Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 7 Community diagnosis

Chapter 7 Community diagnosis

Published by WARISA CHANTARUNGSEEVORAKUL, 2018-08-19 02:25:16

Description: FAMCOM 2

Keywords: Community,Diagnosis

Search

Read the Text Version

บทท่ี 7การวินจิ ฉยั ปญั หาสุขภาพชมุ ชน อ.วริศา จันทรงั สีวรกลุ1. แนวคิดและหลักการวินิจฉัยชุมชน 1.1 ความหมายของการวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน การวินิจฉัยชุมชน (Community diagnosis) หมายถึง กระบวนการศึกษาโดยการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือให้ได้ผลท่ีบ่งช้ีว่าประชากรในชุมชนนั้นมีสถานภาพอนามัยอยู่ในระดับใดปัญหาสาธารณสุขในชุมชนนนั้ มีอะไรบ้าง รวมถงึ ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมผี ลกระทบตอ่ สถานภาพอนามยั ของบคุ คลในชุมชน ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีความจาเป็นเพื่อนามาวางแผนแก้ปัญหาและยกสถานภาพด้านสุขภาพอนามัยของชมุ ชนใหด้ ีขนึ้ ดงั นั้นการวินิจฉัยอนามัยชุมชนจึงเป็นจดุ เริ่มต้นท่ีจะนาไปสู่กระบวนการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขโดยรวมของชุมชนต่อไป โดยการวนิ ิจฉัยอนามยั ชุมชนจะทาให้มองเหน็ แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาสาธารณสขุ ของชุมชนนัน้ ๆ อย่างรอบด้าน 1.2 การเตรยี มชมุ ชน ปจั จุบันกระแสของการพัฒนาแบบองค์รวม (Holistic) โดยเน้นการมีสว่ นรว่ มของประชาชนไดก้ ่อใหเ้ กิดผลสาเร็จในการแก้ไขปญั หาและเกดิ การพัฒนาเป็นอย่างสูง ดงั น้นั จึงควรพิจารณาหาแนวทางให้ประชาชนในชมุ ชนได้มีสว่ นรว่ มในทุกขนั้ ตอนของกระบวนการดาเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชนด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Participation) มคี วามสาคัญตงั้ แต่การเตรียมเจ้าหน้าท่ี เตรียมชุมชนการฝึกอบรม การติดตามการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยให้ประชาชนในชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้าร่วมชว่ ยเหลอื งาน ทั้งด้านกาลงั คน กาลังเงิน และวัสดอุ ุปกรณ์ต่าง ๆ ซงึ่ มไิ ดห้ มายถึงเฉพาะชุมชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหนา้ ที่ของรัฐในการพฒั นาเทา่ นน้ั หากแตห่ มายถึงประชาชนในชมุ ชนเปน็ ผู้ตระหนักถึงปญั หาของชุมชนของตนเป็นอย่างดี จึงเป็นผู้กาหนดปัญหา เป็นผู้วิเคราะห์ปัญหา ตลอดจนหาแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชน ทั้งน้ีโดยชุมชนมีความสามารถในการแยกแยะได้ว่า วิธีการแก้ปัญหาใดประชาชนในชุมชนสามารถแก้ปัญหาเองได้ วิธีการใดอยู่นอกเหนือความสามารถของชุมชน ต้องให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือบุคคลภายนอกชุมชนเปน็ ผู้แก้ไขปัญหานั้น ขั้นตอนการเตรยี มชุมชน 1. การเตรียมตนเองและทีมงานสุขภาพ เน่ืองจากการดาเนินงานอนามัยชุมชนเป็นการพัฒนาทั้งระบบทเ่ี น้นสขุ ภาพเปน็ สาคญั จึงจาเป็นตอ้ งอาศัยทักษะและประสบการณ์หลาย ๆ ด้านมาประยกุ ต์ดังนน้ั กอ่ นออกปฏบิ ตั ิงานจงึ ตอ้ งทบทวนความรู้ ตลอดจนนาประสบการณม์ าประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 2. การเตรยี มประชาชน หรอื องคก์ รตา่ ง ๆ ในชมุ ชน เชน่ คณะกรรมการหม่บู ้านอาสาสมัครตา่ ง ๆ ครู พระ และอ่นื ๆ ผูด้ าเนินงานจะต้องบอกวัตถุประสงค์และรายละเอยี ดของการทางานให้ชุมชนรับทราบเพ่ือก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องและเป็นการกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติงานพัฒนาอนามยั ของชมุ ชน 3. การวางแผนเตรียมการดาเนินงานอนามัยชุมชน เป็นการกาหนดข้ันตอนและกิจกรรมการทางานให้เหมาะสมกบั ทรพั ยากรในชุมชนและระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน รวมท้ังการกาหนดบทบาทหน้าท่ีของแต่ละฝ่ายให้สอดคล้องกันท้ังนเ้ี พอ่ื ให้การดาเนนิ งานบรรลุเป้าหมายในระยะเวลาท่กี าหนด

22. กระบวนการวนิ ิจฉยั ชุมชน กระบวนการวินจิ ฉยั อนามัยชุมชนมีลักษณะคล้ายกบั กระบวนการพัฒนาอนามยั ชมุ ชน โดยจะมีกระบวนการ ดังน้ีแผนภมู ิที่ 1 กระบวนการพฒั นาอนามัยชุมชนการรวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การระบปุ ัญหาการวิเคราะหป์ ญั หา ปญั หาสาคญั เรง่ ดว่ น การจัดลาดับความสาคญั ของปัญหากลวิธใี นการแก้ไขปญั หา การจัดทาแผนในการดาเนนิ การการประเมนิ ผล การดาเนินการตาม การจดั ทาโครงการในการ แผนโครงการ แก้ไขปญั หากระบวนการวินจิ ฉัยชมุ ชนเปน็ ขน้ั ตอนหนงึ่ ของการดาเนินงานอนามัยชมุ ชน ซงึ่ สามารถจาแนกได้ ดังน้ี 1. การประเมินชุมชน ประกอบดว้ ย 1.1 การทาแผนที่ 1.2 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1.3 การวิเคราะห์ข้อมลู 1.4 การนาเสนอข้อมลู 2. การระบุปัญหาหรือการวินจิ ฉยั ปญั หาอนามยั ชุมชน 3. การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 4. การศึกษาสาเหตขุ องปัญหา 5. การวางแผนเพอ่ื แก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน 6. ปฏบิ ตั ิตามแผนงาน 7. การประเมินผลการดาเนนิ งาน 2.1 การประเมนิ ชมุ ชน การประเมินชุมชนเป็นกระบวนการในการประเมินและนิยามความต้องการ โอกาส และแหลง่ ทรัพยากรในชมุ ชน เพ่ือใชเ้ ป็นฐานในการริเรมิ่ โครงการสง่ เสริมสุขภาพ หรอื กิจกรรมการพัฒนาอน่ื ๆ ในชุมชนหลังจากการประเมินชุมชนจะมีการจัดการลาดับความสาคัญ วางแผนการดาเนินโครงการหรือแผนกิจกรรมตอ่ ไป ซ่งึ การประเมินชุมชนประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ หลกั คอื 1. Community profile ประกอบด้วยขอ้ มูลเกย่ี วกบั 1.1 ลกั ษณะทางประชากร เชน่ อายุ เพศ และโครงสรา้ งครอบครวั 1.2 สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น แหล่งประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สภาพท่ีอยู่อาศยั โอกาสในสนั ทนาการ และความร้สู ึกปลอดภัย 2. Community health wellness profile จะบง่ บอกถึงความเจ็บป่วย และสขุ ภาวะของประชาชนในชุมชน 3. The behavioral profile ประกอบด้วยแบบแผน การเขา้ ถึงและอุปสรรคในการเขา้ รว่ มกิจกรรมสันทนาการ, การกีฬา และการเสริมสร้างสุขภาพอื่น ๆ ข้อมูลน้ีจะเป็นประโยชน์ในการวางแผน

3จัดบริการ และจัดหาส่ิงอานวยความสะดวกท่ีจาเป็น และทานายแนวโน้มที่คนในชุมชนจะสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทีจ่ ัดขนึ้ 4. The service profile จะบอกข้อมูลสงิ่ อานวยความสะดวก และบริการทีม่ อี ยใู่ นชมุ ชน การให้ความสาคญั ในการศกึ ษาชมุ ชนอย่างลึกซง้ึ กอ่ นเข้าปฏบิ ตั ิการนบั เป็นเครอื่ งมอื ทส่ี าคญัมาก ประชาชนจะเกดิ ความเชอ่ื มน่ั และไว้วางใจ อันเป็นปัจจยั ส่คู วามร่วมมือทีด่ ีของชุมชนตอ่ ไป ดงั นั้นก่อนที่เจา้ หน้าที่จะเข้าไปดาเนินโครงการใด ๆ ย่อมต้องเรม่ิ ด้วยการประเมินชมุ ชนท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่งึ ข้นั ตอนการประเมินชุมชนประกอบด้วย 1. การทาแผนที่ 2. การรวบรวมขอ้ มูล 3. วิเคราะหข์ อ้ มลู 4. การนาเสนอขอ้ มูล 5. การแปลผลและสรปุ ผล 2.1.1 การทาแผนที่ แผนท่ี คือ แผ่นภาพจาลองหรือแผ่นภาพ แสดงเน้ือท่ีโดยย่อของภูมิประเทศในแนวราบที่จัดทาขึ้นด้วย เส้น สี และเครอื่ งหมายต่าง ๆ ทจี่ าเป็น ซงึ่ แทนของจริงท่ีปรากฏอยู่บนพ้ืนผวิ โลก โดยมีความถกู ต้อง ท้งั ระยะทางทิศประกอบกับการใช้มาตราสว่ นเปน็ หลกั แผนท่ีแบ่งออกได้ 2 อย่างคือ 1. แผนที่ทว่ั ไป แผนที่ทว่ั ไปมีจดุ มุ่งหมายเพ่ือใชป้ ระโยชน์หลาย ๆ อย่าง แสดงส่งิ ตา่ ง ๆในแผนที่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น แผนที่ประเทศ มีการแสดงอาณาเขตติดต่อประเทศใกล้เคียงแสดงเส้นทางคมนาคมทางนา้ ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ แสดงภูเขา ทะเล อ่าว ฯลฯ 2. แผนท่ีพิเศษ แผนที่พิเศษเป็นแผนที่เฉพาะบริเวณท่ีทาข้ึนเพื่อแสดงอาณาเขตเฉพาะบรเิ วณใดบริเวณหน่ึง เพ่ือกิจการใดกจิ การหนึ่งโดยเฉพาะ ภายในแผนทมี่ ีรายละเอียดที่ต้องการแสดงเท่านั้นเช่น แผนทีแ่ สดงชุมชนท่มี ีการระบาดของโรค แผนท่ีพเิ ศษมปี ระโยชน์ในงานอนามยั ชมุ ชน คอื 2.1 ทาใหท้ ราบอาณาเขตของชุมชนภายใต้ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ 2.2 ทราบลกั ษณะพ้นื ท่ี ภมู ปิ ระเทศ สงิ่ ก่อสร้างทางดา้ นอนามัย เชน่ โรงพยาบาล สถานีอนามยั อาคารบา้ นเรอื น แหล่งนา้ ส้วม เปน็ ต้น 2.3 ทราบแหลง่ กาเนิด หรอื แหล่งทสี่ งสัยวา่ เปน็ แหลง่ กาเนดิ ของโรค 2.4 แสดงอาณาเขตการปฏิบัติงาน การนิเทศงาน การประเมินผลงานตลอดจนลกั ษณะเฉพาะเพอ่ื วางแผนปฏิบตั ิงานในแตล่ ะครอบครวั ของชมุ ชนนั้น 2.5 ประกอบการวางโครงการ ประกอบอธบิ ายรายงานและติดตามผล องค์ประกอบของแผนที่ 1. ช่อื แผนท่ี ต้องบอกใหช้ ัดเจนวา่ เป็นแผนทแี่ สดงอะไร ของชุมชนไหน ช่อื แผนทน่ี ิยมเขยี นไว้ส่วนบนของแผนที่ 2. ทิศทาง เปน็ ส่ิงท่ีตอ้ งแสดงให้ถูกต้องตามแนวของทศิ ที่เปน็ จริงในภูมปิ ระเทศ โดยท่ัวไปแผนทีจ่ ะยดึ “ทศิ เหนือ” เปน็ หลัก 3. มาตราสว่ น คือ อัตราส่วนหรือจานวนตัวเลขที่แสดงส่วนสัมพันธ์ของระยะบนแผนท่ีกับระยะภูมิประเทศจรงิ ตามแนวราบ การยอ่ ส่วนในแผนที่แผ่นเดียวจะต้องใช้มาตราส่วนเดียวกันหมด นิยมใช้“เศษ” เป็น “1” เสมอ และตอ้ งแสดงไวอ้ ย่างชัดเจน เพื่อผใู้ ช้จะไดป้ ระมาณความเปน็ จรงิ ของภมู ิประเทศได้

4อย่างถกู ตอ้ ง เชน่ 1: 10,000 (ไม่ตอ้ งแสดงหนว่ ย) 4. ระยะทาง การวัดระยะทางโดยทั่ว ๆ ไป ต้องใชเ้ ครอ่ื งมือวัด เชน่ ไม้เมตร เทป แตใ่ นงานอนามัยชุมชนส่วนใหญ่จะทาแผนที่เป็นแผนท่ีสังเขป ซ่ึงมีความละเอียดไม่มากนัก ผู้ทามักจะมีเครื่องมือไม่พร้อม การวัดระยะทางมกั จะทาโดยการคาดคะเนระยะทางให้ใกล้เคยี งกับความเป็นจรงิ อาจคาดคะเนโดยการนับก้าว แล้วใช้ความยาวของแต่ละก้าวเดินมาคานวณ เป็นความยาวของระยะทางการเดินนับก้าว ควรเดินอย่างน้อย 2 ครั้ง แล้วนาค่าท่ีได้มาเฉล่ีย โดยเอาจานวนก้าวที่เดินได้คูณด้วยความยาวของ 1 ก้าว ดังน้ันระยะทางเทา่ กบั ความยาวของ 1 ก้าว คูณจานวนกา้ ว 5. เครื่องหมาย คือ สิ่งที่ใช้แสดงแทนสิ่งของต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในภูมิประเทศ อาจแสดงดว้ ยเสน้ สี รปู ตวั อกั ษร เส้นเครื่องหมาย ภาพจาลองขนาดย่อ ฯลฯ ส่งิ เหลา่ นีท้ าข้นึ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างผเู้ ขียนและผ้อู า่ นแผนที่ เพราะการท่จี ะนาเอาทุกอยา่ งทปี่ รากฏบนพ้นื โลกมาแสดงบนแผนทท่ี ้งั หมดย่อมทาไม่ได้ ดงั นั้นจึงจาเปน็ ต้องใช้เครอื่ งหมายแทน 6. วัน เดือน ปี จะต้องเขียน วันที่ เดือน ปี ท่ที าแผนทีก่ ากบั ไว้ด้วย เพราะวา่ ระยะผ่านไปส่วนประกอบภายในชมุ ชนอาจเปลีย่ นแปลงไป 7. ช่ือผู้ทาแผนท่ี ควรจะเขียนไว้ด้วย เพ่ือผู้ใช้หรือผู้อ่านแผนที่สงสัยและต้องการรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จะไดส้ ามารถตดิ ต่อข้อมลู ได้ 8. คาอธิบายเครือ่ งหมายในแผนท่ี เขยี นไวท้ มี่ ุมของแผนทเ่ี พอื่ ให้ผ้อู ่านเข้าใจ การทาแผนท่ี 1. สารวจอยา่ งครา่ ว ๆ 2. หาระยะทาง ควรเรมิ่ จากจดุ ตา่ ง ๆ จากจดุ หนงึ่ ถงึ จุดหนึ่ง ด้วยการวัดหรือการนบั ก้าวหาความยาวที่เปน็ จรงิ แลว้ จดบนั ทึกระยะทางน้นั ๆ ลงไปในแผนท่เี พอ่ื รอการดัดแปลงใหไ้ ด้มาตราสว่ นภายหลัง 3. สังเกตลักษณะส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ โดยการสังเกตว่าสิ่งแวดล้อมท่ีเดินผ่านไปนั้นมีอะไรบา้ งทต่ี ้องการนาลงในแผนท่ี จดบันทึกสิง่ แวดล้อมเหล่านั้นลงไปดว้ ยขอ้ ความ รูปภาพ หรือเคร่ืองหมายฯลฯ เพื่อจดั เตรยี มไว้สาหรบั การทาโดยละเอียดในภายหลงั 4. นาเอาแผนที่หยาบ ๆ ที่ได้จากข้อ 1-3 มาทาการคัดลอกและย่อส่วนตามขนาดของมาตราที่จะใช้ให้เกิดความเหมาะสมกับหน้ากระดาษ พร้อมท้ังปรบั ปรงุ ส่ิงคลาดเคล่ือนต่าง ๆ ให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมดยี ่ิงข้ึน สิ่งใดที่เห็นว่าไม่เหมาะสมกไ็ ม่จาเป็นจะต้องนามาแสดงไว้ ถึงแม้ว่าสง่ิ นั้นจะมีอยจู่ ริง ๆ ในพื้นที่ภูมปิ ระเทศ ส่งิ ใดทตี่ ้องการเน้นเพื่อให้เกิดความเด่นชดั กส็ ามารถใชเ้ ส้นและสีทาใหเ้ ด่น และถกู ต้อง 2.1.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ข้อมูลท่ีใช้ประเมินสภาวะอนามัยชุมชน 1. ขอ้ มูลทว่ั ไป - สภาพทางภมู ิศาสตร์ของชุมชนท่ศี ึกษา - ประวตั แิ ละความเป็นมาของหมบู่ ้าน - สถาบนั และองคก์ รในหมู่บา้ น - จานวนประชากรแยกตาม เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ระดับการศึกษา การประกอบอาชพี รายได้ สถานภาพสมรส โครงสรา้ งครอบครัว - จานวนสมาชกิ ในครอบครวั - จานวนหลังคาเรอื น จานวนประชากรตอ่ พนื้ ท่ีอาศยั - ความเชอื่ ของชุมชน คา่ นยิ ม วฒั นธรรมประจาชมุ ชน ฯลฯ

5 2. ข้อมลู ทางดา้ นสขุ ภาพอนามัย - สถติ ชพี อัตราเกิด อตั ราตาย อัตราการปว่ ยดว้ ยโรคต่าง ๆ - สถานบริการสขุ ภาพ ท้ังภาครฐั และเอกชน การเขา้ ถึงบริการของประชาชน จานวนผู้ให้บรกิ าร และแหลง่ ประโยชน์ - ประเภทของบริการทางสุขภาพทจ่ี ดั ให้แก่ประชาชน - การอนามัยแม่และเดก็ การใหภ้ ูมคิ ้มุ กนั โรค ฯลฯ 3. ข้อมูลทางดา้ นอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม - สภาพและลกั ษณะบา้ น - การกาจดั นา้ เสีย - การกาจัดขยะมูลฝอย - น้าด่มื นา้ ใช้ ความพอเพียง การปรับปรุงคุณภาพของน้า การเกบ็ รกั ษา - แมลงและสัตวท์ เ่ี ป็นพาหะของโรค - สว้ ม จานวนครอบครัวท่มี ีส้วมใช้ ฯลฯ แหล่งขอ้ มูล 1. แหล่งปฐมภูมิ (primary data) เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งขอ้ มูลโดยตรง เช่น จากการสารวจสมั ภาษณ์ การทดลอง การทาสามะโนประชากรและครัวเรือน หรอื จากการสมั ภาษณ์ ขอ้ มูลประเภทนี้มักถูกต้องตรงกับความเป็นจริง แตก่ ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ นี้จะเสียเวลาและลงทุนมาก 2. แหลง่ ทุติยภมู ิ (secondary data) เปน็ ข้อมูลท่ไี ด้มาจากแหล่งขอ้ มูลท่ีมีคนเก็บรวบรวมไว้แล้วเมื่อต้องการใช้ก็สามารถนาข้อมูลจากแหล่งเหล่าน้ีมาใช้ได้ทันที เช่น จากทะเบียนชีพ ระเบียน การบริการสุขภาพ ขอ้ มลู การเฝ้าระวงั โรคทางระบาดวทิ ยา แบบสรุปความจาเป็นพ้นื ฐาน (จปฐ.) เอกสาร ข้อมูลเหล่านี้เวลานามาใช้จะต้องระมัดระวังเร่ืองของความถูกต้อง และต้องพิจารณาถึงที่มาของข้อมูลนั้นด้วยว่าข้อมลู มวี ัตถปุ ระสงค์ของการเก็บไวใ้ ช้ประโยชน์อะไร เก็บเม่ือไร ใครเป็นผู้เก็บ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแหลง่ นไ้ี มต่ ้องลงทนุ มาก แตข่ อ้ มูลท่ีได้มกั ไมส่ มบูรณ์ตามทต่ี อ้ งการ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการวินิจฉยั อนามัยชุมชน มีวิธีการหลายวธิ ี แตท่ ่ีนิยม มดี งั น้ี 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธกี ารสังเกต การสังเกตแบบมสี ่วนร่วมคือ การทผ่ี ู้สังเกตเข้าไปใช้ชีวิตร่วมกับกลุ่มคนที่ถูกศึกษา ทากิจกรรมร่วมกันจนผู้ที่ถูกศึกษายอมรับว่าผู้สังเกตมีสถานภาพเช่นเดียวกับตน ข้อดีคือ ทาให้ได้รับการยอมรับและสนิทสนมจนผู้ถูกสังเกตไม่รู้สึกตัวว่าถูกสังเกต จึงมีพฤติกรรมท่ีเปน็ ไปตามธรรมชาติ ทาให้ไดข้ อ้ มลู ท่เี ป็นจริง และทาให้เหน็ ภาพรวมของข้อมูล เข้าถึงข้อมูลง่ายและสามรถตรวจสอบข้อมลู ได้ซ้าๆ โดยอาจตอ้ งเขา้ ไปฝงั ตัวในเหตกุ ารณ์หรือชุมชนเปน็ เวลานาน 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใชแ้ บบสอบถาม 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยวธิ ีการสัมภาษณ์ 2.1.3 การวเิ คราะหข์ ้อมลู มีขัน้ ตอนการวิเคราะห์ดังนี้ 1. การบรรณาธิกรณข์ อ้ มูลดิบ คอื การตรวจสอบดคู วามสมบรู ณแ์ ละความถูกต้องของข้อมูลทีไ่ ดม้ า ซึ่งอาจจะได้จากการสงั เกต การสัมภาษณ์ หรือใชแ้ บบสอบถาม ในการตรวจสอบข้อมูล โดยปกติแล้วควรทาเป็นระยะ ๆ ตง้ั แตเ่ ริ่มเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การตรวจสอบขอ้ มูลจึงเป็นการค้นหาข้อผิดพลาดทจี่ ะได้แก้ไขกอ่ นทีจ่ ะลงมือทาการวเิ คราะห์ในข้ันตอ่ ไป 2. การแบ่งหมวดหมูข่ ้อมูล คอื การนาข้อมูลมาแบง่ ออกเป็นหมวดหม่ตู ามวตั ถุประสงคข์ อง

6การประเมนิ ชุมชน ลงในตารางวเิ คราะห์ (dummy table) ทไี่ ด้จดั เตรียมไว้ 3. การแจงนับข้อมูล (tally) เป็นการแจกแจงความถขี่ องข้อมูลตามหมวดหมู่ลงในตารางท่ีเตรียมไวก้ ารแจงนับ 4. รวมจานวนจากการขดี นบั ออกมาเปน็ ตัวเลขจานวนเตม็ แล้วคานวณออกมาเป็นค่ารอ้ ยละ หรือค่าสถิติอื่น ๆ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการศึกษา ท้งั น้ีเพอ่ื ให้ขอ้ มลู ท่ีวิเคราะห์ไดส้ ามารถนาไปเทยี บกับเกณฑ์หรือค่ามาตรฐานของปญั หาทศ่ี ึกษาน้นั 2.1.4 การนาเสนอข้อมูล (Presentation of data) วิธกี ารนาเสนอขอ้ มูลท่นี ยิ มมดี ังนี้ 1. การนาเสนอในรูปบทความ (Text presentation) มีลักษณะเป็นการพรรณนาหรือบรรยายขอ้ ความสั้น ๆ ปนไปกบั ตัวเลข เหมาะสาหรับขอ้ มูลที่มรี ายการจานวนน้อยไมม่ ากเกนิ ไป โดยมากมักเปน็ การสรุปผลงานและมตี วั เลขเสนอเน้นใหเ้ ห็นความสาคญั ตวั อยา่ งความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาลช้ันปีที่ 2 เกี่ยวกับการฝึกภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน พบวา่ นักศกึ ษาชอบปฏิบัติงานเย่ียมบ้าน รอ้ ยละ 54.06 งานอนามัยโรงเรียน ร้อยละ26.80 และงานศูนย์บริการ ร้อยละ 19.14 2. การนาเสนอในลักษณะกึ่งตารางกง่ึ บทความ (Semi-tabular presentation) เป็นการนาเสนอบทความและตวั เลขที่จดั เป็นหมวดหมูแ่ ล้ว เพื่อให้อ่านได้งา่ ยและสะดวกในการเปรยี บเทียบ พรอ้ มท้ังมขี อ้ ความหรอื บทความอธิบายส้ัน ๆ ตัวอยา่ งในปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ มีนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต จานวน 650 คน แยกเปน็ ช้ันปดี ังน้ี ปที ่ี 1 จานวน 162 คน ปที ่ี 2 จานวน 168 คน ปีที่ 3 จานวน 157 คน ปที ่ี 4 จานวน 163 คน 3. การนาเสนอในรูปตาราง (Tabular presentation) จะช่วยแสดงข้อมูลให้เห็นได้ง่าย และชัดเจนยิ่งขึ้น สะดวกต่อการเปรียบเทียบความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ของข้อมูล รวมทั้งการวเิ คราะห์ การนาเสนอในรูปตาราง จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจข้อมูลท่เี ก็บรวบรวมมาไดช้ ดั เจนยง่ิ ขึ้น ดงั ตวั อย่างตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของนักศึกษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราช ชนนี สวรรค์ประชารกั ษ์ นครสวรรค์ ปกี ารศกึ ษา 2560 จาแนกตามชั้นปี ชนั้ ปี จานวน รอ้ ยละชน้ั ปีท่ี 1 162 24.92 แถวชน้ั ปที ี่ 2 168 25.85ชั้นปีท่ี 3 157 24.15ชน้ั ปที ่ี 4 163 25.08 สดมภ์ รวม 650 100.00 จากตารางที่ 2 พบวา่ มีนักศึกษาพยาบาลช้ันปี 2 มากท่ีสุด จานวน 168 คน คิดเป็นรอ้ ยละ25.85 รองลงมาคือ ช้ันปีท่ี 4 ชั้นปีที่ 1 และ ชั้นปีที่ 3 มีจานวน163, 162 และ 157 คน คิดเป็นร้อยละ25.08, 24.92 และ 24.15 ตามลาดับ

7 แหล่งข้อมูล คือส่วนที่ปรากฏอยู่ใต้ตารางเพ่ือบอกให้ทราบว่าข้อมูลดังกล่าวมาจากไหน ในกรณีที่ข้อมลู มาจากแหล่งปฐมภูมิจะไม่นิยมบอกแหลง่ ขอ้ มลู ไว้ใตต้ าราง แตใ่ ช้วธิ เี ขียนพรรณนาให้ผู้อ่านทราบว่าไดท้ าการเกบ็ รวบรวมข้อมลู มาจากทใี่ ดและโดยวิธีใด 4. การนาเสนอแบบแผนภมู แิ ละกราฟ 4.1 แผนภูมิแท่ง เป็นกราฟชนิดที่ง่ายท่ีสุด เหมาะสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพที่ไม่มีความต่อเนื่องของข้อมูล เป็นการนาเสนอท่ีให้เห็นการเปรียบเทียบของข้อมูลแต่ละข้อมูล แผนภูมิแท่งสามารถนาเสนอไดห้ ลายลักษณะ เช่น แผนภูมแิ ท่งเดีย่ ว แผนภมู ิแทง่ แฝด เปน็ ต้นแผนภมู ทิ ี่ 3 จานวนและรอ้ ยละของหญิงวัยเจริญพันุ์ทุ ่อี ยกู่ ินกับสามี จาแนกตามวิุีการคุมกาเนิด50 40.940 20.4630 25 2.2720100 4.2 แผนภูมิวงกลม ใช้กบั ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณหรือข้อมลู เชงิ คุณภาพได้ ซ่ึงเป็นการเปรยี บเทียบให้เห็นส่วนตา่ ง ๆ เมื่อเปรียบเทียบท้ังหมดแผนภูมทิ ่ี 4 จานวนและรอ้ ยละของประชากรจาแนกตามอาชีพ 5% 3% / 9% 61%10% 12%

8 หลกั การเขียน 1. พนื้ ที่ท้งั หมดในวงกลมมีค่าเท่ากับขอ้ มูลรวมทงั้ หมด 2. คานวณค่าของขอ้ มูลเป็นองศา โดยคิดคา่ ทั้งหมดเทา่ กับ 360 องศา 3. คานวณคา่ เป็นองศาแล้ว นามาแสดงเปน็ มมุ แลว้ เสนอขอ้ มูล 4.3 กราฟเสน้ ประกอบดว้ ยเส้นตรง 2 เสน้ ตัง้ ฉากซง่ึ กนั และกนั และบนเส้นตรงจะมมี าตราส่วนของการวดั อยทู่ ้งั 2 เส้น ดังตวั อย่างแผนภมู ทิ ี่ 5 รายได้เฉลีย่ ต่อเดอื นของประชากรในปี 2556-2560 5000 4000 3000 2000 1000 0 2556 2557 2558 2559 2560 2.1.5 การแปลผลและสรุปผล การแปลผล หมายถงึ การลงความเหน็ และการตดั สินใจเกี่ยวกับข้อมูลท่ีไดม้ าว่าตัวเลขหรือคา่ สถติ ติ ่าง ๆ นั้นแสดงถงึ อะไร มคี วามหมายอยา่ งไร ผลทีไ่ ดน้ ั้นพาดพงิ หรอื เก่ยี วขอ้ งกับสงิ่ ใดบา้ ง หลังจากแปลผลข้อมลู กจ็ ะทาใหส้ ามารถมองเห็นปญั หาต่าง ๆ ไดอ้ ย่างชดั เจน ปญั หาท่จี ะถือวา่ เป็นปัญหาของชุมชนน้ันต้องเป็นปัญหาท่ีชุมชนรู้สึกสนใจ (concern) ประชาชนส่วนใหญ่ยอมรับว่าเป็นปญั หา หรือเป็นปญั หาที่กระทบต่อสขุ ภาพของประชาชนส่วนใหญ่ การสรุปผล เป็นการช้ีบอกหรอื อธิบายผลท่ีได้จากการวิเคราะห์ข้อมลู การคานวณค่าสถติ วิ ่าชุมชนเปน็ อยา่ งไร โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของชมุ ชนเปน็ อย่างไร พฤติกรรมทางดา้ นสุขภาพของชุมชนเป็นอย่างไร สาเหตุของปญั หาอย่ทู ีไ่ หน มีปจั จยั ใดบา้ งท่สี ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชน ซง่ึ การสรปุ ผลต้องแยกความคิดเห็นส่วนตวั ออกจากผลการสรปุ นนั้ 2.2 การระบปุ ัญหาอนามัยชุมชนหรือการวินจิ ฉยั ปัญหาอนามัยชุมชน ปญั หา คอื สงิ่ ที่คาดหวังแลว้ ไม่เปน็ ตามความคาดหวัง กอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะความคับข้องใจและวติ กกังวล ปัญหา = (สิ่งทคี่ วรจะเปน็ – สงิ่ ทเี่ ปน็ อยู่) x ความวติ กกังวลหรอื ความรู้สึกที่ต้องการจะแกไ้ ข จากแบบจาลองปัญหาข้างต้นนั้น จะเห็นว่าในการระบุปัญหาน้ันจะต้องมีองค์ประกอบหลัก 3องค์ประกอบทส่ี าคัญ คือ สถานการณท์ ่ีพงึ ปรารถนา สถานการณ์ที่เปน็ จรงิ ในปัจจุบัน และความตระหนักในช่องวา่ งระหวา่ งสองสถานการณน์ ้นั ในการระบุปัญหาท่ีผ่านมาจะเร่ิมต้นมองท่ีสถานการณ์ในปัจจุบัน ใช้กรอบแนวคิดทางวิชาการเลือกใช้เคร่ืองช้ีวัดทเี่ หมาะสมตามเกณฑ์ทางวิชาการ เม่ือไดว้ เิ คราะหข์ ้อมลู สรปุ ผล และแปลผลแลว้ ก็จะนาขอ้ มูลไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรอื มาตรฐาน ข้อมูลอะไรที่ไม่เข้าเกณฑ์ก็จะเรียงออกมาเป็นรายการปัญหาหลังจากนัน้ ก็นารายการทไี่ มเ่ ขา้ เกณฑ์ไปจดั ลาดบั ความสาคญั กอ่ นหลงั วิุกี ารระบปุ ญั หาอนามัยชมุ ชน การระบปุ ัญหาอนามัยชมุ ชนมหี ลายวิธี ดงั น้ี

9- ระบุปัญหาอนามยั ชมุ ชนโดยใช้หลกั 5D ประกอบด้วย ตาย (Death) พิการ (Disability)โรค (Disease) ความไม่สขุ สบาย (Discomfort) และความไม่พึงพอใจ (Disatisfact) การระบปุ ญั หาในลกั ษณะนี้เป็นการนาหลักระบาดวิทยามาประยุกต์ใช้ในการพิจารณาปัญหาร่วมกบั ความวิตกกังวลของชุมชนในการพิจารณา หากพบว่า D ใด D หนึ่ง เป็นปัญหาหรือปัญหาใดมี D หลายตัวประกอบกัน จะเพ่ิมขนาดและความสาคญั ของปัญหาโดยจะมีผลกระทบกับสุขภาพของชมุ ชนมากขน้ึ- ระบุปัญหาโดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือค่ามาตรฐานสากล ซ่ึงเป็นค่าตัวเลขท่ีแสดงถึงเป้าหมายว่าต้องการให้ชุมชนมีสุขภาพอยู่ในระดับใด เกณฑ์หรือค่ามาตรฐานนี้ เช่น เกณฑ์ข ององค์การอนามัยโลก จปฐ. KPI การพิจารณาระบุปญั หาชนดิ นี้ควรนาเสนอขอ้ มูลปญั หาในรูปของปริมาณ หรือปญั หา เช่น อัตรา สดั ส่วน รอ้ ยละ- การระบปุ ัญหาอนามัยชุมชนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process) โดยการให้ประชาชนในชุมชนมีสว่ นรว่ มในการตัดสินใจดว้ ยตัวเองวา่ อะไรเปน็ ปญั หาอนามัยชุมชน การระบปุ ญั หาด้วยวธิ นี ี้ผู้ดาเนินงานต้องนาเสนอขอ้ มลู ท่ผี ่านการวเิ คราะหแ์ ลว้ ให้ชมุ ชนรบั ทราบพร้อมทง้ั แจง้ ใหท้ ราบถึงผลดีผลเสยี ตอ่ สุขภาพ หลงั จากน้ันจึงใหป้ ระชาชนลงความเหน็ ว่าขอ้ ใดสมควรเปน็ ปญั หา2.3 การจัดลาดบั ความสาคัญของปญั หาหลังจากการวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของชุมชนแล้ว จะพบว่าในชุมชนนั้นมีปญั หาสุขภาพอนามัยหลายปญั หา ซง่ึ ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ไมส่ ามารถท่ีแก้ไขปญั หาไปได้พร้อมกัน เน่ืองจากมีข้อจากัดทางด้านทรัพยากร ระยะเวลาและเทคโนโลยที ี่มีอยู่ จงึ มีความจาเป็นที่จะต้องเลอื กวา่ ปญั หาใดควรไดร้ ับการแกไ้ ขก่อนการจัดลาดับความสาคัญของปญั หาจะต้องพิจารณาร่วมกันระหวา่ งประชาชนกับเจา้ หน้าที่สาธารณสุข รวมทั้งองค์กรท่ีเป็นแกนนาของชุมชน ซ่ึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะต้องทราบนโยบาย และจดุ ประสงค์ของหนว่ ยงานเป็นอย่างดพี อท่ีจะชแี้ จงให้เหตุผลในการพิจารณาวา่ สามารถจะปฏิบัตไิ ด้หรอื ไม่วุิ ีการจดั ลาดับความสาคัญของปญั หา1. วิุีของแฮนลอน (John J. Halon) วิธีการน้ีเหมาะสาหรับการพิจารณาปัญหาระดับนโยบาย แต่บางครั้งสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ในชมุ ชนใหญ่ ๆ ที่มปี ระชากรมาก ๆ ได้ แฮนลอนไดค้ ิดสูตรการจัดลาดบั ความสาคญั ของปญั หา โดยใช้องค์ประกอบ 4 ประการ คอืองคป์ ระกอบ A : ขนาดปัญหา คะแนน 0-10องค์ประกอบ B : ความรนุ แรงของปัญหา คะแนน 0-20องคป์ ระกอบ C : ประสิทธิผลของการปฏบิ ตั งิ าน คะแนน 0-10องคป์ ระกอบ D : ข้อจากดั คะแนน 0 หรือ 1สูตรในการคานวณมี 2 สตู ร คือ1. Basic Priority Rating (B.P.R.) = (A + B) C 32. Overall Priority Rating (O.P.R.) = (A + B) CD 3องค์ประกอบ A : หมายถงึ ขนาดปญั หา (size of problem) พจิ ารณาจากจานวนประชากรทไ่ี ด้รบั ผลกระทบตอ่ ปัญหาโดยตรง การให้คะแนนอยู่ระหวา่ ง 0-10 ซง่ึ คานวณได้จากก. ร้อยละของอบุ ตั กิ ารณ์หรอื ความชุกของโรค100-81 คะแนน 10

10 80-61 8 60-41 6 40-21 4 20-1 2 ต่ากวา่ 0.9 0 ข. อตั ราอบุ ตั ิการณ์หรอื อตั ราความชุกของโรคต่อประชากร 1000 คน 1000 ข้นึ ไป คะแนน 10 625-999 8 125-624 6 25-124 4 5-24 2 1-4 0 องค์ประกอบ B : หมายถึงความรุนแรงของปัญหา (severity of problem) สาหรับความรุนแรงของปัญหาขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการ คือ ความเร่งด่วนของปัญหา ความร้ายแรงของปัญหา ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และความเกี่ยวข้องของประชาชนต่อปัญหาน้ัน โดยการคิดคะแนนและปัจจัยอยู่ในระหวา่ ง 1-10 หรอื 0-20 ก. ความเร่งด่วนของปัญหา พิจารณาว่าปัญหาน้ันมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับกลุ่มชนการสาธารณสุขหรืออตั ราของประชาชนท่ไี ดร้ ับผลกระทบ ความรูส้ ึกหรือความวติ กกังวลของประชาชนต่อปัญหานั้น ข. ความร้ายแรงของปัญหา พิจารณาจากอัตราการตาย การเกิดโรค อัตราการป่วย และความพิการ หรือลักษณะของโรคที่มแี นวโนม้ จะก่อใหเ้ กิดความพกิ าร ค. ความสญู เสียทางเศรษฐกจิ หมายถงึ ปัญหานั้นมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของครอบครัวชมุ ชน ซง่ึ ความสญู เสียทางเศรษฐกิจมีความสัมพนั ธ์กบั ความรา้ ยแรงของปัญหาท่ีผลกระทบต่อการลงทนุ ง. ความเกย่ี วข้องของประชาชนตอ่ ปญั หา หมายถงึ ปัจจยั อนื่ ๆ ทีเ่ ขา้ มามีส่วนเกี่ยวขอ้ งกับปญั หาหรือมีผลกระทบต่อปญั หา ทาใหป้ ัญหามขี นาดใหญ่เพม่ิ มากขน้ึ หรอื มคี วามรุนแรงเพิ่มขน้ึ ความรนุ แรงของปัญหา คิดคะแนนแตล่ ะปัจจยั อยูใ่ นระหว่าง 0-10 หรอื 0-20 แตผ่ ลรวมของคะแนนต้องมีคา่ ไม่เกนิ 20 ถ้ารวมกนั แลว้ เกิน 20 ให้คิดเพยี ง 20 องค์ประกอบ C : หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหา ความเป็นไปได้ของวิธีการที่จะนาไปใช้ในการแกไ้ ขปัญหา อาจจะพจิ ารณาจากโครงการทมี่ ีลกั ษณะปัญหาและกิจกรรมดาเนินการท่คี ลา้ ยคลึงกัน อาจจะเป็นโครงการที่ทาสาเร็จแล้วหรือโครงการท่ีกาลังดาเนินการอยู่ก็ได้ ซ่ึงอาจจะพิจารณาหลาย ๆดา้ นพร้อมกันไป องค์ประกอบ D : หมายถึง กลุ่มปัจจัยท่ีไม่ไดเ้ กี่ยวขอ้ งโดยตรงในการแก้ปัญหา แต่จะช่วยชใ้ี ห้เหน็ ว่าการแก้ไขปัญหาจะดาเนินการไปได้ขณะนน้ั หรือไม่ เปน็ การดูความเป็นไปไดข้ องความสาเร็จในการดาเนินงานตามโครงการได้ ก. ความเหมาะสมของโครงการกับปัญหา ข. ค่าใช้จา่ ยในโครงการ ค. การยอมรบั ของประชาชน ง. แหลง่ ประโยชนใ์ นชุมชน

11 จ. ความเปน็ ไปไดท้ างกฎหมาย การคิดคะแนนแต่ละปจั จยั มคี ่าเทา่ กบั 0 หรอื 1 ถา้ ค่าของ D เทา่ กับ 0 เม่ือแทนคา่ ในสูตรจะทาใหโ้ ครงการน้ันไมส่ ามารถดาเนินการไดใ้ นขณะน้ัน ม่ือแทนคา่ ของปัญหาทุกปัญหาแลว้ นาคะแนนทไ่ี ดม้ าเรยี งลาดบั ของคะแนนท่ีคิดได้ปญั หาที่คะแนนมากทส่ี ดุ นามาวางแผนเพ่ือแกป้ ญั หา 2. วุิ ขี องกระบวนการกลมุ่ (norminal group process) เป็นการใหส้ มาชิกทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ตัดสิน การจดั ลาดบั ความสาคัญของปัญหาโดยใช้กระบวนการกลมุ่ ก็เพ่ือท่ีจะให้ประชาชนเป็นผู้ท่เี ลือกแก้ไขปัญหาของชมุ ชนได้ด้วยตนเอง แต่ท้ังนี้สมาชิกในกลุ่มจะตอ้ งมีความรคู้ วามเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ ของชมุ ชนเป็นอยา่ งดี และเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั จะตอ้ งเปน็ ผูอ้ ภิปรายปัญหาตา่ ง ๆ เหลา่ น้นั โดยละเอยี ดว่าปญั หาแต่ละปัญหามีผลกระทบต่อชุมชนอย่างไร ผลดีและผลเสียในการดาเนินการแก้ไขปัญหาเหล่าน้ัน ตลอดจนความสามารถหรอื ความเปน็ ไปได้ในการแก้ไขปัญหาน้นั ภายใต้ระยะเวลาและทรัพยากรท่มี ีอยู่ เม่ือประชาชนได้ร่วมอภิปรายแลว้ กด็ าเนินการ - แจกบัตรออกเสยี งท่ีสร้างขึ้นแก่สมาชิกท่มี สี ทิ ธิออกเสียง - กาหนดเลขประจาปัญหาแตล่ ะปัญหา เพ่อื ความสะดวกในการเขยี นลงในบัตร - ให้สมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงทุกคนเลือกปัญหาท่ีมีความสาคัญมากที่สุดเรียงลาดับจากมากไปนอ้ ย แลว้ กรอกเป็นความลับลงในบตั รออกเสยี ง - ส่งบัตรออกเสยี งทัง้ หมดใหก้ ับผู้เป็นประธานของกลุ่ม เพื่อรวมคะแนน นาคะแนนรวมมาแสดงใหส้ มาชกิ ในทีมทราบว่า ปญั หาใดมีคะแนนสูงสุดเรยี งตามลาดับลงมา 3. วุิ ขี อง 5D 5D สามารถใช้ในการระบุปัญหา และจัดลาดับความสาคัญของปัญหา โดยใช้หลักการทางระบาดวทิ ยา เกณฑ์ในการพิจารณา ไดแ้ ก่ 3.1 Death ได้แก่ จานวนประชากรท่ีตายจากปญั หา หรอื อตั ราตาย (Mortarity Rate) 3.2 Disability ได้แก่ จานวนประชากรที่พิการจากปัญหา หรือปัญหาน้ันมีแนวโน้มท่ีก่อใหเ้ กดิ ความพิการกบั ประชาชนในชมุ ชนได้มากน้อยเพียงไร 3.3 Disease ได้แก่ จานวนประชากรท่ีป่วยด้วยโรคจากปัญหา หรืออัตราป่วย (MorbilityRate) ทเ่ี กิดข้นึ ในชุมชน 3.4 Discomfort ได้แก่ ความรู้สึกไม่สุขสบายของประชาชนในชุมชน และการตระหนักถึงความสาคัญของปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ในชมุ ชน 3.5 Dissatisfaction ได้แก่ ความรสู้ ึกไม่พึงพอใจของประชาชนในชุมชนต่อปัญหาที่เกิดขึ้นและต้องการที่จะแกไ้ ขปัญหา สาหรับ 3.4 และ 3.5 เป็นความรสู้ ึกของประชาชน คะแนนท่ีได้จึงควรมาจากประชาชนในชุมชน ผู้ดาเนินงานจะเป็นคนกาหนดน้าหนักคะแนนตามระบบ Composition index คือ ให้คะแนน 3, 2, 1 ตามขนาดปัญหา หรือความเหน็ ด้วย มาก ปานกลาง นอ้ ย ตามลาดับ แลว้ เอาคะแนนทั้งหมดมารวมกัน เรอ่ื งใดมคี ะแนนมากก็ถอื ว่า มีลาดับความสาคญั ของปัญหาสูง 4. วิุีของคณะสาุารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือการใช้องค์ประกอบ 4 ประการ เปน็ เคร่ืองมือพจิ ารณา โดยแตล่ ะองค์ประกอบใหค้ ะแนน 0-4 แล้วรวมคะแนนที่ไดท้ ั้งหมด แล้วนามาเรยี งลาดบั จากคะแนนทไ่ี ด้สงู สดุ ลงมา องค์ประกอบที่นามาพิจารณา ไดแ้ ก่

12 4.1 ขนาดของปัญหา (Size of problem) พิจารณาจากจานวนประชาชนท่ีมีปัญหาหรือปว่ ยดว้ ยโรคแตล่ ะโรค หรือมีสาเหตุทางอ้อมทท่ี าใหเ้ กิดโรคภายในระยะเวลา 1 ปี หรอื ในระยะเวลาท่ีกาหนดวา่ มจี านวนมากน้อยเพียงใด เช่น เกิดขึน้ 1 ราย 2 ราย โดยการคานวณออกมาเป็นค่ารอ้ ยละหรือความชุกของโรค (prevalence rate) และเอามาเปรียบเทยี บกบั เกณฑซ์ ึ่งมคี า่ อยู่ระหว่าง 0-4 ดงั น้ีร้อยละของการเกดิ โรค / ประชากรปว่ ย / อัตราความชุกของโรค คะแนน ไมม่ เี ลย 0 >0-25 1 >25-50 2 >50-75 3 >75-100 4 4.2 ความรุนแรงของปัญหา (Severity of problem) หมายถึง อตั ราตายหรือทุพพลภาพของประชาชนจากการเกดิ โรคหรอื ปญั หาน้นั ๆ และทาให้เกิดผลเสยี หายต่อครอบครวั ชุมชน ในดา้ นเศรษฐกิจอย่างไร การพิจารณาความร้ายแรงของปัญหา จาเป็นจะต้องฟังความคิดเห็นของผู้ท่ีเก่ียวข้องในงาน เช่นแพทยห์ รือพยาบาล เพราะเปน็ ผู้ท่ีสัมผัสผู้ป่วยสามารถบอกได้ว่าลักษณะของผู้ป่วยด้วยโรคที่เปน็ ปัญหาน้ันมีความรุนแรงในระดับใด การติดต่อของโรค ระยะเวลาของการเจ็บป่วยจะนานเท่าไร รวมท้ังพิจารณาถึงแนวโนม้ ของการระบาด หรอื การเสยี หายในเวลาต่อมาการให้คะแนนคดิ ดังนี้ร้อยละของประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลจากปัญหา คะแนน ไมม่ เี ลย 0 >0-25 1 >25-50 2 >50-75 3 >75-100 4 4.3 ความยากงา่ ยในการแกไ้ ขปญั หา (Feasibility or ease management) หมายถึง การพิจารณาวา่ การดาเนนิ การแก้ไขปญั หานนั้ จะสามารถทาไดห้ รือไม่ โดยพิจารณาถึงปจั จยั ในการแกป้ ญั หาคอื - เทคโนโลยใี นการแก้ปญั หามหี รอื ไม่ เชน่ เครอ่ื งมือท่ีจะนามาใช้ในการแกไ้ ขปญั หา - วชิ าการ ความรู้ทางด้านวิชาการที่จะนามาใช้ในการแก้ไขปัญหามีเพียงพอหรือไม่ ด้านวิชาการนสี้ ามารถทีจ่ ะขอความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานอน่ื ๆ กไ็ ด้ ถ้าชุมชนมีไม่เพียงพอ - ทรัพยากร ได้แก่ วัสดุ สิ่งของ ท่ีมีอยู่ในชุมชน และสามารถที่จะนามาใช้ในการแก้ไขปัญหามีเพยี งพอหรอื ไม่ - ระยะเวลา มเี พียงพอท่จี ะแก้ไขปัญหานน้ั ๆ หรอื ไม่ - นโยบาย รฐั มีนโยบายท่ีจะแก้ไขปญั หานนั้ หรอื ไม่ รวมทง้ั การสนับสนุนจากภาครัฐในการดาเนินงาน - ศีลธรรม วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหาขัดแย้งกับขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชมุ ชนหรอื ไม่ ในการคิดคะแนนความยากง่ายในการแก้ไขปัญหานั้น ให้นาปัจจัยบางส่วนหรือทั้งหมดท่ีสอดคลอ้ งกับสภาวะการณ์มาพิจารณาความยากงา่ ยในการแก้ปญั หา คะแนน ไมม่ ที างแกไ้ ขไดเ้ ลย 0

13 ยากมาก 1 ยาก 2 ง่าย 3 งา่ ยมาก 4 4.4 ปฏิกิริยาของชุมชนต่อปัญหาหรือความสนใจของชุมชน (Community concern) ในปัจจุบันได้มีการนาปัญหาไปเสนอต่อชุมชน โดยอธิบายถึงวิธีการท่ีได้มาของปัญหาตลอดจนความสาคญั ของปัญหา และลักษณะปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของชุมชนเพอ่ื ให้องค์กรชุมชนผนู้ าชมุ ชนไดม้ ีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ การตัดสินใจเลือกและระบุปัญหา รวมทั้งวธิ กี ารแก้ไขปัญหาซึ่งวธิ กี ารน้ีจะทาใหท้ ราบว่าชุมชนตระหนักต่อปัญหาน้ันอย่างไร และยงั เปน็ การช่วยใหช้ ุมชนช่วยเหลือตนเองไดใ้ นโอกาสตอ่ ไป ความสนใจของชุมชนมีคะแนนอยู่ระหว่าง 0-4 ในการคดิ คะแนนให้คิดจากจานวนประชากรในชมุ ชนท่ใี หค้ วามสนใจหรือใหค้ วามร่วมมอื ในการแกไ้ ขปัญหา โดยคานวณเปน็ รอ้ ยละความสนใจของชุมชน/ความวิตกกงั วล คะแนน ไมส่ นใจหรือวติ กกงั วล 0 >0-25 1 >25-50 2 >50-75 3 >75-100 4 เม่ือได้คะแนนตามองคป์ ระกอบทั้ง 4 ข้อครบทุกปัญหาแลว้ นาคะแนนท่ีได้มารวมกัน การรวมคะแนนอาจทาได้ 2 วิธี คอื 1. วิธบี วก จะมองเห็นความแตกต่างของแตล่ ะปญั หาได้น้อย เน่ืองจากความกว้าง (range)ของคะแนนแคบ ทาให้มองเห็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละปัญหาไดน้ ้อย 2. วิธคี ณู เปน็ วิธีทน่ี ิยมใช้กนั เพราะวิธีคณู จะมชี ว่ งคะแนนกว้างทาให้มองเหน็ ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะปัญหาชดั เจน แต่วิธีคูณก็มีข้อบกพร่อง คอื ถา้ ปัญหาใดไดค้ ะแนน 0 เม่ือนามาคูณผลลัพธ์ก็จะเทา่ กบั 0 ซง่ึ ก็ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ไม่เปน็ ปัญหา แต่หมายความวา่ ปญั หานอ้ี าจแกไ้ ขไดย้ าก ไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ในระยะเวลาอนั รวดเรว็ ฉะน้นั ในการจะใหค้ ะแนนองคป์ ระกอบใดเป็น 0 จะต้องคดิ พิจารณาอยา่ งรอบคอบกอ่ น ผลรวมของคะแนนจะทาให้ทราบปัญหาอันดับแรก และปญั หาที่รองลงมาตามคะแนนในการที่ปัญหาใดมีคะแนนเท่ากัน จะต้องนาปัญหาที่มีคะแนนเท่ากันนี้มาคิดพิจารณาในรายละเอียดอีกคร้ังก่อนตัดสนิ ใจตารางท่ี 3 ตัวอย่างการจดั ลาดับความสาคญั ของปญั หา คะแนน คะแนนรวม ลาดบั ปญั หา ขนาด ความรุน ความยาก ความสนใจ วิุี วิุี ท่ี ของ แรงของ งา่ ยใน ของ บวก คณู ปญั หา ปญั หา การแกไ้ ข ชมุ ชน1. ประชากรอาย3ุ 5ปขี ้ึนไป 4 2 3 4 13 96 1ไม่ได้ตรวจสขุ ภาพประจาปีรอ้ ยละ 75.25

14 คะแนน คะแนนรวม ลาดับปัญหา ขนาด ความรนุ ความยาก ความสนใจ วุิ ี วุิ ี ท่ี ของ แรงของ งา่ ยใน ของ บวก คูณ ปญั หา ปัญหา การแกไ้ ข ชมุ ชน2. โรคความดันโลหิตสูง 24 2 4 12 64 2ในคนอายุ 40 ปีข้นึ ไปร้อยละ 26.753. คนอายุ 6 ปขี ้ึนไปไมอ่ อก 3 1 4 4 12 48 3กาลงั กาย รอ้ ยละ 764. จดั บ้านเรอื นไม่เป็น 42 2 2 10 32 4ระเบียบถกู สขุ ลักษณะรอ้ ยละ 81 2.4 การวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหา เมอ่ื ไดป้ ัญหาอนามัยชุมชนและเรยี งลาดับความสาคัญของปัญหาแล้ว ส่ิงท่ีจะต้องดาเนนิ การตอ่ ไป คอื การรวบรวมข้อมลู เพ่ือสนบั สนนุ ถึงสาเหตุที่ทาใหเ้ กดิ ปัญหาซ่ึงจาเป็นตอ้ งใช้ความรู้ทางวชิ าการเข้ามาช่วย ข้นั ตอนในการวิเคราะหส์ าเหตุของปัญหาสรปุ ได้ ดังนี้ 1. ทบทวนทาความเขา้ ใจข้อมูลทไี่ ด้จากการวินิจฉัยชมุ ชน และศกึ ษาธรรมชาติของการเกิดโรคที่เป็นปัญหานั้น โดยพจิ ารณาปัจจัยตา่ ง ๆ ที่เป็นสาเหตขุ องโรค ทั้งแง่บุคคล เชื้อโรค สิง่ แวดลอ้ ม วิธีการติดต่อ ระยะฟกั ตวั อาการและอาการแสดง สภาวะเส่ยี งตา่ ง ๆ 2. นาผลของการทบทวนท่ไี ด้มาสรา้ งเป็นโยงใยความสัมพันธข์ องสาเหตุของปัญหา (Web ofCausation) โดยสามารถเขียนได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ขององค์ประกอบและปัจจัยต่าง ๆ ที่เปน็ สาเหตขุ องโรคท้งั ทางตรงและทางอ้อม 3. วิเคราะห์ปัญหาตามหลักวิทยาการระบาด โดยศึกษาข้อมูลการแจกแจงของอัตราอบุ ัติการณ์หรือความชกุ ของโรค ตามลกั ษณะบุคคล เวลาและสถานท่ี เพ่ือจะได้ตัดปัจจัยบางตวั ในเครือข่ายลูกโซ่แหง่ เหตุท่ไี ม่เกีย่ วข้องหรือไม่มีข้อมูลสนบั สนนุ ออกไป จะทาใหท้ ราบลักษณะของปญั หาหรือกลมุ่ ที่ทาให้เกดิ โรค เพือ่ ความสะดวกในการเลือกขอ้ มูลในการวิเคราะห์ตอ่ ไป 4. ศกึ ษาเปรียบเทยี บระหวา่ งกล่มุ ท่เี ป็นโรคหรือกลมุ่ ท่ีกระทบปัจจยั กับกล่มุ ปกติ ว่ามีอตั ราเสีย่ งสัมพันธ์ (Relative Risk) ของแต่ละปจั จยั เป็นเช่นไร โดยนาปัจจยั จากเครือข่ายลูกโซ่แห่งเหตุทเ่ี หลืออยู่มาทาการศึกษาเปรียบเทยี บ ซึง่ บางปัจจยั ท่มี ขี ้อมูลไม่เพียงพอในการวิเคราะห์ก็อาจจะต้องเก็บขอ้ มลู เพม่ิ เติม 5. นาปัจจัยทม่ี ีความสัมพันธก์ ับปัญหาท่เี หลือทั้งหมดมาสร้างเป็นเครอื ข่ายลกู โซ่แห่งเหตุที่แท้จรงิ ของชุมชน โดยพิจารณาตามขนาดของอัตราเสี่ยงสมั พนั ธ์ หรอื ตามสภาพขอ้ มูล อตั ราอบุ ัติการณ์ ความชุกและพฤตกิ รรม ตลอดจนปจั จัยแวดลอ้ มอื่น ๆ 6. เขยี นรายงานสรปุ และเสนอผลการวเิ คราะห์ปัญหา เพื่อดาเนนิ การวางแผนแกไ้ ขปญั หา การรวบรวมข้อมูลเพ่ือหาสาเหตุของปัญหา บางคร้ังอาจต้องใช้แบบสอบถามเข้ามาเป็นเครื่องมือ เพ่ือศึกษาว่าในชุมชนน้ันที่เกิดปัญหาประชาชนมีความรู้ ทัศนคติ หรือพฤติกรรมในการปฏิบัติอย่างไรจึงทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาได้ ซ่ึงเราเรียกว่าการเก็บข้อมูลน้ีว่า เคร่ืองมือวัดตัวแปรพฤติกรรมสุขภาพ(KAP survey) ซ่ึงหมายถึง แบบทดสอบหรอื แบบสอบวัดพฤตกิ รรมด้านความรู้ ทศั นคติ และการปฏบิ ัติตนทางสขุ ภาพของประชาชน เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่เี ปน็ จริงมาใช้วางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพและปญั หาสาธารณสุข

15 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาชว่ ยให้ทราบสาเหตุท่ีแทจ้ ริงของการเกิดปัญหาสขุ ภาพนน้ั ๆจัดเป็นข้นั ตอนสาคัญอย่างย่งิ ท่ีจะชว่ ยให้แก้ปญั หาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เมื่อวเิ คราะห์สาเหตุหรือปจั จยั ท่ีทาใหเ้ กดิ ปัญหาไดแ้ ลว้ ก็นาไปเป็นข้อมูลในการวางแผนการและดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพต่อไป บรรณานกุ รรมกีรดา ไกรนุวัตร และ รักชนก คชไกร (บรรณาธิการ). (2559) การพยาบาลชมุ ชน. โครงการตาราคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล. (พิมพค์ รัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : หจก.เอ็นพีเพรส.จรยิ าวตั ร คมพยคั ฆ์ และวนดิ า ดรุ งค์ฤทธิชยั , บรรณาธกิ าร (2554). การพยาบาลอนามยั ชุมชน : แนวคดิ หลกั การและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล. สมุทรปราการ : โครงการตารา สถาบันอุดมศึกษาเอกชน สาขาพยาบาลศาสตร.์จริยาวัตร คมพยัคฆ์ และ วนิดา ดรุ งค์ฤทธชิ ัย (บรรณาธิการ). (2554). การพยาบาลอนามัยชุมชน: แนวคดิ หลักการ และปฏิบตั ิการพยาบาล. (พิมพค์ รั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั จดุ ทอง จากัด.ณรงค์ศักด์ิ หนสู อน. (2553). การสง่ เสรมิ สุขภาพในชุมชนแนวคดิ และการปฏิบตั .ิ กรงุ เทพฯ : โรง พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.พมิ พพ์ รรณ ศลิ ปะสุวรรณ. (2553). ทฤษฎี ปรชั ญา ความรู้สู่การปฏบิ ตั ิ ในงานการพยาบาลอนามัย ชุมชน. นครปฐม :ภาควชิ าการพยาบาลสาธารณสขุ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล.ไพบูลย์ โลหส์ นุ ทร. (2555). ระบาดวทิ ยา. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 8). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร.์ (2554). เอกสารการสอนชดุ วิชาการพยาบาล ชุมชนและการรกั ษาพยาบาลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช.มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร.์ (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการพยาบาล ชมุ ชนและการรกั ษาพยาบาลเบอ้ื งต้น หนว่ ยท่ี 8-15. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.ศวิ พร อึ้งวฒั นา และ พรพรรณ ทรัพยไ์ พบูลย์กจิ (บรรณาธกิ าร). (2555). การพยาบาลชุมชน. เชียงใหม่: โครงการตารา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. บริษทั ครองชา่ งพร้นิ ทต์ งิ้ จากัด.สมใจ วนิ จิ กลุ . (2552). อนามยั ชมุ ชน: กระบวนการวินิจฉัยและการแกป้ ญั หา. (พมิ พ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษทั บพิธการพมิ พ์ จากัด.Hunt, R. (2013). Introduction to community-based nursing. 5th ed. Philadelphia : Wolters Kluwer/Lippincott Williams & Wilkins.Marcia Stanhope, Jeanette Lancaster.(2010). Foundations of nursing in the community :community-oriented practice. Mosby/Elsevier.Mary A. Nies,&Melanie McEwen. (2011). Community/public health nursing :promoting the health of populations. 5th ed. St. Louis : Elsevier/Saunders.Pavlish, & Carol Pillsbury. (2012). Community-based collaborative action research : a Nursing approach. Sudbury : Jones & Bartlett Learning.Roberta Hunt.(2013). Introduction to community-based nursing . Hunt, Roberta.Stanhope Marcia. (2010). Foundations of nursing in the community : community- oriented practice. 3th ed. St. Louis : Mosby

16ตารารองศริ าณี อินทรหนองไผ.่ (2554). กระบวนการพยาบาล: เครื่องมือนักจัดการสขุ ภาพองค์รวมเพือ่ ววิ ฒั น์ และพัฒนาสุขภาพปฐมภมู ิ. พิมพค์ รัง้ ที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). มหาสารคาม: สานักพมิ พ์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.อมร สุวรรณนิมติ ร. (2553). การพยาบาลปฐมภูมกิ บั การสร้างพลงั อานาจชมุ ชน. มหาสารคาม : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook