Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore hotel

hotel

Published by sopha@book, 2018-05-03 23:20:43

Description: ความหมายธุรกิจโรงแรม

Keywords: ้hotel

Search

Read the Text Version

วิชาธุรกจิ โรงแรมBy sopa jumpatip

พัฒนาการของท่พี ักแรมและการเกดิ โรงแรม การเดนิ ทางเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นทางด้านเศรษฐกิจการเมือง การศาสนา และการแสวงหาความเพลดิ เพลินหรือวตั ถปุ ระสงคป์ ลกี ยอ่ ยอืน่ ๆนอกจากกลา่ วมาแล้วได้เกดิ ขนึ ้ ตงั ้ แตส่ มัยโบราณ การเดนิ ทางนอกจากต้องการ การขนสง่อาหารและเครื่องดื่มความปลอดภัย ความสะดวกสบายในการเดนิ ทาง องค์ประกอบอย่างหน่งึ ซึง่ ขาดไม่ไดใ้ นการเดินทางคอื ท่ีพักแรม(Accommodations)ที่พกั แรมในการเดนิ ทางหรือโรงแรม(Hotels)ซง่ึ มีลกั ษณะแตกตา่ งกันออกไป เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคข์ องผ้เู ดินทาง ทีพ่ กั แรมหรือโรงแรมเป็นองคป์ ระกอบอยา่ งหนึง่ ของการเดนิ ทางมาตงั ้ แตส่ มัยโบราณ ทพี่ กั แรมบางประเภทอาจเป็นทพ่ี ักชัว่ คราวระหวา่ งการเดนิ ทาง บา้ นญาติ วัด หรือโรงแรมทีส่ ร้ างขนึ ้เพอ่ื วตั ถุประสงคใ์ นทางด้านเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายหลกั ในปัจจบุ นั การเดนิ ทางเพือ่ การประกอบอาชพี และการทอ่ งเที่ยวขยายตวั ขนึ ้ เพราะความเจริญก้ าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจซึ่งมคี วามจาเป็นต้องติดตอ่ ธรุ กจิ โยงใยกันทั่วโลก และการพฒั นาด้านเทคโนโลยเี ก่ยี วกับการขนสง่ จึงทาให้การเดนิ ทางกระทาได้รวดเรว็ ปลอดภัย สะดวกสบายมากขนึ ้ กวา่ เดมิ การเดินทางเพือ่ การท่องเทยี่ วก็ได้ขยายตวั ขนึ ้อยา่ งมากเนื่องจากการพฒั นาของระบบการขนสง่ ระบบธุรกิจในปัจจบุ นั มวี ันหยุดมากขนึ ้ และความต้องการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เหตุผลดงั กลา่ วแล้วจงึ ได้เกิดการสร้างท่พี กั แรมหลายประเภทเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของผ้บู ริโภคซงึ่หลากหลาย ไปตามความสมั พันธร์ ะหว่างทป่ี ระเภทของทพ่ี ักแรมกับการเดนิ ทาง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การเดนิ ทางเพ่ือการท่องเทย่ี วประวัตขิ องทีพ่ ักแรม การเดินทางจากบ้านไปยังสถานทีอ่ ่ืนๆถ้ าระยะทางไกลก็จาเป็นต้องหยุดพกั ค้างคนื การพกั แรมในระยะแรกเร่ิมของการเดินทาง ก็คงพกั แรมในบริเวณพนื ้ ทีเ่ ดินทางผ่านบ้านญาติ วัด หรือสถานท่ีอ่ืนๆซึ่งคิดวา่ ปลอดภัย เมื่อเส้นทางใดมีการเดนิ ทางผา่ นมากขนึ ้ และเหมาะสมเป็นจดุ แวะพกั หรือเป็นเมอื งซึง่ มีสงิ่ อานวยความสะดวกในด้านการอาหารและความจาเป็นอ่ืนๆหรือเมอื งใดเป็นจุดหมายของการเดินทาง สถานท่ีดังกลา่ วกไ็ ด้จัดสร้างที่พกั แรมสาหรับนักเดนิ ทางขนึ ้ เพอ่ื ผลประโยชน์ทางธุรกจิ ท่ีพักแรมดังกลา่ วแล้วก็คอื โรงแรมสาหรับคนเดนิ ทาง ในโรงแรมมิได้จดั ทีพ่ กั ให้กับคนเดินทางอยา่ งเดยี ว แต่ต้องจดั อาหาร เครื่องดื่มหรือบริการอ่นื ๆให้แก่ คนเดินทางเพือ่ อานวยความสะดวกสบาย และความเพลิดเพลินโดยความหมายของโรงแรมตามพระราชบญั ญัติโรงแรมพ.ศ. 2478 มาตรา3 จึงให้ความหมายวา่ “โรงแรมหมายถึงบรรดาสถานท่ที ุกชนิดท่จี ัดตงั ้ ขนึ ้ เพอื่ รับสินจ้างสาหรับคนเดินทางหรอื บุคคลท่จี ะหาทอี่ ยู่หรือที่พกั

ชวั่ คราว” (พระราชบญั ญตั โิ รงแรมพ.ศ. 2478 มาตรา 3)จากความหมายดงั กลา่ วแล้ว โรงแรมจึงหมายถึงสถานทท่ี ุกประเภทอาจเรียกชอ่ื วา่ โรงแรมหรือไมเ่ รียกชอื่ โรงแรมเชน่ อาจเรียกว่า รีสอร์ท(Resorts)หรือบ้านพักตากอากาศ แต่จัดบริการเพ่ือเรียกเก็บค่าเช่า และอาจจดั บริการอ่ืนๆประกอบด้วย เช่นบริการด้านอาหารและเครื่องดืม่ การซกั รดี การขายสินค้าท่ีระลึก ฯลฯ ก็เป็นลกั ษณะของโรงแรมทงั ้ สนิ ้ และความหมายของโรงแรมในสากล ก็มลี ักษณะคลา้ ยกับโรงแรมในความหมายของไทย แตไ่ ด้ยกตวั อยา่ งการบริการประกอบความหมายชัดเจนกว่าเช่นได้ให้ความหมายว่า โรงแรมคือสถานประกอบการทผี่ ้ใู ห้บริการต้องจัดให้มบี ริการด้านอาหาร เครื่องด่ืมและทพี่ ักไว้บริการแกน่ ักเดนิ ทางทตี่ ้องจ่ายคา่ บริการ หรือโรงแรมคือ สถานทซี่ ึ่งจัดบริการด้านที่พกั อาศัย และส่ิงอานวยความสะดวกให้แก่นักเดนิ ทาง (Bhatia,1983 : 240) ดังนนั ้ โรงแรมจงึ เกิดขนึ ้ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของการเดนิ ทาง ในด้านการพกั ผอ่ นและความสะดวกสบายตา่ งๆในด้านการเดนิ ทาง ประวตั ศิ าสตร์ของโรงแรมคงเกิดขนึ ้ ไม่ต่ากวา่ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว เพราะในสมัยอาณาจักรโรมนั (700 B.C. – ค.ศ. 500)ก็มที ี่พักแรมประเภทโรงแรมสาหรับคนเดนิ ทาง แต่หลงั จากอาณาจักรโรมันตะวันตกแตกสลายสภาพทางการเมืองขาดความม่ันคง บ้านเมืองแตกแยกออกเป็นอาณาจักรเลก็ ๆขาดการติดต่อค้าขายซง่ึ กันและกันนอกจากนโี ้ จรผ้รู ้ายก็ชกุ ชมุ จงึ ทาให้การเดนิ ทางหยดุ ชะงกั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ระหวา่ ง คริสต์ศตวรรษที่ 6 – 10 เนอื่ งจากเหตุผลดงั กล่าวแล้วจงึ สง่ ผลให้ธรุ กิจการโรงแรมหยดุ ชะงกั การขยายกิจการตามสภาพของระบบการเมอื งและเศรษฐกิจ ระหว่างคริสตศ์ ตวรรษท่ี 8 – 13 การเดนิ ทางเพอื่ ประกอบกิจการทางด้านศาสนาได้เร่ิมมีมากขนึ ้ ทางฝ่ ายศาสนาจะจดั วัดเป็นศูนย์กลางท่ีพกั (Religious Centers)ของผ้จู าริกแสวงบญุ การบริการดงั กล่าวแลว้ ไมต่ อ้ งเสยีคา่ ใช้จา่ ย ช่วงสงครามครูเสด (ค.ศ. 1029 - 1270)ซง่ึ เป็นสงครามระหวา่ งศาสนาคริสต์กับอิสลามชาวคริสตใ์ นยโุ รปได้เดนิ ทางไปร่วมทาสงครามครูเสด สง่ ผลกระทบให้วัดในคริสตศ์ าสนา จัดสร้ างทพ่ี ักไว้บริการแก่ชาวครสิ ต์ ผ้ไู ปร่วมสงครามมากยง่ิ ขนึ ้ นอกจากนี ้สงครามครูเสด ยังสง่ ผลให้นครรัฐตา่ งๆของประเทศอิตาลี เช่นเวนสิ (Venice) ฟรอเรนซ์(Florence) กลายเป็นศูนย์กลางการค้า และการเดนิ ทาง จากยุโรปสู่เอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใต้ ซง่ึ เป็นดนิ แดนของการทาสงครามระหวา่ งศาสนา เพ่ือตอบสนองความต้องการในการพักแรมตามเมืองฟรอเรนซไ์ ด้จดั สร้างทีพ่ กั สาหรับนักเดินทางในปี ค.ศ. 1290 มีจานวนทพ่ี กั ดงั กล่าวแล้ว จานวน 86 หลงั (ปรีชา แดงโรจน์, 2525 : 7) สาหรับในประเทศฝรั่งเศส ก็มีทพี่ กั ของนกั เดนิ ทางเช่นเดยี วกันในปี ค.ศ. 1254 กฎหมายฝรั่งเศสได้กาหนดไวว้ า่ ผ้เู ดนิ ทางจะต้องพกั ในโรงแรมเท่านนั ้ และในปี ค.ศ. 1315 กฎหมายยงั กาหนดไว้วา่ ผ้เู ดินทางจะต้องพกั ในโรงแรมเทา่ นนั ้ และในปีค.ศ. 1315 กฎหมายยงั กาหนดไว้วา่ ถ้าผพู้ ักเสยี ชีวิตในโรงแรมเจ้าของต้องใช้เงินมมี ูลคา่ 3 เท่าของมลู ค่าทีผ่ ้พู ักพาติดตวั มา (จาลอง ทองดี, 2526 : 7) จากกฎหมายดงั กล่าวแลว้ แสดงให้เหน็ วา่ มีที่พักสาหรับบริการแก่นกั เดนิ ทาง และเกิดความไม่ปลอดภัยแก่ชีวิตและทรพั ยส์ ินจงึ ได้ตรากฎหมายดังกลา่ วขนึ ้

ตอนปลายสมัยกลาง ตงั ้ แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 14 และ 15 เป็นต้นมา ได้เกิดการค้าขายระหวา่ งเมือง และเมืองตา่ งๆ ได้ขยายตัวในด้านเศรษฐกจิ อกี ครงั ้ หนงึ่ การขยายตวั ทางด้านเศรษฐกจิ ดังกลา่ วแล้วทาให้ ธุรกิจทางด้านที่พกัแรม ขยายกิจการตามไปด้วยดังนนั ้ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 15 ได้มีโรงแรม(Innsหรือ Taverns)ในเมืองตา่ งๆแพร่หลายในยุโรปในปี ค.ศ. 1576 ประเทศอังกฤษมโี รงแรมบริการประมาณ 6,000 โรงแรม (Bhatia, 1983 :236)โรงแรมประเภทนตี ้ งั ้ อยู่บริเวณริมทางรถม้า จดั ทพ่ี กั ให้ทงั ้ คนและม้า นอกจากเป็นที่พกั แรมของคนเดินทาง สถานที่ดงั กลา่ วแล้วยงั เป็นที่พบปะสงั สรรค์ของขนุ นาง นกั การเมือง พระและบคุ คลในท้องถ่ินโรงแรมได้ขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอื่ งตงั ้ แตค่ ริสต์ศตวรรษที่18 จนพฒั นาเป็นโรงแรมมาตรฐานซ่ึงเป็นต้นแบบของโรงแรมปัจจุบนั ในปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19(Gray and Liquori, 1994 : 3 -5)ภาพท่ี xxxภาพโรงแรมทม่ี ีใต้ถนุ ไว้สาหรับเลยี ้ งมา้ในอเมริกา หลังจากได้มีชาวอังกฤษและทางชาติยโุ รปชาตอิ ่นื ๆอพยพเข้าไปอย่ใู นอเมริกาตงั ้ แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 16 ก็ทาให้เกิดท่ีพกั หรือโรงแรมในบริเวณทางด้านฝ่ังตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศสหรฐั อเมริกาในปัจจุบนั โรงแรมในอเมริกาเกิดขนึ ้ ตามบริเวณเมอื งทา่ ชายฝั่งทะเลหรือแม่นา้ แต่โรงแรมในองั กฤษเกิดขนึ ้ ตามแนวเส้นทางรถม้า โรงแรมได้พฒั นาตามความเจรญิ ของประเทศอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ในปี ค.ศ. 1794 โรงแรมซิตตี ้(City Hotel) ในนครนิวยอร์ค(New York)เป็นโรงแรมขนาดใหญ่ทส่ี ดุ มหี ้องพัก 70 ห้อง ในปี ค.ศ. 1829 ในเมือง บอสตัน (Boston)ได้สร้ างโรงแรมขนาดใหญ่ มหี ้องพักถึง 170 ห้อง หลังจากนนั ้ โรงแรมได้พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระท่ังปี ค.ศ. 1907 เอลส์เวริ ์ส เอม็ สเตทเลอร์ (Elsworth M. Statler) ได้สร้ างโรงแรมบฟั ฟาโล สเตทเลอร์ (Buffalo Statler)มีห้องพักทงั ้ หมด 300ห้อง แตล่ ะห้องมีห้องนา้ ส่วนตวั สเตทเลอร์ยังได้ขยายกิจการของโรงแรมออกไปยังเมืองต่างๆและเป็นแนวความคิดของการจัดตงั ้ โรงแรมเครือขา่ ย (Chain Hotel) ในปัจจบุ นั (Gray and Liquori, 1994 : 5- 6)

องค์ประกอบท่ีสาคญั ทาให้ธุรกจิ การโรงแรมขยายตวั คือการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของยโุ รปตงั ้ แต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ผนวกกับความเข้มแขง็ ทางดา้ นการเมืองและความก้าวหน้าในการพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 ได้มกี ารพฒั นาเทคโนโลยดี ้านการขนส่งทงั ้ ทางนา้ และทางบก ได้ประดิษฐเ์ รือกลไฟและรถไฟในการขนสง่ สินค้าและผ้โู ดยสาร สง่ิ เหลา่ นลี ้ ้วนสง่ เสรมิ ให้เกิดการขยายตวั ในเร่ืองการเดินทางและส่งผลในธรุ กจิโรงแรมได้พัฒนามากยง่ิ ขนึ ้ หลงั จากได้มีการพฒั นาการขนสง่ ทางอากาศในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 20 จนกระทัง่ มีความปลอดภัยในการขนส่งผ้โู ดยสารและสนิ ค้าจึงทาให้การจนสง่ ทางอากาศมีบทบาททีส่ าคัญในการเดนิ ทางระหว่างประเทศหรือการเดนิ ทางระยะไกล การขนสง่ ผ้โู ดยสารทปี่ ลอดภัย รวดเร็ว สะดวกสบาย และการพฒั นาเทคโนโลยขี องระบบการขนสง่ ทางอากาศให้เจริญก้ าวหน้าขนึ ้ ตงั ้ แต่ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา ล้วนส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางด้านการเดนิ ทางเพ่อื ประกอบธุรกิจและการทอ่ งเทีย่ ว ย่อมสง่ ผลให้เกิดการขยายตัวทางด้านทพ่ี กั แรมในรูปแบบต่างๆเพ่ือสนองความต้องการของนักเดินทางซ่งึ มีวตั ถปุ ระสงค์ทแ่ี ตกต่างกันประเภทของทพ่ี กั แรมการจดั แบง่ ประเภทของทพ่ี กั แรมหรือโรงแรมแตกต่างกนั ออกไปตามวตั ถุประสงคใ์ นการจัดประเภทซง่ึ อาจขนึ ้ อยกู่ ับทาเลที่ตงั ้ การเข้าพกั อาศยั ของแขก การบริหารงานการจัดบริการแก่แขก หรือขนึ ้ อยูก่ ับองค์ประกอบอ่ืนๆดงั นนั ้ การจัดแบง่ประเภทของท่ีพักแรมจึงไมม่ ีข้อยตุ แิ น่นอนแตแ่ ตกต่างกันออกไปตามวตั ถปุ ระสงค์ดังกลา่ วแล้ว ซงึ่ ยกตวั อยา่ งไดด้ งั นี ้เฮนคนิ (Henkin, 1979 : 3 - 4) ได้จดั แบง่ โรงแรมออกเป็น 3 ประเภท1. โรงแรมเพ่ือการพาณิชย์ หรือโรงแรมแขกพักไม่ประจา (Commercial or Transient Hotels) โรงแรมประเภทนมี ้ ีมากกว่าประเภทอื่นๆทาเลทตี่ งั ้ อยใู่ นเมอื ง ทงั ้ นเี ้ พื่อความสะดวกในการตดิ ตอ่ ธรุ กจิ แขกซึ่งพกั ในโรงแรมดงั กล่าวแล้ว เป็นนักธรุ กิจนักทอ่ งเท่ียว ทมี่ ีวัตถปุ ระสงค์พกั ชว่ั คราวเพือ่ ติดต่อธรุ กิจหรือการท่องเทย่ี ว มไิ ด้มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อเช่าอยู่เป็นท่พี ักประจาสาหรบั การประกอบธรุ กิจหรือท่ีอย่อู าศยั โรงแรมเพือ่ การพาณชิ ย์ หรือโรงแรมแขกพกั ไมป่ ระจาดังกล่าวแล้ว จะจัดบริการความสะดวกสบายตา่ งๆแก่แขกอย่างพร้ อมเพรียง เช่นห้องอาหาร สถานทบ่ี ริการด้านธรุ กิจเช่น การส่งจดหมาย โทรเลขหรือระบบการสอ่ื สารอ่นื ๆสถานทพ่ี ักผอ่ นหยอ่ นใจและการออกกาลังกาย เชน่ สระวา่ ยนา้สนามเทนนิส ฯลฯ องค์ประกอบดงั กล่าวแล้วต้องจดั บริการให้แขกเพอื่ ตอบสนองวตั ถุประสงคใ์ นการติดต่อธรุ กิจและการพกั ผ่อนอย่างพอเพยี ง เพือ่ ให้การบริการเกิดความประทบั ใจ2. โรงแรมแขกพกั ประจา (Residential Hotels) โรงแรมประเภทนมี ้ วี ตั ถุประสงคใ์ นการให้แขกเชา่ พกั อาศยั อยู่ประจา มีการจดั ห้องอาหารบริการแกแ่ ขกและลูกค้าทัว่ ไปทาเลทตี่ งั ้ โดยปกติแลว้ อยู่ในบริเวณชานเมอื งเพ่ือเหมาะแก่การเป็นท่ีพักอาศัย แต่ก็มบี างโรงแรมตงั ้ อยู่ใกล้ย่าธรุ กิจทงั ้ นเี ้ พอ่ื อานวยความสะดวกแก่แขกในการตดิ ตอ่ การงาน3. โรงแรมรีสอร์ท(Resorts Hotel) โรงแรมประเภทนตี ้ งั ้ อยู่ในบริเวณทีใ่ กลช้ ิดกับธรรมชาติ เชน่ ชายทะเล หรือบริเวณภเู ขา ทงั ้ นเี ้ พอ่ื ให้แขกได้พกั ผ่อนสามารถสมั ผสั กับธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งแท้จริง โรงแรมต้องจัดบริการตา่ งๆเชน่ห้องอาหาร การซักรีด การติดตอ่ สอ่ื สาร หรือบริการอนื่ ๆเหมือนโรงแรมท่ัวไปแต่ต้องเน้นบริการทางดา้ นการกฬี า และ

นนั ทนาการแก่แขกให้มากกวา่ โรงแรมท่วั ไปดังนนั ้ โรงแรมรีสอร์ทต้องจัดสร้ างสระวา่ ยนา้ สนามเทนนิส สนามขีม่ ้าตลอดจนกิจกรรมในการบนั เทงิ อืน่ ๆให้กับแขกผ้มู าพัก ซึ่งมวี ัตถุประสงคใ์ นด้านการพกั ผอ่ นเป็นหลัก ในปัจจบุ นั โรงแรมรีสอร์ทนอกจากมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือการพกั ผอ่ นหย่อนใจแล้ว การตอบสนองลกู ค้าเพื่อการเพอื่ การประชมุ สมั มนา การจัดนาเท่ยี วแบบให้รางวัล (Incentive Tour)เพิม่ ปริมาณมากขนึ ้ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การใช้สถานทด่ี งั กล่าวแล้วนอกฤดูกาลทอ่ งเทีย่ ว เพราะสามารถลดค่าบริการได้ตา่ กวา่ ฤดกู าลทอ่ งเทย่ี วสาหรับท่พี กั ประเภทอืน่ ๆซ่งึ จัดขนึ ้ เพอ่ื บริการแขกนอกจาก 3 ประเภทดังกลา่ วแล้ว ได้แก่ โมเตล (Motels)มอร์เตอร์โฮเตล (Motor Hotels) บา้ นแบง่ เชา่ (Rooming Houses)แคมป์ พกั แรม(Tourist Camps)และบา้ นพกันักทอ่ งเที่ยว (Tourist Houses)(Henkin, 1978 : 5)โดยแลททิน(Lattin, 1968 : 50 - 51)ได้ให้ความหมายของโมเตล และมอร์เตอร์โฮเตล มีลกั ษณะเหมอื นโรงแรมทว่ั ไป วตั ถปุ ระสงค์เดิมในการสร้างทพ่ี กั ดังกลา่ วแล้ว เพ่ือตอบสนองคนเดนิ ทางโดยรถยนต์จะได้มีท่ีพกั ตามแนวถนนซ่ึงเช่ือมระหว่างมลรัฐของสหรัฐอเมริกา โรงแรมประเภทนจี ้ งึ จดั ท่ีพกั สาหรับคนและบริการต่างๆเก่ียวกับรถยนต์ เพอื่ อานวยความสะดวกในการเดินทาง ในปัจจบุ นั วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั สร้ างโมเตลเปลยี่ นแปลงไปโมเตลเป็นท่พี ักหรือโรงแรมขนาดใหญ่ท่ีตงั ้ อยู่ทงั ้ ในตัวเมือง ยา่ นธรุ กิจหรือริมถนนทงั ้ นเี ้ พ่ือตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ท่ีกว้างขวางขนึ ้ กวา่เดมิ และใกล้เคียงกับโรงแรมทวั่ ไปมากยง่ิ ขนึ ้จากการแบง่ โรงแรมออกเป็นประเภทต่างๆดงั กล่าวแล้ว นักบริหารด้านการโรงแรมบางคนได้แบง่ โรงแรมตามลักษณะการเข้าพักช่ัวคราว หรือระยะเวลานานออกเป็น 2 ประเภทคือ โรงแรมที่แขกพกั ชว่ั คราว (Transient Hotel) และโรงแรมแขกพักประจาหรือระยะเวลานาน(Residential Hotel) สาหรับ โรงแรมที่เรียกช่อื อยา่ งอน่ื ก็จดั อยใู่ นลักษณะของ 2 ประเภทดงั กลา่ วแล้ว (Gray and Liguori, 1994 : 10 - 11) นอกจากนี ้ยังมีแบง่ โรงแรมตามสถานที่ตัง้ (Location) โดยแบง่ ออกเป็นโรงแรมในเมอื งเล็กๆ(Small Cities) โรงแรมในเมืองใหญ่ (LargeCities) โรงแรมตากอากาศ (Resorts)และโรงแรมสนามบนิ (Airports)อกี เช่นกัน(Gray and Liguori,1994 : 11 - 16)สตดี มอนและคาซาวานา (Steadmon and Kasavana, 1988 : 4 - 18)ได้จัดแบง่ ประเภทของโรงแรมโดยยึดพนื ้ ฐานทางด้านขนาดของโรงแรมเป้าหมายการตลาด ระดบั ของการบริหารและการเป็นเจ้าของหรือการเป็นสมาชกิขององค์กรในการบริหารโรงแรมไวด้ ังนี ้1. การแบง่ ตามขนาดโรงแรม(Hotel Size) การแบง่ ตามขนาดของโรงแรมสามารถนบั ได้จากจานวนห้องพกั ซงึ่ มาสามารถแยกได้เป็น 4 ขนาด คือ- ห้องพกั ทีม่ ีจานวนต่ากวา่ 150 ห้อง- ห้องพกั ระหวา่ ง 150 – 299 ห้อง

- ห้องพักระหวา่ ง 300 – 599 ห้อง- ห้องพกั ระหว่าง 600 ห้องขนึ ้ ไปสาหรับการบริการต่างๆก็เหมือนกับโรงแรมทั่วไปแตอ่ าจจะมากน้อยแตกตา่ งกันขนึ ้ อยกู่ ับขนาดของโรงแรม2. การแบง่ ตามเป้าหมายด้านการตลาด (Hotel Target Markets)เปา้ หมายด้านการตลาดของโรงแรมมหี ลายประเภท แต่ที่สาคญั อาจแบง่ ได้ดังนี ้ 2.1 โรงแรมเพอื่ การพาณชิ ย์ (Commercial Hotels)ลกั ษณะการบริการและการอานวยความสะดวกสบายต่างๆได้กลา่ วมาแลว้ ในตอนต้น 2.2 โรงแรมสนามบนิ (Airport Hotels) โรงแรมประเภทนตี ้ งั ้ อย่ตู ิดกบั บริเวณสนามบนิ เปา้ หมายของลกู ค้า คอื นักเดินทางท่ีต้องการพักเพื่อเปลยี่ นเครือ่ งบนิ หรือผ้โู ดยสารท่ถี กู ยกเลกิ เที่ยวบนิ และรวมทงั ้ พนกั งานของสายการบนิ ซง่ึ ต้องการที่พกั ใกล้สนามบนิ 2.3 โรงแรมห้องชุด (Suite Hotels) โรงแรมห้องชดุ เป็นโรงแรมท่หี รูหราและอานวยความสะดวกสบายแก่แขกเป็นอยา่ งย่งิ เพราะได้จัดห้องพกั ห้องรับแขก แยกออกจากกันบางโรงแรมอาจจดั ห้องครวั บาร์เครื่องดื่ม ต้เู ยน็ เพ่อื เตรียมอาหารว่างไว้สาหรับแขก นอกจากนยี ้ ังมีห้องประชมุ ขนาดเล็กไม่เกิน 10 คนจัดไว้บริการแขกควบค่กู ับห้องพกั เนอื่ งจากโรงแรมห้องชดุ อานวยความสะดวกตา่ งๆให้แก่แขกมากมายดังกลา่ วแล้ว ราคาค่าบริการจึงค่อนข้างสงู แตแ่ ขกประเภทนักธรุ กิจหรือบุคคลชนั ้ สูงในสงั คมก็นิยมพกั ในโรงแรมประเภทนี ้เพราะมสี ่งิ อานวยความสะดวกสบายตา่ งๆอยา่ งครบถ้ วน2.4 โรงแรมแขกพักประจา (Residential Hotels) มลี กั ษณะเหมอื นกับโรงแรมแขกพักประจาซึ่งอธบิ ายมาแลว้2.5 โรงแรมรีสอร์ท(Resort Hotels) โรงแรมประเภทนไี ้ ด้อธบิ ายมาแล้ว2.6 โรงแรมซึ่งจัดห้องพักและอาหารเช้า (Bed and Breakfast)โรงแรมประเภทนบี ้ างทเี รียกวา่ “บีแอนด์บสี ์” (B and Bs) ทงั ้ นเี ้ พราะคิดคา่ บริการควบคกู่ บั อาหารเช้า ลกั ษณะของโรงแรมมีขนาดเลก็ ประมาณ 20 –30 ห้อง การบริการและสิง่ อานวยความสะดวกน้อยกวา่ โรงแรมเพ่ือการพาณชิ ย์2.7 โรงแรมคอนโดมเิ นียม(Condominium Hotel) โรงแรมประกอบด้วยห้องชดุ ซง่ึ มีห้องนอนห้องนา้ห้องรับแขก ห้องอาหารและห้องครัว เจ้าของห้องชดุ มิได้พักประจาในทีพ่ ักดังกล่าวแลว้ จงึ ได้มอบหมายให้หนว่ ยธรุ กิจจดั การให้บคุ คลอ่ืนแบง่ เช่าพักอาศยั ชั่วคราวแบบโรงแรมท่วั ไปเป็นการแบง่ เวลาในการพกั แรมเพื่อมิให้ท่พี กั วา่ งเปล่าดังนนั ้ จงึ เรียกโรงแรมประเภทนวี ้ ่า โรงแรมแบง่ เวลาเชา่ พัก (Time – Share Hotels) โดยทั่วไปแล้ววตั ถปุ ระสงค์ในการก่อสร้ างโรงแรมดงั กลา่ วแล้ว ก็เพ่ือการพกั ผอ่ นตากอากาศ ดงั นนั ้ โรงแรมจงึ อย่ใู นเขตพนื ้ ท่ีชายทะเลเป็นส่วนมาก

ภาพตัวอย่างโรงแรมคอนโดมีเนยี ม2.8 โรงแรมบอ่ นการพนนั (Casino Hotels) โรงแรมบอ่ การพนนั จัดสร้างขนึ ้ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของแขกในการเลน่ การพนันดังนนั ้ โรงแรมประเภทนจี ้ ึงจดั ให้มกี ารเล่นการพนันเกือบทุกประเภทไว้บริการแขก เพอื่ ความสะดวกสบายของแขก จึงได้จัดห้องพัก ภตั ตาคาร เพือ่ จาหน่ายอาหารและเคร่ืองด่มื ให้แก่แขกตลอดเวลา 24 ชว่ั โมง (Gray andLiquori, 1994 : 314 - 316)ภาพท่ี ตัวอย่างโรงแรมคาสโิ น2.9 ศูนย์ประชมุ (Conference Centers) ศนู ย์ประชมุ มีเปา้ หมายในการรบั แขกเพอ่ื การประชุมสมั มนาโดยเฉพาะ ดงั นนั ้ ต้องจดั ห้องประชุมและสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆในการประชมุ อยา่ งพร้อมเพรียง นอกจากนีศ้ ูนย์ประชมุ ต้องจัดที่พกั อาหาร และเคร่ืองดม่ื รวมทงั ้ สิง่ อานวยความสะดวกอนื่ ๆเหมอื นโรงแรมแต่เน้นเป้าหมายหลกั ด้านการประชมุ แต่ศูนย์การประชุมต้องจัดสถานทีแ่ ละอปุ กรณต์ ่างๆเช่นเดยี วกับโรงแรมเพ่ือในการพักผอ่ นและออกกาลงักาย เชน่ สระว่ายนา้ สนามเทนนิส ฯลฯ ให้แขกเพือ่ พกั ผ่อนหลงั จากการประชมุ 3. การแบง่ ตามระดับการบริการ (Levels and Service)การบริการของโรงแรมควรมีพนื ้ ฐานขององคป์ ระกอบ 2 ประการ ประการแรก การไม่มีตวั ตนของงานบริการ (The Intangibility of Service) งานบริการไม่มีตวั ตนแต่สามารถให้ความพงึ พอใจแก่ผ้รู ับบริการหรือแขกได้ ในเร่ืองโรงแรมโรงแรมมิได้ขายผลผลติ ทม่ี ีตวั ตน(Tangible

Products)เชน่ ห้องสะอาด ภัตตาคารใหญ่โต อปุ กรณ์หรูหราราคาแพง ฯลฯ การบริการท่ีประทบั ใจเช่น ความสุภาพอ่อนน้อม รอยยมิ ้ ความรวดเร็ว ความเอาใจใส่แขก ฯลฯ ล้วนเป็นงานบริการทต่ี ้องกระทาควบคกู่ ับการขายผลผลติ ที่มีตัวตนดงั นนั ้ การไมม่ ีตวั ตนของงานบริการกส็ ามารถสร้างความประทบั ใจให้แก่แขกได้ ประการทส่ี อง การประกันคณุ ภาพของงานบริการ (Quality Assurance)การบริการท่ถี กู ต้องสอดคล้องกับหลักมาตรฐานของงานบริการ เช่นมีความรวดเร็ว ถกู ต้องแม่นยา สภุ าพออ่ นน้อมยมิ ้ แย้มแจม่ ใส แต่งกายสะอาด ฯลฯ เป็นมาตรฐานทด่ี ีของงานบริการ แต่ถ้ าพนักงานมีความคงเส้นคงวาในการบริการ (The Consistentof Delivery of Services)ก็ทาให้การบริการนนั ้ มคี ณุ ภาพเช่อื ถอื ได้และสามารถมองเหน็ ตวั ชวี ้ ดั ในเรื่องคณุ ภาพเช่น ความรวดเร็ว ความถกู ต้อง แม่นยา พฤตกิ รรมของพนกั งานท่ีปฏิบตั ติ อ่ แขกด้วยจติ ใจท่โี อบอ้อมอารี และเต็มใจกระทา ส่ิงดงั กลา่ วแล้วแสดงถงึ การประกนั คุณภาพของการบริการ การบริการของงานโรงแรมต้องกระทาตอ่ เนอ่ื ง 24 ชวั่ โมง หรือปีละ 8,760 ช่ัวโมง (Nobell III, 1991 : 10 - 11)ซึง่ แตกตา่ งจากงานอนื่ ๆซงึ่ มีวนั หยุดประจาสัปดาห์ การแบง่ โรงแรมตามระดับคณุ ภาพของการบริการ แบง่ ได้ 3 ประเภทดังนี ้ 3.1 การบริการระดับโลก(World – Class Service) โรงแรมประเภทนมี ้ เี ป้าหมายในการรับแขกระดับบุคคลสาคัญของประเทศ หรือบุคคลสาคญั ของโลก นักธรุ กิจผ้มู งั่ ค่ัง และบคุ คลผ้มู ีชอื่ เสยี งอ่ืนๆคา่ บริการค่อนข้างสงู แตก่ ็สอดคลอ้ งกับบริการและความสะดวกสบายตา่ งๆที่แขกได้รับห้องพัก ห้องรับแขก ห้องอาหารห้องนา้ ต้องตกแตง่ อยา่ งสวยงามและใช้เครื่องประดับตกแตง่ ท่ีค่อนข้างหรูหรา ราคาแพง เพ่อื ให้เกิดความสุขสบายในการบริการ เคร่ืองมือสอื่ สารทางด้านการตดิ ตอ่ ธรุ กิจและการบนั เทงิ ต้องจัดเตรียมให้แขกในห้องพกั สาหรับแขกบุคคลสาคญั (Very Important Person = VIP.)โรงแรมอาจต้องจดั ให้มกี ารลงทะเบยี นในห้องพัก และจัดเลขานกุ ารส่วนตัว สาหรบั บริการทางดา้ นธรุ กิจให้แกแ่ ขก เลขานุการสว่ นตวั อาจจะตอ้ งทาหน้าที่บริการด้านอาหาร เครื่องดืม่ หรือช่วยเหลือแขกด้านอื่นๆถ้ าโรงแรมไม่จัดพนกั งานรับใช้ให้แก่แขก 3.2 การบริการระดับกลาง โรงแรมประเภทนมี ้ ีเปา้ หมายในการรับแขกท่วั ไปทงั ้ นักธรุ กิจนักทอ่ งเทย่ี วรายบคุ คล และหมคู่ ณะ โรงแรมจะลดราคาให้แก่แขกประเภทข้าราชการ นกั การศึกษาบริษทั นาเทีย่ ว แขกพักเป็นหมู่คณะ และประชาชนอาวโุ ส (Senior Citizens) การบริการของโรงแรมอย่ใู นระดบั มาตรฐานแต่ส่ิงอานวยความสะดวกสบายตา่ งๆอาจลดน้อยกว่า โรงแรมทม่ี ีการบริการระดับโลก เป้าหมายดา้ นการตลาดท่ีสาคญั อย่างหนึ่งของโรงแรมประเภทนี ค้ ือการจัดการประชมุ สมั มนา และการฝึกอบรม 3.3 การบริการระดบั ประหยดั (Economy or Limited Service)โรงแรมประเภทนี ้เก็บคา่ บริการถกู กวา่ โรงแรม 2 ประเภทดังกล่าวแลว้ การบริการอยใู่ นระดบั มาตรฐานแตอ่ ปุ กรณ์ในเรื่องความสะดวกสบายมนี ้อยกว่า โรงแรมเน้นเก่ียวกับเรื่องความสะอาด ความสขุ สบาย ห้องพักราคาประหยดั และการจดั อปุ กรณ์ขนั ้ พนื ้ ฐานให้แก่แขกอย่างครบถ้ วนแต่ไมห่ รูหราหรือเป็นวัสดุอุปกรณ์ราคาแพง เชน่ ในห้องา้ มีสบู่ ยาสระผมผ้าเชด็ ตัว

ฯลฯ ในห้องนอน มีโทรศพั ท์ วิทยุ ไว้บริการแขกเพือ่ ให้เกิดเพลดิ เพลนิ งดการบริการอาหารและเครื่องดม่ื ภายในห้องพักแขกต้องรับประทานทีห่ ้องอาหารของโรงแรมการจัดอุปกรณ์ขนั ้ พนื ้ ฐานสาหรับแต่ไมห่ รูหรา การบริการทไ่ี ด้มาตรฐานแต่ราคาประหยัด คอื นโยบายสาคญั ของโรงแรมประเภทนี ้ 4. การแบง่ ตามความเป็นเจ้าของและการเป็นสมาชกิ ในสถาบนั โรงแรม(Ownership andAffiliation) การจดั แบง่ โรงแรมในลกั ษณะนี ้สามารถแยกได้ออกเป็น 2 ประเภทคอื โรงแรมท่บี ริหารงานอย่างอสิ ระ(Independent Hotels) และโรงแรมเครือข่าย (Chain Hotels)ซ่ึงอธบิ ายได้ดงั นี ้ 4.1 โรงแรมบริหารงานอยา่ งอิสระ (Independent Hotels)โรงแรมประเภทนี ้บคุ คลคนเดียวหรือคณะบุคคลเป็นเจ้าของ การบริหารงานเป็นอสิ ระ ไมข่ นึ ้ อยูก่ ับโรงแรมอืน่ ๆจึงทาให้มีความคลอ่ งตวั และมีอานาจในการบริหารงานสามารถปรับทิศทางในการบริหารสอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดได้สะดวกแตก่ ็มีข้อจากดัในด้านประสบการณ์ในการบริหารงานการสร้างเครือขา่ ยด้านการตลาด และการขยายธรุ กจิ ในอนาคต 4.2 โรงแรมเครือข่าย (Chain Hotels) โรงแรมเครือข่ายจดั แบง่ การบริหารงานออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี ้ 4.2.1 การบริหารโดยบริษัทแม่ (Parent Company)โรงแรมเครือข่ายในลักษณะนี ้ทรัพย์สินการบริหารงานเป็นของบริษัทแม่ทงั ้ หมด บริษทั แม่เป็นองค์กรกลางในการจดั วางระบบการบริหารงานในโรงแรมเครือขา่ ยทงั ้ หมดให้เป็นแนวทางเดยี วกันและใช้ช่อื เดียวกันทกุ สาขา ความได้เปรียบของโรงแรมประเภทนี ้ก็คือ มที รัพยส์ นิ ในการลงทนุ มาก บริหารงานโดยมืออาชพี ทีม่ ปี ระสบการณ์ สร้ างระบบการตลาด และการสง่ เสริมการขายร่วมกันแขกสามารถจดจาได้งา่ ย ข้อเสียคือระบบงานเป็นแนวเดยี วกันหมด ไม่มคี วามหลากหลายแตกตา่ งกันตามลักษณะของสิง่ แวดล้อมในแตล่ ะพนื ้ ที่ 4.2.2 การบริหารโดยพันธสญั ญา (Management Contract)การบริหารงานในลกั ษณะนี ้เป็นรูปแบบหนึ่งของการบริการโรงแรมแบบเครือขา่ ย ทรัพย์สนิ ในการจดั สร้างโรงแรมเป็นของบุคคลภายนอกบริษทั แม่ แต่ต้องการใช้ระบบการบริหารงานแบบเครือขา่ ย ทงั ้ นเี ้ พราะระบบเครือขา่ ยมบี ุคลากรที่มีความสามารถ การจัดวางระบบงานท่ดี ี มีข้อได้เปรียบในด้านการตลาด และการสง่ เสริมการขาย นอกจากนใี ้ นด้านการเสนอโครงการก้ ยู มื เงินเพอื่ สร้ างโรงแรมถ้ าการบริหารงานโดยผา่ นระบบเครือขา่ ยธนาคาร หรือองคก์ รธรุ กิจด้านการลงทุนก็อนุมตั ิโครงการได้ง่ายขนึ ้ เพราะมคี วามมั่นใจในการบริหารงานดังนัน้ การทผ่ี ้ลู งทนุ ทางด้านการโรงแรมต้องเสยีผลประโยชน์จากรายได้ส่วนหนึง่ ในการประกอบธรุ กิจให้แก่ ผ้บู ริหารโรงแรมในระบบเครือข่าย ก็ค้มุ ค่าในการลงทนุ และลดความเสยี่ งของธรุ กิจ 4.2.3 การบริหารงานแบบแฟรนไชส์ (Franchise Groups)คาว่า แฟรสไชส์ หมายถึง สทิ ธพิ เิ ศษที่บริษทั แม่มอบให้แก่ผ้ทู ่ีเข้าร่วมกิจการหรอื เจ้าของธรุ กิจแฟรนไชส์ เจ้าของธรุ กิจดังกลา่ วแล้วไมใ่ ช่ผ้แู ทนจาหนา่ ยและไม่ใช่พนกั งานแต่เป็นผ้บู ริหารงานโดยใช้เคร่ืองหมายการค้า สินค้า หรือบริการ ระบบงานและข้อบงั คับต่างๆ ของบริษทั แมเ่ จ้าของธรุ กิจหรือบริษทั ในเครือ ต้องจ่ายคา่ สมาชิก ค่าลิขสทิ ธิ์ ค่าสัญญา และเงินทนุ

ประกอบการตามข้อตกลง (ธานี ปิตสิ ุข, 2535 : 24 - 25) ทงั ้ นเี ้ พ่ือแลกเปล่ียนกับข้อได้เปรียบในเร่ืองการบริหารงานการใช้เคร่ืองหมายการค้าร่วมกันการสง่ เสริมการขาย และชื่อเสยี งที่ดีของบริษทั แม่ ระบบแฟรนไชสใ์ นปัจจบุ นัแพร่หลายทงั ้ ธุรกิจบริการและการขายผลผลติ ที่มีตวั ตนเชน่ ร้ านค้าตา่ งๆ ในด้านการโรงแรมระบบแฟรนไชส์จะวางระบบการจดั การบริหารหน้าทข่ี องบุคลากร การวางแผนพัฒนาองคก์ ร ระบบการตลาดออกแบบในการตกแต่งโรงแรมการใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ และการวางระบบงานบริการให้ได้มาตรฐานเจ้าของธุรกิจโรงแรมในระบบแฟรนไชสม์ สี ิทธิ และอานาจในการจัดการแต่ต้องสอดคล้องกับข้อตกลงซ่งึ ให้ไว้กับระบบแฟรนไชส์ (Gray and Liquori, 1994 : 308 - 309)กลา่ วโดยสรุประบบแฟรนไชส์จะให้บริการ 3 ประการ คอื ประการทีห่ น่งึ วางระบบการบริหาร และพัฒนาบคุ ลากร ประการที่สอง จัดวางระบบการตกแตง่ร้ านให้ได้มาตรฐานและประการทสี่ ามชว่ ยเหลอื ด้านการตลาด การจัดแบง่ ประเภทของโรงแรมดังกลา่ วแล้ว ยังไม่มขี ้อตกลงสากล ดังนนั ้ การจดั แบง่ ประเภทจงึ แตกตา่ งกันออกไปขนึ ้ อยู่กับวตั ถปุ ระสงคข์ องผ้จู ัดประเภทวา่ ใช้หลักการอะไร เชน่ การเข้าพกั อาศัยทีต่ งั ้ ของโรงแรมการบริการ การบริหาร ราคาห้องพัก ขนาดของโรงแรมหรือหลกั การอ่ืนๆในบางประเทศ เช่น ออสเตรเลีย นิวซแี ลนด์ มีที่พักในฟาร์มแกะ (Farmstays)หรือที่พกั ในรถยนต์ (Motor Camps)ในรถยนต์จะจดั ห้องพัก ห้องนา้ และห้องอาหาร ผ้เู ชา่ รถยนต์ประเภทนสี ้ ามารถพักในรถได้ นอกจากนยี ้ งั มีบริการทพ่ี กั รว่ มกบั เจ้าของบ้าน(Homestays)เจ้าของบ้าน จดั ที่พกั อาหารมอื ้ เช้า มอื ้ เยน็ ให้แก่ผ้เู ช่าอาศยั (Collier and Harraway, 1997 : 52)วิธกี ารจัดตงั ้ โรงแรม พ.ร.บ. โรงแรมพ.ศ. 2478 กาหนดวธิ ีปฏบิ ตั ิเก่ียวกับสถานบริการท่ีพักทุกชนิด ไมว่ า่ จะเรยี กชื่อว่า โรงแรมบงั กะโล โมเต็ล เกสท์เฮาส์ ฯลฯ ให้อยใู่ นข่ายของ พ.ร.บ. นที ้ งั ้ สนิ ้ โดยเจ้าของหรือเจ้าสานกั (ผ้คู วบคมุ หรือผ้จู ดั การโรงแรม)ต้องขอจดทะเบยี นอนุญาตดาเนนิ กิจการ ณ กองควบคมุ อาคารสานักการโยธา ถ้ าโรงแรมตงั ้ อยใู่ นกรุงเทพฯ กองควบคมุ อาคารต้องตรวจสอบแบบแปลนรูปลกั ษณะ ความมั่นคงแขง็ แรงตามข้อบญั ญัตกิ รุงเทพมหานครเร่ืองควบคมุ การก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ. ควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 แล้วเสนอความเหน็ ไปยังกองทะเบยี นกองบญั ชาการตารวจสอบสวนกลางเพอ่ื พิจารณาความเหมาะสมเมอื่ กองทะเบยี นกรมตารวจพิจารณาให้รายละเอียดเรียบร้ อยแล้ว เสนอความเหน็ ชอบต่อกระทรวงมหาดไทย ภายหลงั จากทก่ี ระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาเหน็ ชอบแล้วนายทะเบยี นโรงแรมกรุงเทพมหานครแจ้งผลการพิจารณาให้กรุงเทพมหานครทราบและเม่ือได้รับแจ้งผลการพจิ ารณาอนมุ ตั ิในหลกั การจากนายทะเบยี นทะโรงแรมกรุงเทพมหานครแล้วจึงจะออกใบอนญุ าตก่อสร้ างหรือดดั แปลงอาคารได้ สว่ นในต่างจงั หวัดให้ยน่ื ขอจดทะเบยี นขออนญุ าตดาเนนิ กิจการ ณ ทวี่ ่าการอาเภอท้องที่ทีเ่ ป็นสถานท่ีตงั ้โรงแรมจากนนั ้ อาเภอก็จะส่งเร่ืองไปให้คณะกรรมการพิจารณาคณะกรรมการมผี ้วู า่ ราชการจงั หวดั เป็นนายทะเบยี น

ในกรณีท่ีนายทะเบยี นอนุญาตให้ดาเนนิ การได้กจ็ ะออกใบอนญุ าตให้ฉบบั หนงึ่ ใบอนญุ าตนี ้จะสนิ ้ สดุ อายุในวนั ท่ี 31 ธนั วาคมทุกปี ดงั นนั ้ ผ้ปู ระกอบการจะต้องขออนุญาตดาเนินกจิ การโรงแรมทุกปี ถ้ าฝ่ าฝนื จะมีความผดิ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ค่าธรรมเนยี มใบอนญุ าตเปิดโรงแรมนี ม้ กี ฎกระทรวง พ.ศ. 2504 ซ่งึ ออกตามความในพ.ร.บ. โรงแรมพ.ศ. 2478 โดยคิดตามค่าเช่าห้องพกั เป็นรายห้อง ฉะนนั ้ ในการยนื่ ขอจดอนุญาตจะต้องแสดงรายการคา่ ห้องพกั ด้วย ตัวอย่างอัตราคา่ ธรรมเนยี มมีดงั นี ้ ห้องพักมอี ตั ราค่าเชา่ 40 – 80 บาท เก็บค่าธรรมเนยี มห้องละ 20 บาท ห้องพักมีอตั ราคา่ เชา่ 80 – 120 บาท เก็บค่าธรรมเนียมห้องละ 30 บาท ห้องพกั มีอตั ราค่าเช่า 120 – 160 บาท เก็บคา่ ธรรมเนียมห้องละ 40 บาท ห้องพกั มอี ัตราคา่ เช่า 160 – 200 บาท เก็บคา่ ธรรมเนียมห้องละ 50 บาท ห้องพกั มีอัตราคา่ เชา่ 200 – 240 บาท เก็บคา่ ธรรมเนียมห้องละ 60 บาท ห้องพักมอี ัตราคา่ เช่า 240 – 280 บาท เก็บคา่ ธรรมเนยี มห้องละ 80 บาทการจัดระเบยี บองคก์ ารบริหารโรงแรม การจัดระเบยี บองคก์ ารโรงแรมมวี ตั ถุประสงค์ในการแบง่ หน้าทค่ี วามรับผิดชอบการแจกแจงรายละเอยี ดของงานที่ต้องกระทาการประสานงานการร่วมมอื กันทางานในแต่ละฝ่าย เพือ่ ให้งานบรรลุตามเปา้ หมายท่ีวางไว้ งานโรงแรมอาจแบง่ พนักงานตามการปฏบิ ตั หิ น้าท่อี อกได้ 2 ประเภทคอื หน้าทีต่ ้องติดตอ่ กับแขกโดยตรง (LineFunctions)ได้แก่ พนกั งานในแผนกต้อนรับแผนกห้องพัก และฝ่ ายบริการอาหารและเครอื่ งดม่ื สาหรับหน้าที่ฝ่ ายสนบั สนนุ (Staff Functions)หรือ “ฝ่ ายทอ่ี ย่เู บอื ้ งหลังฉาก” (Behind – the Scenes)พนักงานเหลา่ นไี ้ มไ่ ด้สมั ผสั กับแขกโดยตรง แตม่ ีส่วนจัดเตรียมงานเพ่อื แขกโดยสง่ ผ่านพนักงานสว่ นหน้า พนกั งานช่วยสนับสนุนได้แก่พนักงานแผนกช่าง แผนกปรุงอาหาร แผนกซกั รีด แผนกทาความสะอาด เป็นต้น(Ruther ford, 1989 : 14)แผนภูมกิ ารแบง่ งานออกเป็นแผนกต่างๆของโรงแรมงานแผนกตา่ งๆของโรงแรม(Operating Departments)

งานสว่ นหน้าบา้ น งานส่วนหลังบา้ น (Front - of –the House) (Back – of- theHouse) - งานบญั ชี- งานบริการสมั ภาระและการรับใช้ (Accounting)(Door, bell and valet attendants)- งานส่วนหน้า - งานเตรียมอาหาร(Front desk) (Foodpreparation)- งานแมบ่ ้าน - งานเก็บของในคลังพสั ดุ(Housekeeping) (Storage)- งานจองห้องพกั(Reservation) - งานล้างจาน- งานภตั ตาคาร (Dish washing)(Restaurants)- งานบาร์ - งานรักษาความปลอดภัย(Bars) (Security)ntenance)- งานจดั เลยี ้ ง - งานชา่ ง/งานบารุงรักษา(Banquet rooms) (Engineering/mai- งานประชมุ(Meeting - งานซกั รีด (Laundry)rooms) - งานบุคคล- งานอานวยความสะดวกด้านนนั ทนาการ(Recreational facilities) (Personnel) - งานฝึกอบรม (Training)

(ทม่ี า : Renner, 1994 : 2) งานต่างๆดงั กล่าวแล้ว สามารถอธบิ ายหน้าทโ่ี ดยแบง่ ออกเป็นงานสว่ นหน้าบา้ นและงานสว่ นหลงั บ้านได้ดงั นี ้ 1. งานส่วนหน้าบา้ นงานสว่ นหน้าบา้ นเป็นงานซึง่ พนกั งานต้องสมั ผสั กบั แขก หรือลูกค้าโดยตรง ณ จดุ รับบริการ (Service Interface Station) และจดุ นเี ้ องพนกั งานต้องสง่ มอบบริการ (Service Delivery)ให้แก่แขกเพอื่ ให้เกิดความประทับใจให้มากทสี่ ุด (วรี พงษ์ เฉลมิ จริ ะรัตน์, 2539 : 62)งานส่วนหน้าบ้านประกอบด้วยงานตอ่ ไปนี ้ 1.1 งานบริการสมั ภาระ และการรบั ใช้ งานดงั กลา่ วแล้ว เริ่มต้นตงั ้ แตบ่ ริการรับและสง่ แขกจากสถานขี นสง่ เชน่ สนามบนิ สถานีรถไฟมายงั โรงแรมแล้วบริการขนสมั ภาระ เปิดประตู เพื่อนาแขกมาลงทะเบยี นเข้าพกั ต่อจากนนั ้ ก็ชว่ ยขนสัมภาระส่งแขกเข้าห้องพกั หรือชว่ ยแขกขนสมั ภาระเม่ือแขกออกจากโรงแรมนอกจากนี ้บางโรงแรมยังจัดให้มพี นกั งานรบั ใช้สว่ นตัวแขก 1.2 งานส่วนหน้า มีหน้าท่ีลงทะเบยี นให้แขกผ้เู ข้าพักให้ข้อมลู ขา่ วสารแก่แขก ดแู ลรักษากุญแจห้องพกั แขก พนักงานต้อนรับซ่ึงทางานมีโต๊ะลงทะเบยี นดังกลา่ วแล้ว เป็นจดุ สาคญั ทแ่ี ขกต้องตดิ ตอ่ สอบถามหรือขอความช่วยเหลอื ต่างๆนอกจากนยี ้ งั เป็นจุดสาคญั ในการประสานงานกบั แผนกตา่ งๆของโรงแรมด้วย 1.3 งานแม่บา้ น งานแมบ่ ้านมีหน้าท่ดี ูแลรักษาความสะอาด ทงั ้ บริเวณห้องพัก และพนื ้ ท่ีสาธารณะในโรงแรม(Public Area)ซง่ึ แขกใช้ร่วมกันเช่น ห้องโถง (Lobby)สระนา้ ห้องนา้ ฯลฯ แม่บา้ นยังทาหน้าทเี่ กี่ยวกับการดูแลผ้าทุกชนิดในโรงแรมการจัดดอกไม้ในห้องพกั ห้องรับแขก และงานเลยี ้ ง 1.4 งานจองห้องพัก มีหน้าท่ใี นการรับจองห้องพกั ในโรงแรมการรับจองห้องพักล่วงหน้านอกจากอานวยความสะดวกสบายให้แก่แขกแลว้ ยังเป็นผลดตี ่อโรงแรมในด้านการบริหารและการตลาดอีกด้วย 1.5 งานภตั ตาคาร อาหารเป็นรายได้หลักอยา่ งหนึ่งของโรงแรมดงั นนั ้ จงึ มงี านด้านการอาหาร เพื่อบริการแขกของโรงแรมและแขกในท้องถ่ินงานบริการอาหารของบริกรในภตั ตาคาร จงึ เป็นงานทสี่ ัมผัสกบั แขกโดยตรง 1.6 งานบาร์ บาร์เป็นสถานทขี่ ายเคร่อื งดมื่ ทุกชนดิ แกแ่ ขกทงั ้ แขกภายในโรงแรมและแขกในท้องถิ่น พนักงานทงั ้ ฝ่ ายผสมเครอ่ื งดื่ม(Bartender)และฝ่ ายบริการเป็นพนักงานสว่ นหน้า 1.7 งานจดั เลยี ้ ง โรงแรมคล้ายกับห้องรับแขกของหมบู่ ้านทงั ้ นเี ้ พราะโรงแรมมีความพร้อมในการต้อนรับแขกในด้านอาหารและเคร่ืองด่มื ทงั ้ งานเฉลิมฉลองด้านสังคมเชน่ วนั เกิด การแตง่ งานฯลฯ งานธุรกิจงาน

ประชมุ สัมมนา นอกจากนี ้บรรยากาศท่ีหรูหรา อาหารทมี่ ีรสชาติ การจดั บริการทดี่ ี สะดวกสบาย ล้วนเป็นสง่ิ กระต้นุต้องการให้บุคคลจัดงานเลยี ้ งนอกบ้านมากยงิ่ ขนึ ้ (Bernard and Sally, 1992 : 25 - 26)โรงแรมเป็นสถานท่ีหน่งึ ซง่ึ มีความพร้ อมในการตอบสนองความต้องการดังกล่าวแล้ว 1.8 งานการประชมุ โรงแรมต้องจดั ห้องประชมุ สมั มนา เพือ่ ตอบสนองความต้องการของแขกซง่ึ ใช้บริการทางด้านนมี ้ ีแนวโน้มเพมิ่ ขนึ ้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การประชุมระดบั ชาติ หรือระดับนานาชาติ ต้องใช้ห้องประชมุขนาดใหญ่ และมีส่งิ อานวยความสะดวกในการประชมุ สัมมนา 1.9 งานอานวยความสะดวกด้านนันทนาการ โรงแรมต้องจดั บริการตา่ งๆเพอ่ื ให้แขกได้รับการพกั ผอ่ นและการออกกาลังกาย เพ่อื สขุ ภาพที่ดขี นึ ้ ดังนนั ้ โรงแรมต้องจัดบริการทางด้านสระวา่ ยนา้ สนามเทนนิสสนามขมี่ ้า หรือบริการอ่นื ๆเพอ่ื อานวยความสะดวกสบายแกแ่ ขกในการพกั ผอ่ นและออกกาลงั กาย งานทงั ้ หมดทีก่ ลา่ วมาแล้วเป็นงานสว่ นหน้าบา้ นเพราะเป็นลกั ษณะของงานบริการทีพ่ นกั งานสมั ผสั กับแขกโดยตรงแตกต่างจากงานสว่ นหลงั บา้ นซึ่งกลา่ วตอ่ ไปเป็นเพยี งงานสนบั สนนุ ให้พนกั งานสว่ นหน้าบริการแขกได้ถูกต้องรวดเร็ว และเกิดความประทบั ใจพนกั งานส่วนหลงั (Back end Support)จึงทาหน้าทีใ่ นการจัดเตรียมบริการต่างๆให้แก่แขก แตก่ ารสง่ มอบบริการ ณ จุดสมั ผสั บริการ หรือจดุ รับบริการ เป็นหน้าที่ของพนักงานสว่ นหน้า (Front – lineStaff) งานส่วนหลงั บา้ นประกอบด้วย งานต่อไปนี ้ 2.1 งานบญั ชี งานบญั ชี มีหน้าท่ดี ูแลเกี่ยวกับกิจการด้านการเงินการบญั ชที กุ ๆประเภทของโรงแรมการควบคุมต้นทนุ (Cost Control)การตงั ้ ราคาสินค้า การวางระบบบญั ชใี นการเบกิ จ่ายวสั ดตุ า่ งๆการควบคุมดแู ลเกี่ยวกับรายรับรายจา่ ยของโรงแรม 2.2 งานเตรียมอาหาร การบริการอาหารเป็นหน้าท่ีของบริกร ซ่งึ เป็นพนกั งานส่วนหน้า แต่การจัดเตรียมวัสดอุ ปุ กรณ์อาหาร และการปรุงอาหารเป็นหน้าทข่ี องพอ่ ครัว (Cook)หรือหัวหน้าพอ่ ครัว (Chef)อาหารเม่อืจดั ปรุงเรียบร้ อยแล้ว ก็จะส่งมอบไปยังบริกร เพอื่ บริการให้แกแ่ ขก 2.3 งานเก็บของในคลังพัสดุ โรงแรมต้องซอื ้ สนิ ค้าเป็นจานวนมากเพ่ือจัดเตรยี มบริการแขกสนิ ค้าดังกล่าวต้องเก็บไว้ในคลงั พสั ดุ และเบกิ จา่ ยมาใช้ในแตล่ ะวนั ตามความจาเป็นพนกั งานดูแลคลงั พสั ดุดังกล่าวแลว้จงึ เป็นพนกั งานสว่ นหลังเพยี งแตท่ าหน้าท่ีจา่ ยพสั ดุไปยงั แผนกต่างๆซึ่งบริการแขกโดยตรง 2.4 งานล้างจานโรงแรมต้องจดั ให้มพี นกั งานสว่ นหลงั เพ่อื ทาหน้าที่ล้างภาชนะตา่ งๆในการบริการอาหารและเครื่องดืม่ ให้แก่แขก เชน่ จานถ้ วย แก้ ว ช้อน ฯลฯ 2.5 งานรักษาความปลอดภยั พนักงานรักษาความปลอดภัยมหี น้าท่ีดูแลรักษาชวี ติ ทรัพยส์ ินของแขก ให้ได้รับความปลอดภัยให้มากทส่ี ดุ ในการพักในโรงแรมพนกั งานรกั ษาความปลอดภัยต้องดูแลเก่ียวกับการจารกรรมของโจรผ้รู ้ าย การขโมยทรัพยส์ นิ การปอ้ งกันอัคคีภยั ฯลฯ งานรักษาความปลอดภยั นอกจากดูแลชวี ิตทรพั ยส์ นิ ของแขกแล้ว ต้องดแู ลทรัพยส์ ินทงั ้ หมดของโรมแรมด้วย

2.6 งานช่างและการบารุงรักษา ในโรงแรมมงี านช่างหลายประเภทเชน่ ชา่ งไฟฟา้ ชา่ งไม้ชา่ งประปา ชา่ งเคร่ืองปรับอากาศ ช่างสี ฯลฯ งานเหลา่ นีจ้ ดั เตรียมไวเ้ พื่ออานวยความสะดวกสบายให้แก่แขก หรือแก้ ไขปัญหาตา่ งๆที่เกิดขนึ ้ ในการบริการ เชน่ ขณะแขกพกั ในห้อง เกิดปัญหาเร่ืองกระแสไฟฟ้า ก็ต้องแก้ไขทันทว่ งที แต่วธิ กี ารที่ดีท่ีสุด ต้องหามาตรการป้องกันเพือ่ มิให้เกิดปัญหาในขณะบริการ 2.7 งานซกั รีด การซกั รีดต้องบริการทงั ้ แขก และงานในโรงแรมเชน่ ต้องบริการซักรีดเก่ียวกบัเครื่องแบบของพนักงานผ้าทกุ ประเภททใ่ี ช้ในโรงแรม 2.8 งานบุคคล งานบริหารบุคคลทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับสมัครพนักงานสวสั ดิการของพนักงานการขาดการลาของพนกั งานการดูแลเกี่ยวกบั เรื่องระเบยี บวนิ ัย การจดั พนักงานบรรจุในแผนกตา่ งๆการโยกย้ายพนกั งานและการพิจารณาความดคี วามชอบร่วมกับผ้บู ริหารของแผนกอน่ื ๆ 2.9 งานฝึกอบรมการฝึกอบรมพนักงานเป็นส่ิงจาเป็นในงานบริการ การบริการจะเป็นเลศิองคป์ ระกอบท่ีสาคัญอยา่ งหนง่ึ คอื การฝึกอบรมพนกั งานให้รู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบและมจี ิตสานกึ ของการเป็นนกับริการทีด่ ี การสร้ างมาตรฐานของงานบริการ ให้เกิดความสม่าเสมอคงเส้นคงวา (Consistency)จึงเป็นสิ่งจาเป็นอยา่ งยง่ิ สาหรับงานโรงแรมซง่ึ ต้องใช้บริการคน(People Service People) คนต้องมเี จตนคตทิ ด่ี ตี ่องานบริการ(Nebel III, 1991 : 10)การเตรียมพร้อมในงานบริการทุกๆด้านทงั ้ ในสว่ นของบคุ ลกิ ภาพ เจตนคตทิ ีด่ ตี ่องานหลกั การบริการ และความร้เู ฉพาะในงานหน้าทจ่ี ึงต้องมกี ารอบรมอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้เกิดมาตรฐานและความคงเสน้ คงวาในการบริการหน้าที่ดังกลา่ วจัดอยูใ่ นงานบริการสว่ นหลังบา้ นซงึ่ ต้องทาหน้าที่สนับสนุนและประสานงานกับการบริการส่วนหน้าบา้ นอย่างใกล้ชิด งานตา่ งๆดงั ทีก่ ลา่ วมาแล้ว โรงแรมต้องนาเข้ามาสรู่ ะบบการจัดองค์กร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook