมืองมูล หนา้ 5

การสร้างสอ่ื เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ด้วยโปรแกรม Unity ส่วนที่ 1 การสร้าง Target ดว้ ย Vuforia ส่วนท่ี 2 การใชง้ านโปรแกรม Unity ส่วนที่ 1 การสร้าง Target ดว้ ย Vuforia 1.1 การ Login 1. ไปยังเว็บไซต์ https://developer.vuforia.com/ 2. คลกิ ท่ีปมุ่ Log In (หากยังไม่มีบญั ชใี หท้ าการ Register ให้เรียบร้อย) 3. ทาการกรอก E-Mail Address และ Password แลว้ คลกิ ปุ่ม Login 2 3 1.2 การสร้าง Target 1. คลกิ ที่ปุ่ม 2. กรอกชื่อ License Name ตามทต่ี ้องการ 3. ติก๊ ถูกท่ีช่องของการยอมรับ 4. จากนนั้ กด Confirm การพฒั นาสอ่ื ปฏสิ มั พันธด์ ้วยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมลู หนา้ 6

2 3 4 5. คลกิ ที่ปุ่ม จากนั้นกดท่ี 6. ทาการใสช่ ่อื ฐานขอ้ มลู (ชอ่ื จะตอ้ งตรงกบั ขัน้ ตอนท่ี 2) และเลอื กทช่ี อ่ ง Device ตามรูป จากน้นั กด Create การพัฒนาส่อื ปฏสิ ัมพนั ธด์ ว้ ยเทคโนโลยีเสมือนจริง ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมืองมลู หนา้ 7

7. เมือ่ สร้างเสรจ็ จะแสดงฐานข้อมูลท่สี ร้างข้นึ มา จากนัน้ ทาการคลกิ เข้าไปตามชื่อของฐานข้อมลู ทเ่ี ราได้ สรา้ งไว้ หรอื ต้องการเพ่ิม/ แก้ไข 8. หนา้ ต่างจะแสดงดังน้ี จากนน้ั ทาการคลิกท่ีป่มุ 9. เลือกรปู แบบของ Target เป็น Single Image 10. กดที่ Browse แลว้ เลอื กไฟล์ Target ทีไ่ ด้ออกแบบหรือเตรียมไว้ 11. กาหนดความกวา้ งของ Target 12. ตัง้ ชอ่ื Target 13. จากน้ันกด Add เพื่อเพิม่ Target 9 9 10 11 12 13 การพัฒนาส่ือปฏสิ ัมพันธด์ ว้ ยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมูล หนา้ 8

14. เมือ่ เพิม่ Target เรยี บร้อยแล้วจะแสดง Target ที่ถูกเพิม่ ดังตอ่ ไปนี้ Target ท่เี หมาะสมควรมี 4-5 ดาว 15. คลกิ ทปี่ มุ่ 16. เลอื ก Unity Editor จากนนั้ กด Download และจะได้ Database มา การพฒั นาสอื่ ปฏสิ ัมพันธด์ ว้ ยเทคโนโลยีเสมือนจริง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมลู หนา้ 9

สว่ นที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Unity 2.1 การสรา้ ง AR 1. เปิดโปรแกรม Unity 2. คลิกท่ปี มุ่ 3. หนา้ จอจะแสดงผลดังต่อไปน้ี จากนั้นดาเนินการตง้ั ช่อื เลอื กท่อี ยู่ และรปู แบบแทมเพลต จากน้ันกด Create project 1. ชอื่ โปรเจกต์ 2. ทีอ่ ยู่งาน 3. รูปแบบเทตเพลต โดยเลือกเป็น 3D 4. กด Create project 1 2 3 4 4. จะไดห้ นา้ แสดงผลดังน้ี การพัฒนาสอ่ื ปฏสิ ัมพันธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมูล หนา้ 10

5. ลบ Main Camera ออก โดยคลกิ ขวาแลว้ เลอื ก Delete 6. จากนัน้ คลิกที่ GameObject -> Vuforia -> AR Camera -> Import ดงั รูป 7. คลิกที่ Assets -> Import Package -> Custom package -> เลือก Database ที่ได้โหลดไวใ้ น สว่ นท่ี 1 ขอ้ ที่ 17 -> Import การพฒั นาสื่อปฏสิ มั พันธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมูล หนา้ 11

8. คลิกที่ Edit -> Project Settings -> Player -> XR Settings แล้วตก๊ิ ทช่ี ่อง Vuforia Augmented Reality Supported ดงั รปู 9. คลกิ ที่ AR Camera -> Open Vuforia configuration 10. จากนน้ั ไปยังเวบ็ ไซต์ Vuforia ทไ่ี ด้สรา้ ง Target ไว้ แล้วเลือก Target ที่ตอ้ งการนาไปใช้ 11. ทาการคัดลอก License key การพัฒนาสื่อปฏสิ ัมพนั ธ์ดว้ ยเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมลู หนา้ 12

12. นา License key มาใส่ในชอ่ ง App License Key ในหนา้ ตา่ ง Inspector จากนน้ั กด Add License หากเปดิ แล้วไม่แสดงดังรปู เนื่องจากโปรแกรมเรียกใช้ IE Browser ให้ทาการล็อกอินผา่ น IE Browser แล้วทาขนั้ ตอนท่ี 11 อกี คร้ัง การพัฒนาส่อื ปฏสิ มั พันธ์ดว้ ยเทคโนโลยีเสมอื นจริง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมูล หนา้ 13

13. คลกิ ท่ี GameObject -> Vuforia -> Image หนา้ ตา่ งจะแสดงดังรูป 14. มาทส่ี ว่ น Inspector จากน้ันปรบั ขนาด Target ให้เหมาะสม 15. เลอื ก Target ที่ตอ้ งการ ซงึ่ รูปจะเปล่ยี นไปตาม Target ทเี่ ลอื ก การพัฒนาส่อื ปฏสิ ัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมอื นจริง ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 14

16. ควรเปล่ียนชอ่ื Image Target เป็นช่อื ของโมเดล เพื่อง่ายต่อการทางาน โดยคลกิ ขวาที่ Image Target แลว้ กด Rename ดงั รปู 17. คลกิ ขวาทส่ี ว่ นของโฟลเ์ ดอร์ Assets จากน้นั เลือก Create -> Folder -> ต้งั ชอ่ื วา่ 3d 18. คลิกเข้าไปยังโฟล์เดอร์ 3d แล้วลากนาเอาโฟลเ์ ดอรโ์ มเดลทไ่ี ด้โหลด หรือสร้างมาใส่ (ตอ้ งใส่เป็นโฟลเดอร์ และแยกตัวโมลเดล 1 ตวั ตอ่ 1 โฟลเดอร์เทา่ นัน้ ) จะไดด้ ังรปู การพัฒนาส่อื ปฏสิ มั พนั ธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมูล หนา้ 15

19. เปิดโฟลเ์ ดอรโ์ มเดลท่ตี ้องการนาโมเดลไปใสใ่ น Image Target 20. ทาการลากโมเดลไปวางทบั ใน Image Target ของโมเดลนั้นๆ แลว้ หนา้ ตา่ งจะแสดงดังรูป 21. ลากสีของโมเดลไปวางทต่ี ัวโมเดล การพัฒนาสอื่ ปฏสิ มั พันธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 16

เสร็จแล้วหนา้ ต่างจะแสดงรปู ดังนี้ 22. ทาการปรบั ตาแหนง่ ของโมเดลให้เหมาะสม 1 234 1. ปรบั ตาแหน่งการมอง 2. เคลือ่ นย้ายโมเดลในแนวแกน X, Y, Z 3. ปรับตาแหนง่ โมเดลตามระยะองศาต่างๆ 4. ปรับขนาดโมเดล สามารถคลิกขวา เพ่ือดูรูปในแตล่ ะมมุ มองได้ การพฒั นาสอื่ ปฏสิ ัมพันธ์ดว้ ยเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมูล หนา้ 17

23. การทดสอบการใช้งาน AR ให้คลิกป่มุ เลน่ หากตอ้ งการดูขนาดเต็มหนา้ จอใหค้ ลิกดังรปู แลว้ เลอื ก Maximize 2.2 การใส่ Effect 1. ไปยงั GameObject -> Effects -> Particle System 2. กาหนดรูปแบบของ Effect ตามความสนใจ การพัฒนาส่ือปฏสิ ัมพันธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมอื นจริง ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมูล หนา้ 18

3. ลาก Effect(Particle System) ไปวางทบั กับ Image Target ทส่ี ร้างข้ึน เสรจ็ เรียบร้อยสาหรับการใส่ Effect 2.3 การใสเ่ สียง 1. นาเอาไฟล์เสยี งมาใส่ในโฟสเดอร์ Assets 2. ไปท่ี Game Object -> Create Empty -> เปล่ียนชื่อเปน็ sound1 3. ลากเสียงที่มอี ยู่ไปทับ Game Object ทช่ี ่ือว่า Sound1 การพฒั นาสือ่ ปฏสิ ัมพนั ธด์ ว้ ยเทคโนโลยีเสมือนจริง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมลู หนา้ 19

4. ต้งั ค่าการเล่นเสยี งใหเ้ หมาะสม 2. คลิก Image Target ท่ตี อ้ งการใส่เสียง 3. ดบั เบล้ิ คลกิ ท่ี DefaultTrack….. ดังรูป การพฒั นาสื่อปฏสิ มั พันธด์ ้วยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมูล หนา้ 20

4. ทาการแก้ไขโค้ดดงั ต่อไปน้ี จากน้นั กด Save แลว้ ปดิ หนา้ ต่างโค้ด จากนั้นรอสักครู่ หรือดบั เบิ้ลคลกิ DefaultTrack….. ก็จะเห็น การเปลย่ี นแปลง และสามารถดาเนินการต่อไปไดเ้ ลย 5. ลาก sound1 ไปไว้ในช่อง Sound1 ดงั รูป เสรจ็ เรียบรอ้ ยสาหรบั การใสเ่ สยี ง การพัฒนาสื่อปฏสิ ัมพนั ธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจรงิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมูล หนา้ 21

2.4 การใส่แอนนเิ มชันหมุนโมเดล 1. คลิกท่ี Window -> Animation -> Animation 2. คลิก Image Target ท่ตี อ้ งการหมุน 3. คลิก Create 4. ต้ังชอื่ Animation แล้วกด Save การพฒั นาส่อื ปฏสิ มั พันธ์ดว้ ยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมลู หนา้ 22

5. คลิก Add property -> Transform -> Rotation(คลิกเครื่องหมายบวกด้านหลงั ) 6. คลิกที่ลูกศรดังรปู 7. ตงั้ ค่าแกน Y ให้เท่ากบั 360 ดงั รปู 8. ปรับตาแหนง่ ของการเลน่ ตามระยะเวลาทตี่ อ้ งการ คลิกค้างไวแ้ ล้วเคลื่อนไปยัง เสรจ็ เรยี บร้อยสาหรับการทาให้โมเดลหมนุ ได้ ตาแหน่งเวลาทต่ี ้องการ การพฒั นาส่ือปฏสิ มั พนั ธด์ ้วยเทคโนโลยเี สมือนจริง ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์สมชาย เมอื งมลู หนา้ 23

2.4 Export AR to .apk (Android Application) 1. ไปที่ File -> Build Settings 2. คลิกท่ี Android -> Switch Platform 3. คลกิ Add Open Scenes การพฒั นาสื่อปฏสิ มั พนั ธด์ ้วยเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 24

4. คลิก Player Settings แลว้ ต้ังค่าดังต่อไปนี้ ชื่อบรษิ ทั ชอื่ แอป เวอรช์ ันแอป ไอคอนแอป com.ชื่อบริษัท.ชอ่ื แอป เวอร์ชนั แอป เวอรช์ ันแอนดรอยท์ ีร่ บั รอง แนะนา 5.0 ขนึ้ ไป **สาคญั มาก ต้องติก๊ เสมอ การพัฒนาส่อื ปฏสิ ัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยเี สมือนจริง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 25

5. จากนนั้ คลกิ ท่ีปุ่ม Build -> เลอื กทีเ่ กบ็ -> ตง้ั ช่อื แอป -> จากนัน้ กด Save การสร้างแอปแต่ละตวั อาจใชเ้ วลานานตามขนาดของแอป 6. เสรจ็ แล้วจะได้ไฟล์ .apk มา ซง่ึ สามารถนาไปตดิ ตั้ง และใช้งานไดเ้ ลย การพฒั นาสอื่ ปฏสิ ัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย เมอื งมลู หนา้ 26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook