Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิเคราะห์สังคมโลกในศตวรรษที่ 21

การวิเคราะห์สังคมโลกในศตวรรษที่ 21

Published by ดํารงค์ ศรีฟ้า, 2020-01-31 08:16:01

Description: การวิเคราะห์สังคมโลกในศตวรรษที่ 21

Search

Read the Text Version

1 การวเิ คราะหส์ งั คมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลย่ี นแปลงเขา้ สสู่ ังคมแห่งโลกยคุ ใหม่ สงั คมมกี ารเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลาและในยุคปจั จุบันสังคมมีอัตราการเปล่ยี นแปลงที่รวดเรว็ มาก นักคิด ในแวดวงต่าง ๆ ของโลกและไทยต่างให้ความสนใจกับสภาพสังคมเป็นอย่างย่ิง นักคิดทั้งหลายเรียกสังคมของ มนษุ ยชาตใิ นอนาคตในชื่อท่แี ตกตา่ งกัน อัลวิน ทอฟฟเลอร์ (Alvin Toffler, 2538) เรียกว่า ยุคคล่ืนลูกท่ีสาม (the third wave) โดยมองว่าการเปล่ียนแปลงของกระแสโลกจะเป็นการเปล่ียนแปลงที่มีลักษณะ “ท้ังโลก” (global) ไม่ ว่าจะเปน็ ด้านเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ฯลฯ โดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นตัวขับเคล่ือน ในขณะที่อีริค ชมิดท์ และเจเรด โคเฮน (Eric Schmidt and Jared Cohen, 2014) เรียกโลกยุคนี้ว่า “ยุคดิจิทัลเปลี่ยนโลก” (The New Digital Age) นอกจากน้ีแล้วยังถูกเรียกในชื่ออ่ืน ๆ อีกว่าเป็น “ยุคโลกไร้พรมแดน” (borderless world) ยุค “โลกาภิวัตน์” (globalization) สุวิทย์ เมษิณทรีย์ (2550 อ้างถึงในจินตนา สุจจานันท์, 2556 : 2) เรียกว่าเป็นยุค “หลังสังคม ฐานความรู้” (post knowledge – based society) ซึง่ เป็นโลกท่ีเน้นเร่ืองกัลยาณมิตร มีการเปลี่ยนรูปแบบของคนจาก ต่างคนตา่ งปิด ไปสู่ต่างคนตา่ งเปดิ เปน็ โลกที่กา้ วขา้ มสังคมที่เน้นการแข่งขันไปสู่การร่วมสร้างสรรค์ เป็นโลกที่ ภูมิปัญญาได้พัฒนาก้าวข้ามทรัพย์สินทางปัญญาสู่ภูมิปัญญามหาชน เช่น ยูทูบ (youtube) หรือ วิกิพีเดีย (wikipedia) โลกหลังสังคมฐานความรู้เป็นโลกท่ีเปล่ียนวิถีชีวิตมนุษย์จากการพึ่งพิงไปสู่ความเป็นอิสระและการ พึ่งพาอาศัยกนั แนวคิดของเจมส์ มาร์ติน (James Martin, 2553) ซ่ึงปรากฏอยใู่ นหนงั สอื ของเขาท่ีชื่อว่า “โลกแห่ง ศตวรรษท่ี 21” (The Meaning of the 21st Century) เจมส์ ได้เสนอแนวคิดว่า จะเกิดอะไรข้ึนบ้างในยุคศตวรรษที่ 21 ซ่งึ ค่อนขา้ งจะเปน็ ในทางลบ แตเ่ ขามีเจตนาท่ีจะกระตุน้ ให้สังคมตระหนักและหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ทจี่ ะเกดิ ข้ึนเช่นเดียวกับประเวศ วะสี (2545) เห็นวา่ วถิ ีชวี ติ ของมนุษย์ในศตวรรษท่ี 21 จะมีปัญหามากข้ึนอัน สบื เนอ่ื งมาจากกเิ ลส และอวชิ ชาจะตอ้ งอาศัยหลกั ธรรมทางพุทธศาสนามาแก้ปัญหา มนุษย์จะต้องเปลี่ยนไปสู่ ภาวะหรือภพภูมิที่สูงกว่า (อดุลย์ วังศรีคูณ, 2557) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (2557) ไดป้ ระเมินสถานการณท์ ีม่ ผี ลต่อการพฒั นา ประเทศไทยทง้ั ในระดบั โลกและในระดับประเทศ ดังนี้ การเปลย่ี นแปลงสาคัญระดับโลก 1.1 กฎ กติกาใหม่ของโลกหลายด้านส่งผลให้ทุกประเทศต้องปรับตัว วิกฤตเศรษฐกิจและ การเงินของโลกที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการปรับเปล่ียนกฎระเบียบในการบริหารจัดการเศรษฐกิจโลกทั้งด้าน การค้า การลงทุน การเงินสิ่งแวดล้อม และสังคมเพ่ือการจัดระเบียบใหม่ท่ีสาคัญของโลกครอบคลุมถึงกฎ ระเบียบด้านการค้า และการลงทุนท่ีเน้นสร้างความโปร่งใสและแก้ปัญหาโลกร้อนมากข้ึน การคุ้มครอง ทรัพยส์ ินทางปญั ญา ความร่วมมือระหว่างประเทศ และการกากับดแู ลด้านการเงนิ ทเ่ี ขม้ งวดมากข้ึน 1.2 การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง รวมท้ังภูมิภาคเอเชียทวีความสาคัญเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ อาทิ ฮ่องกง เกาหลี สิงคโปร์ ไต้หวัน และกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มี

2 แนวโน้มเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมโลก ขณะที่นโยบายการเปิดประเทศของจีน รัสเซีย พลวัต การขยายตัวของบราซิลและอินเดีย และการเพิ่มขึ้นของชนชั้นกลางในภูมิภาคเอเชียจะเพิ่มกาลังซื้อใน ตลาดโลก 1.3 การเขา้ สู่สงั คมผสู้ ูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่อง ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 ประชากรสูงอายุในโลกจะ เพ่ิมข้ึนอีก 81.9 ล้านคน และการเป็นสังคมผู้สูงอายุของประเทศสาคัญ ๆ ในโลก มีผลกระทบต่อการ เคลอื่ นยา้ ยกาลงั คนข้ามประเทศ เกิดความหลากหลายทางวฒั นธรรม ขณะท่ีโครงการสร้างการผลิตเปล่ียนจาก การใช้แรงงานเขม้ ขน้ เป็นการใช้องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยมี ากขน้ึ 1.4 การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ในช่วง 30 ปีท่ีผ่านมา อุณหภูมิโลก สูงข้ึนโดยเฉลี่ย 0.2 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวนก่อให้เกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง อาทิ แผ่นดินไหว ดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง ไฟ ป่า ระบบนิเวศในหลายพ้ืนที่ของโลกอ่อนแอ สูญเสียพันธ์ุพืชและสัตว์ พื้นผิวโลก เปล่ียนแปลงทางกายภาพ โดยเฉพาะการสูญเสียพ้ืนที่ชายฝ่ังเนื่องจากระดบั นา้ ทะเลท่ีสงู ขน้ึ 1.5 ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโน้มจะเป็นปัญหาสาคัญ ความต้องการพืช พลังงานสินค้าเกษตรและอาหารมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจากการเพิ่มประชากรโลก แต่การผลิตพืชอาหารลดลงด้วย ข้อจากดั ด้านพ้ืนทเี่ ทคโนโลยีทีม่ ีอยู่ 1.6 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรวมท้ัง ตอบสนองต่อการดารงชวี ติ ของประชาชนมากย่ิงขึ้น ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเก่ียวกับการทางานของสมองและจิต ที่เป็นทั้งโอกาสหรือภัยคุมคามในการ พัฒนา 1.7 การก่อการร้ายสากลเป็นภัยคุกคามประชาคมโลก การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้าม ชาตมิ ีแนวโนม้ ขยายตัวท่วั โลกและรนุ แรง มรี ปู แบบและโครงขา่ ยท่ีซับซ้อนมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ของประเทศ ตอ้ งเตรียมความพร้อมในการควบคุมปัจจัยที่เก้ือหนนุ การกอ่ การร้ายและสรา้ งความร่วมมือในเวที ระหว่างประเทศเพื่อปกปอ้ งผลประโยชน์ของชาติจากภยั กอ่ การรา้ ย การเปลยี่ นแปลงภายในประเทศ 1.8 การเปลยี่ นแปลงสภาวะดา้ นเศรษฐกิจ อัตราการขยายตัวและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคการผลิตท่ีมีบทบาทสูง ภาคเกษตรเป็นแหล่งสร้างรายได้หลัก ของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศและเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการมี บทบาทสาคัญในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่เศรษฐกิจ ขณะท่ีการเช่ือมโยงเศรษฐกิจในประเทศกับต่างประเทศ ทาให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

3 1.9 การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านสังคม ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุจากการมีโครงสร้างประชากรที่วัย สูงอายุเพ่ิมข้ึน วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยได้รับการพัฒนาศักยภาพทุกช่วงวัยแต่มีปัญหาคุณภาพ การศึกษาและระดับสติปัญญาของเด็ก พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ และผลิตภาพแรงงานต่า ประชาชนได้รับ การคุ้มครองทางสังคมเพ่ิมขึ้นและมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลายรูปแบบ แต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่ สามารถเข้าถงึ บริการทางสังคมไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง 1.10 การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ เส่ือมโทรมการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลซ้าเติมให้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรุนแรง กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตรและความยากจน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังไม่มี ประสิทธภิ าพเทา่ ที่ควร 1.11 การเปล่ียนแปลงสภาวะด้านการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ ประชาชนมีความ ต่ืนตัวทางการเมืองสูงข้ึน แต่ความขัดแย้งทางการเมือง ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงอยู่และ ส่งผลต่อเศรษฐกิจ การดารงชีวิตของประชาชน และความเชื่อม่ันของนานาประเทศ รวมทั้งความสงบสุขของ สังคมไทย ขณะทีป่ ระสิทธิภาพภาครัฐมีการเปล่ียนแปลงในภาพรวมท่ีดีขึ้น แต่ขีดความสามารถในการป้องกัน การทจุ รติ ต้องปรับปรงุ จะเห็นได้ว่าแนวโน้มของสังคมโลกและสังคมไทยในศตวรรษใหม่ในอนาคต มีการเปล่ียนแปลง ค่อนข้างมาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศเป็นปัจจัยสาคัญที่ผลักดันทาให้เกิดการ เปลย่ี นแปลงวิถชี วี ิตของมนุษย์ การที่มนุษย์จะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง ปรับตัวให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงนี้ คาถามที่ตามมา คือ แล้วคนจะเตรียมตัวอย่างไรให้มีทักษะในการ ปรับเปลีย่ นใหเ้ ขา้ กบั โลกท่เี ปล่ยี นแปลงไป เพ่อื ท่ีจะใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพสูงสุด ความท้าทายใหม่ๆ เกิดขึ้นท้ัง โลก มนุษย์จงึ ตอ้ งคิดวธิ แี ก้ปญั หาและวิธกี ารปรับตัวให้อยรู่ อดกบั ความท้าทายในครงั้ น้ี ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษใหม่ กรอบแนวคิด \"ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21” มีจุดเร่ิมต้นมาจาก ภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (P21) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า เปน็ กลุม่ สมาชกิ ทป่ี ระกอบดว้ ย องคก์ รวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้าน การศึกษาของรัฐ หน่วยงานเหล่าน้ีมีความกังวลเพราะเล็งเห็นความจาเป็นที่ประชาชนจะต้องมีทักษะท่ีใช้ ประโยชน์ได้จริงมากกว่าทักษะท่ีเน้นในโรงเรียน จึงมีการประชุมร่วมกันของนักวิชาการหลากหลายสาขา โดย รัฐบาลต้องการพฒั นาคุณภาพประชากรของประเทศ เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของประเทศกับนานาชาติ และต้องการให้ประชากรนั้นมีคณุ ภาพ และศักยภาพในสงั คม สามารถดารงชวี ิตอยู่ในโลก ที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว จึงเป็นท่ีมาของความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 โดยกลุ่มภาคีเพื่อ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (P21) สรา้ งโมเดลเป็นรปู “ร้งุ ” ดังรูปท่ี 1 เป็นโมเดล กรอบความคิดเพ่ือการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 องคป์ ระกอบของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (21st Century Student Outcomes) จะมุ่งเน้นแนวคิด 2

4 ประการหลักคอื ความรู้ในวิชาแกน เนื้อหาประเด็นท่ีสาคัญสาหรับศตวรรษท่ี 21 และ ทักษะที่จาเป็นสาหรับ ศตวรรษท่ี 21 1. ความร้ใู นวิชาแกนและเนือ้ หาประเดน็ ท่สี าคัญสาหรบั ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย ความร้ใู นวิชาแกน ได้แก่ ภาษาแม่และภาษาโลก คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าท่พี ลเมืองและการปกครอง เน้ือหาประเด็นท่ีสาคัญสาหรับศตวรรษท่ี 21 ที่ส่งผลต่อความสาเร็จและมีความสาคัญ ในที่ ทางานและชุมชน ไดแ้ ก่ § ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) § ความรู้เก่ียวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) § ความรู้ดา้ นการเป็นพลเมืองทด่ี ี (Civic Literacy) § ความรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literacy) § ความรู้ดา้ นสง่ิ แวดล้อม (Environmental Literacy) 2. ทักษะทจี่ าเป็นสาหรบั ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วยทักษะทีส่ าคญั 3 ประการดังนี้ 2.1 ทักษะชีวิตและการทางาน (Life and Career Skills) ในการดารงชีวิตและในการทางานนั้นไม่เพียงต้องการ คน ท่ีมีความรู้ ความสามารถในเนื้อหาความรู้ หรือทักษะการ คิดเท่าน้ัน หากแต่ยังต้องการผู้ที่สามารถทางานใน บรบิ ททีม่ ีความซบั ซอ้ นมากข้ึนอีกดว้ ย ทักษะทีจ่ าเป็น ไดแ้ ก่ § ความยืดหยนุ่ และความสามารถในการปรับตวั (Flexibility and Adaptability) § ความคิดรเิ รมิ่ และการช้นี าตนเอง (Initiative and Self Direction) § ทกั ษะทางสังคมและการเรียนรูข้ ้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-cultural Skills) § การเพ่ิมผลผลติ และความรูร้ บั ผดิ (Productivity and Accountability) § ความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) 2.2 ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ซง่ึ ใน ศตวรรษที่ 21 นี้ นับไดว้ า่ มีความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยมี าก ดังนั้นผู้เรียนจึงควรมีทักษะดังต่อไปน้ี คือ

5 § การรูเ้ ทา่ ทนั สารสนเทศ (Information Literacy) § การรู้เท่าทนั ส่อื (Media Literacy) § การร้เู ท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT (Information, Communications & Technology) Literacy) 2.3 ทักษะการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ § ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ซ่ึงครอบคลุมไปถึง การคิดแบบสร้างสรรค์ การ ทางานอย่าสร้างสรรคร์ ่วมกับผอู้ นื่ และการนาความคดิ นั้นไปใช้อยา่ งสรา้ งสรรค์ § การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) หมายความรวมถึงการ คิดอย่างมี เหตุผล การคิดเชิงระบบ การคิดตัดสนิ ใจและการ คิดแก้ปัญหา § การสื่อสารและการร่วมมือ (Communication and Collaboration) ซึ่งเน้นการส่ือสารโดยใช้ส่ือรูปแบบ ต่างๆ ท่ีมี ประสิทธิภาพ ชัดเจน และการทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ (วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ,์ 2554) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซ่ึงเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เน่ืองด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ท้ังในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมท้ัง ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมต่อการเรยี นในศตวรรษท่ี 21 ทาใหท้ ราบถึงองคป์ ระกอบของลักษณะการเรียนรู้ของ เด็กยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงแสดงโมเดลเป็นรูป “รุ้ง” ดังภาพข้างต้น เพื่อการก้าวสู่ความสาเร็จในการ ทางานและชีวิต สะท้อนให้เห็นว่าคนยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 นี้ควรมีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น อะไรบ้าง ตลอดจนสงิ่ ต่างๆ ทเ่ี ปน็ ปัจจยั สนับสนนุ ท่จี ะทาให้เกดิ การเรียนรู้ดังกล่าว ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21จะ ช่วยเตรียมความพร้อมให้นักเรียนรู้จักคิด, เรียนรู้, ทางาน, แก้ปัญหา, ส่ือสาร และร่วมมือทางานได้อย่างมี ประสิทธิผลไปตลอดชีวติ การศึกษาไทยกบั ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 “เราไม่สนใจในคาตอบแต่เราสนใจในกระบวนการหาคาตอบ จุดสาคัญ คือ เราต้องเปลี่ยนจาก ความรู้ ไปสู่ ทกั ษะ เปลีย่ นจาก ครู เปน็ หลกั เป็นนักเรียน เป็นหลัก” คากล่าวของ ศ. น.พ.วิจารณ์ พานิช ท่าน เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพ่ือสังคม (สัมภาษณ์, 31 พฤษภาคม 2555) เปน็ คาพูดท่ีฟังแล้วให้แง่คิดเมื่อนามาเปรียบเทียบกับภาพการเรียนการสอนของครูส่วนใหญ่ในประเทศไทย ที่ ยังยึดหลักความถูกผิดในคาตอบและยึดครูผู้สอนเป็นหลัก “ภาพของครูที่ยืนสอนหน้าช้ันเรียนคอยบอกให้ นักเรียนจดหรือท่องจาส่ิงที่ครูรู้อาจยังคงมีอยู่ ภาพของผู้เรียนที่อ่านเอกสารประกอบการสอน หรือเลคเชอร์

6 โน้ตไปพลางๆ ระหว่างท่ีครูบรรยายหน้าห้องก็คงปรากฎ ภาพของครูผู้สอนที่พยายามสร้างปฏิสัมพันธ์กับ ผู้เรียนดว้ ยการสอดส่องดวู า่ มนี กั เรียนคนใดหลบั พูดคุยกัน ไมส่ นใจฟังครู หรือคอยเรียกนักเรียนให้ตอบคาถาม ก็ยังคงมีให้เห็น แต่ภาพของผู้เรียนท่ีมีจานวนมากข้ึนในแต่ละชั้นเรียน จนทาให้วิธีการสอนแบบเดิมๆ ไม่มี ประสิทธภิ าพพอเพยี ง สื่อท่ีแสดงมีขนาดไม่ใหญ่เพียงพอสาหรับผู้เรียนด้านหลังช้ันเรียน ความจดจ่อกับผู้สอน ถูกเบ่ียงเบนจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ภาพของผู้เรียน ซึ่งอาจนาหนังสือหรือ ตาราที่เก่ียวกับที่เรียนในวันน้ันเข้ามาศึกษา เข้ามาเปรียบเทียบกับคาสอนของครู รวมถึงการนาเอา คอมพิวเตอร์พกพาเข้ามาสืบค้นความรู้ ในช้ันเรียนก็ปรากฎให้เห็นเพิ่มข้ึนๆ ภาพของผู้เรียนซ่ึงถามคาถาม เก่ียวกับเรื่องที่ครูกาลังสอน หรือนาเอาข้อมูลความรู้ในเร่ืองน้ันมาพูดคุย โดยครูอาจตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้ ข้อมูลน้ันมาก่อน อาจพบเพิ่มข้ึน เช่นกัน ครูไม่ใช่ “ศูนย์กลาง” อีกแล้ว ความรู้ท่ีครู “ป้อนให้” และ “จากัด” น่าจะล้าสมัย และจะกลายเป็นการ “ปิดกั้น” การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน” (สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ, 2553) เพราะความรู้ท่ีมีอยู่มากมายบนโลกและผู้เรียนก็สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่าน้ันได้อย่างง่าย ทาให้บทบาทของ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร และการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เดน่ ชัดมากขึ้น การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษท่ี 21 จะมีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็น การศึกษาทจ่ี ะทาใหโ้ ลกเกดิ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วอยา่ งเตม็ ไปดว้ ยสง่ิ ท้าทาย และปัญหา รวมทั้งโอกาส และสิ่งท่ีเป็นไปได้ใหม่ๆ ที่น่าต่ืนเต้น โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 จะเป็นโรงเรียนท่ีมีหลักสูตรแบบยึดโครงงาน เป็นฐาน (Project -based Curriculum) เป็นหลักสูตรท่ีให้นักเรียนเกี่ยวข้องกับปัญหาในโลกที่เป็นจริง ซึ่งเป็น ประเด็นที่เก่ียวข้องกับความเป็นมนุษย์ และคาถามเก่ียวกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สังคม และสากล ภาพของ โรงเรียนจะเปล่ียนจากการเป็นสิ่งก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์รวมประสาท (Nerve Centers) ที่ไม่จากัดอยู่ แตใ่ นหอ้ งเรยี น แต่จะเช่ือมโยงครู นักเรียนและชมุ ชน เขา้ สขู่ มุ คลังแห่งความรู้ทั่วโลก ครูเองจะเปลี่ยนจากการ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้นักเรียนสามารถเปลี่ยนสารสนเทศเป็นความรู้ และนา ความรู้เป็นเครื่องมือสู่การปฏิบัติและให้เป็นประโยชน์ เป็นการเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ และต้องมีการสร้าง วฒั นธรรมการสบื คน้ (Create a Culture of Inquiry) ดังน้นั การใหก้ ารศึกษาสาหรับศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงเป็นประเด็นสาคัญระดับชาติท่ีประเทศไทยต้อง แก้ไขและกาหนดยุทธศาสตร์การศึกษาของชาติใหม่ ทุกภาคส่วนต้องหันกลับมามองจุดท่ียืนอยู่และก้าวไปสู่ จุดหมายใหม่ โดยการเปลี่ยนแปลงทัศนะ(Perspectives) จากกระบวนทัศน์แบบด้ังเดิม (Tradition Paradigm) ไปสู่ กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ท่ีให้โลกของนักเรียนและโลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของกระบวนการ เรยี นรู้ เปน็ การเรยี นรูท้ ี่ไปไกลกว่าการได้รับความร้แู บบง่ายๆ ไปสูก่ ารเน้นพัฒนาทกั ษะและทัศนคติ ทักษะการ คิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทักษะการส่ือสาร ทักษะและค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเช่ือมั่นตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และ ความตระหนักในสภาพแวดล้อม ดังเช่นคากล่าวของ นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เลขาธิการมูลนิธิสดศรี สฤษด์ิวงศ์ (สัมภาษณ์, 31 พฤษภาคม 2555) ท่านกล่าวว่า “ในศตวรรษนี้เป็นยุคสารสนเทศอย่างแท้จริง จานวนความรู้มันเพ่ิมขึ้นมหาศาลอย่างรวดเร็วทุกวัน ตัวอย่างท่ีดีคือตัวอย่างความรู้ทางการแพทย์มีความรู้

7 ใหม่ๆ เกิดข้ึนทุกวัน เราไล่ไม่ทัน เป็นไปไม่ได้ท่ีจะท่องทั้งหมด ดังนั้นเราไม่ได้ต้องการเด็กที่รู้เยอะๆ เด็กท่อง เก่ง เรียนเก่งแต่เพียงอย่างเดียว แต่เราอยากได้เด็ก อยากได้นักเรียน อยากได้บัณฑิต ที่ใฝ่รู้ อยากเรียนรู้ ของใหม่ๆ เร่ือยๆ และรู้วิธีท่ีจะเรียนรู้ด้วย ก็คือมีทักษะการเรียนรู้ ท่ีเรียกว่า Learning Skill และพร้อมกันนั้นก็มี ทกั ษะการใชช้ ีวิตดว้ ย ที่เรยี กวา่ Life Skill” การเปล่ียนแปลงการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ถือว่าเป็นเรื่องที่ท้าทาย และจาเป็น ในการพัฒนาการเรียนเพื่ออนาคตของเด็กไทย เพื่อให้นักเรียนไทยมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และ บุคลิกภาพส่วนบุคคล สามารถเผชิญกับโลกอนาคตได้ ด้วยภาพในทางบวก ท่ีมีท้ังความสาเร็จและความสุข สร้างความทันเทยี มของคนไทยให้เทา่ ทนั กบั นานาประเทศทั่วโลก บทสรปุ กรอบแนวคิดแนวคิด \"ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนที่มุ่งเน้นการ ผสมผสาน ความรู้วิชาการซึ่งเป็นวิชาแกน (Core Subjects) และเนื้อหาประเด็นท่ีสาคัญแห่งศตวรรษที่ 21 (21st century themes) เข้ากับทักษะสาคญั ทผี่ ู้เรียนตอ้ งพฒั นา 3 หมวดหลัก องค์ความรู้หลักหรือวิชาแกน (Core Subjects) ท่ีมีความสาคัญในการจัดการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 ประกอบไปดว้ ย ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาแม่ (English) ทักษะการอ่าน (Reading) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และ ได้รับความรู้ต่างๆ มากมายเพิ่มเติม โดยเชื่อว่าการอ่านเป็นทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ทักษะการใช้ ภาษาอื่นๆ (Language Arts) ได้แก่ การฟัง การพูด และการเขียน ภาษาต่างประเทศ (World Language) ศิลปะ (Arts) คณิตศาสตร์ (Mathematics) เศรษฐศาสตร์ (Economics) วิทยาศาสตร์ (Science) ภูมิศาสตร์ (Geography) ประวัติศาสตร์ (History) การปกครองและหน้าที่พลเมือง (Government and Civics) สาขาวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ (Social Science) ดงั กล่าวมานี้ แตกต่างจากวิชาสังคมศึกษา (Social Studies) ซึ่งว่าด้วยเรื่องวิถีการดาเนินชีวิต (Way of Life) ของมนษุ ย์ ส่งิ มีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม นอกจากน้ียังมีเน้ือหาประเด็นสาคัญในยุคศตวรรษท่ี 21 ท่ีจาเป็นต้องบูรณาการในการจัดการ เรียนการสอนโดยประสานไปพร้อมกับองค์ความรู้หลัก จาแนกออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) ความตระหนัก เกี่ยวกบั โลก (Global Awareness) 2) ความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง (Civic Literacy) 4) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพ (Health Literacy) และ 5) ความรู้ความเข้าใจด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy) และมที กั ษะที่ตอ้ งบูรณาการผสานในการเรียนการสอนในองค์ความรู้หลักควบคู่ไปกับ 5 ประเด็นสาคญั (ดงั ทกี่ ล่าวมาแล้วข้างตน้ ) ในยุคศตวรรษท่ี 21 ดงั นี้ 1. ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ (Life and Career Skills) เด็กในศตวรรษที่ 21 ควรมีทักษะที่ ยืดหยุ่นและสามารถปรับตวั ได้ รเิ ริ่มและเรยี นรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง มีทกั ษะทางสงั คมและก้าวข้ามวัฒนธรรม มีความ รับผิดชอบ และสามารถผลติ สรา้ งสรรค์งานได้ ตลอดจนมีความเปน็ ผู้นาและรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม

8 2. ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร ส่ือ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ประกอบด้วย การอ่านออกเขยี นไดด้ ้านข้อมลู ข่าวสาร สื่อ และ ICT (Information, Communications and Technology) 3. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation) ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 1) นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ (Creativity and Innovation) ประกอบด้วย การคิดอย่างสร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อ่ืน อย่างสร้างสรรค์ และการนานวัตกรรมไปใช้ 2) การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ประกอบด้วย การมีเหตุผล การคิดอย่างเป็นระบบ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหา 3) การ สื่อสารและการร่วมมือกัน (Communication and Collaborative) ประกอบด้วย การสื่อสารที่ชัดเจน และการร่วมมือ กับผอู้ ื่น ดงั นั้น ทักษะในศตวรรษที่ 21 ไม่ใช่กระแสที่ต้องรอให้ถึงศตวรรษที่ 21 อีกต่อไป ในปัจจุบันการ เปลี่ยนแปลงเหล่านั้นได้มาถึงแล้ว ดังจะเห็นได้จากเหตุการณ์การเปล่ียนแปลงในระดับโลกและระดับประเทศ ดังท่ีกลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง สังคมวัฒนธรรม และเทคโนโลยี ฯลฯ ที่ส่งผลกระทบ ต่อมนุษย์ทุกคนในโลกอย่างเห็นได้ชัด กรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ก็ไม่มีไว้สาหรับนักเรี ยน นักศึกษา ในโรงเรียนเท่าน้ัน แต่เป็นทักษะที่เหมาะสมกับผู้คนบนโลกน้ีท่ีต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ต้องแสวงหา ความรู้ที่สาคัญและจาเป็นสาหรับการแก้ปัญหาในชีวิตจริง ให้พร้อมกับการทางานและการใช้ชีวิตในโลก อนาคตทเี่ ต็มไปด้วยการเปล่ียนแปลงอันยากจะคาดการณ์ เพ่ือปรับตัวให้อยู่รอดกับการเปล่ียนแปลงของโลกท่ี เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว

9 คุณลกั ษณะของครทู ดี่ ตี ามพระราชดารสั พระราชดารัสในท่นี ้ี หมายถงึ พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชมหาราช ซ่ึง พระองค์ได้พระราชทานแก่ครูอาวุโสประจาปี 2522 เม่ือวันอังคารท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2523 มีข้อความที่ เกย่ี วกับคณุ ลกั ษณะของครดู ตี อนหนงึ่ วา่ “... ครทู แ่ี ทน้ ั้นตอ้ งเปน็ ผู้กระทาแต่ความดี ต้องขยันหมั่นเพียรและอุตสาหะพากเพียร ต้องเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่และ เสียสละ ต้องหนักแน่นอดกล่ันและอดทน ต้องรักษาวินัยสารวมระวังความประพฤติของตนให้อยู่ในระเบียบ แบบแผนอนั ดงี าม ต้องปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบายและความสนุกร่ืนเริงที่ไม่สมควรแก่เกียรติภูมิของ ตน ต้องตั้งใจให้มั่นคงและแน่วแน่ ต้องซ่ือสัตย์รักษาความจริงใจ ต้องมีเมตตาหวังดี ต้องวางใจเป็นกลาง ไม่ ปล่อยไปตามอานาจอคติ ต้องอบรมปัญญาให้เพ่ิมพูนสมบูรณ์ข้ึน ท้ังในด้านวิทยาการและความฉลาดรอบรู้ใน เหตุและผล..” จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ตามท่ีผู้เขียนได้อัญเชิญมา ข้างต้นน้ี เมอ่ื นามาเปรยี บเทียบกบั หลกั ธรรมคาสอนขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ได้กลา่ วแล้ว สามารถ เข้ากนั ไดก้ ับหลกั คาสอนในพระพุทธศาสนาทุกประการท้งั ในหลกั กัลยาณมติ ตธรรมและหลกั ธรรมอืน่ ๆ ดงั เช่น 1 หม่ันขยันและอตุ สาหะพากเพียร ตรงกบั หลักธรรม “วิรยิ ะ” หรือ “วริ ิยารัมภะ” 2 เออื้ เฟ้ือเผ่ือแผ่และเสียสละ ตรงกับหลกั ธรรม “จาคะ” 3 หนักแน่น อดกลัน้ อดทน ตรงกบั หลกั ธรรม “ขันต”ิ 4 รักษาวนิ ัย...อยู่ในระเบียบแบบแผน ตรงกับหลักธรรม “วัตตา” หรือ “วินโย” 5 ปลีกตวั ปลีกใจจากความสะดวกสบาย ตรงกับหลักธรรม “สงั วร” 6 ตงั้ ใจใหม้ ่ันคงและแนว่ แน่ ตรงกบั หลักธรรม “สมาธิ” 7 ซือ่ สตั ยร์ ักษาความจริงใจ ตรงกับหลักธรรม “สจั จะ” 8 เมตตาหวังดี ตรงกบั หลกั ธรรม “เมตตา” 9 วางใจเปน็ กลาง ไม่ปลอ่ ยไปตามอานาจอคติ ตรงกบั หลกั ธรรม “อเุ บกขา” 10 อบรมปัญญาให้เพ่มิ พูนสมบรู ณข์ ้ึน ตรงกบั หลักธรรม “ปัญญา”

10 ลกั ษณะของครทู ด่ี ี ความนา สังคมคาดหวังวา่ ครู คอื แบบอยา่ งท่ีดขี องศิษยเ์ ปน็ ผูส้ ร้างสมาชิกใหม่ของสงั คมให้เป็นทรพั ยากรมนษุ ย์ทมี่ ี คุณภาพต่อสงั คม ธรรมชาตขิ องอาชพี ครูเปน็ อาชพี ที่ตอ้ งเกี่ยวข้องสมั ผสั กบั บุคคลอ่นื อย่เู สมอ ฉะนัน้ ผูด้ าเนนิ อาชพี ครจู ึงตอ้ งเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝเ่ รียน และใฝพ่ ัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง เอกลักษณข์ องครู 1.อดทน รจู้ ักผ่อนปรนต่อปัญหา สามารถควบคุมอารมณต์ นเองไดท้ งั้ ในเวลาและนอกเวลาสอน 2.รับผิดชอบต่อหนา้ ที่ และต่อตนเอง 3.เอาใจใสต่ ่อการเรยี นความประพฤติ ความเป็นอยู่ 4.ใฝห่ าความรู้ สารวจ ปรบั ปรุงแกไ้ ขตนเองอยู่เสมอ 5.ขยนั หม่ันเพียร ร้จู กั คิดริเร่มิ 6.มีความยตุ ิธรรมและทาให้ศิษย์เกิดความอบอุ่นใจ 7.ดารงตนอย่างเรียบง่าย ประหยดั เหมาะสมกบั สภาพอาชีพ 8.เปน็ ผู้มวี ฒั นธรรม และศลี ธรรมตามศาสนาท่ีตนนบั ถือ 9. สภุ าพเรยี บร้อย ประพฤติดีสมา่ เสมอ เหมาะเปน็ ตวั อย่างทด่ี ตี ่อศิษย์ สรุป ผู้ประกอบวชิ าชพี ครทู ้ังในสงั กดั ครุ สุ ภาและรวมถึงผ้สู อนในสถานศึกษาในสงั กัดมหาวทิ ยาลัยต่างๆ ตลอดจน ผู้สอนในสถานศึกษาของกระทรวงกลาโหม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอ่นื ๆ ดว้ ย เอกลักษณ์ของครู เป็นลกั ษณะของผปู้ ระกอบวิชาชีพครูทีม่ ีคุณลักษณะบางอย่างท่ีพิเศษนอกเหนือจากวิชาชีพอน่ื ๆนนั่ เอง ลกั ษณะครูท่ีดีตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชีพครู รายละเอยี ดเกี่ยวกบั คุณลกั ษณะ พฤติกรรมหลกั และพฤติกรรมบ่งชีต้ ามเกณฑ์ มาตรฐานวชิ าชพี ครู ซง่ึ แบง่ ออกเป็น 3 หมวด มีดังต่อไปน้ี

11 หมวดท่ี 1 รอบรู้ สอนดี ประกอบด้วย คณุ ลกั ษณะ พฤติกรรมหลกั และ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ดงั ต่อไปนี้ 1. ด้านความร้แู ละความสามารถในวิชาชีพครู ได้แก่ 1) ร้แู ผนการศึกษาแหง่ ชาติ: รนู้ โยบายการศกึ ษาทตี่ นรบั ผิดชอบ,ร้จู ดุ มงุ่ หมายของการศึกษา 2) รู้หลักสูตร คอื - รูห้ ลกั การ รูจ้ ุดมุ่งหมาย และโครงสรา้ งของหลักสตู ร - รแู้ ผนพัฒนาและนโยบายหลกั ของท้องถ่ิน หรอื จงั หวดั ที่ปฏิบตั ิ - สามารถปรับหลักสตู รการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับนโยบาย การพัฒนา และสภาพแวดลอ้ มของท้องถน่ิ - เขา้ ใจหลักสตู รและสามารถเชื่อมโยงหลักสตู รกบั การสอนในระดับ ตา่ ง ๆ ได้ 3) รเู้ น้ือหาวชิ าท่สี อน คอื - มคี วามแมน่ ยา และละเอยี ดลกึ ซ้งึ ในเน้ือหาวชิ า และปรบั ปรุง ให้ทนั สมยั อย่เู สมอ - ผา่ นการศึกษาหรือผ่านการอบรมในวิชาทสี่ อน - จดั ทาเอกสารประกอบการสอนและคู่มือในวิชาที่ตนรบั ผิดชอบ - ศกึ ษาหาความรใู้ หม่ ๆ ที่เกี่ยวกบั เนื้อหาวิชาทีส่ อน - สามารถประยุกตค์ วามรู้ไปใชใ้ นการสอน 4) ทาการสอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คอื - เตรียมการสอนล่วงหนา้ อย่างเป็นระบบ ครบทกุ ขั้นตอน - วางแผนและจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรยี นไดเ้ หมาะกับการเรยี นรู้ ของผู้เรยี น - นาหลักจิตวิทยามาใช้ในการเรยี นการสอน สอดคล้องกับพัฒนาการ ของผ้เู รยี น - ใช้ภาษาไทยสอื่ ความหมายได้อย่างถูกต้อง ทั้งการพูด การเขยี น การ ถา่ ยทอดความรู้ การใชค้ าถาม การออก ความคิดเหน็ และการอภิปราย - ใชส้ อื่ การเรียนการสอนไดส้ อดคล้องกบั จุดประสงค์และเนื้อหาวิชาท่สี อน - รู้วิธสี อนหลายรปู แบบและเลอื กมาสอนได้ถูกต้องและเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น - ใชค้ าถามทาใหเ้ ดก็ คิดเป็น

12 - จดั ทากิจกรรมการเรยี นการสอนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ - ใช้เทคนิคการเสริมแรงอย่างถูกต้อง 5) ร้หู ลกั การวัด และประเมนิ ผล คือ - มีความรู้เก่ียวกบั ลักษณะแบบทดสอบตามหลกั การวัดผล ประเมนิ ผล และสามารถออกขอ้ สอบและปรบั ปรุง แบบทดสอบ รวมทั้งนามาใช้ได้ จริง เหมาะสมกับระดบั ชน้ั ของผู้เรียน - ใชก้ ารวัดและประเมินผลหลาย ๆ วิธใี ห้เหมาะสมกบั สภาพการเรยี นรู้ - ดาเนนิ การวดั ผลและประเมินผลไดถ้ กู ต้อง มีคุณภาพ - นาผลการวัดและประเมนิ ผลมาปรับปรุงการเรยี นการสอน 6) สอนซ่อมเสรมิ คือ - วเิ คราะห์วนิ ิจฉัยปัญหาและความต้องการจาเป็นของผ้เู รียน - สามารถใช้วิธสี อนซอ่ มเสรมิ เพ่ือพฒั นาการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน 7) การพัฒนาการสอน คอื - ใชร้ ะบบขอ้ มลู เกย่ี วกับการเรยี นการสอนใหเ้ ป็นประโยชน์ - วิจยั การเรยี นการสอน และหรอื นาผลการวจิ ัยมาใชป้ รบั ปรุงวธิ ีการ สอน แก้ปญั หาการเรียนการสอน - เผยแพรเ่ ทคนิควิธีการสอนใหม่ ๆ ตลอดจนผลงานทางวิชาการให้แก่ เพื่อนครูตามสมคว 2. ด้านสนับสนุนการเรียนการสอน 1) บรกิ ารเชงิ แนะแนว - สังเกตและร้จู กั นักเรยี นเป็นรายบุคคล - บนั ทกึ ระเบียนประวัตนิ ักเรียน - จดั กิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์ในการแก้ปญั หา - ใชเ้ ทคนคิ ตา่ ง ๆ ในการใหค้ าปรึกษา และแกป้ ัญหาใหน้ ักเรยี น - ใหค้ วามสนใจดูแลและช่วยเหลือดา้ นสขุ ภาพ อนามยั และความ ปลอดภยั ของนักเรียน - บรกิ ารสนเทศ

13 2) บรกิ ารด้านกจิ การนักเรียน - เปน็ อาจารย์ทป่ี รกึ ษากจิ กรรมชมรมของนักเรียน และกิจกรรมพิเศษ - จัดกิจกรรมเพ่ือสรา้ งคณุ ลกั ษณะประชาธปิ ไตย - จดั กิจกรรมเพื่อสร้างเสริมจรยิ ธรรม - จดั กิจกรรมเพื่อสร้างเสรมิ ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ 3) บรกิ ารดา้ นส่ือการเรยี นการสอน - ดูแลบารุงรักษาอปุ กรณ์และสือ่ การเรยี นการสอนให้อยใู่ นลกั ษณะ ใช้การได้ - จดั มมุ ห้องสมุดหรือมุมเสริมประสบการณ์ - จดั สื่อทีส่ ่งเสริมความถนดั ศิลปะ ดนตรี กีฬา แก่ผู้เรยี น 4) งานธรุ การ - ทาเอกสารประจาชัน้ ได้ดี และเป็นปจั จบุ ัน - จดั เก็บระเบียนสะสมนกั เรียน เอกสาร เปน็ หมวดหมแู่ ละเป็นระบบ - มเี อกสารหลกั ฐานการติดต่อระหว่างครูกบั ผู้ปกครอง 3. ด้านรอบรสู้ ถานการณ์บ้านเมืองและความเปล่ียนแปลงทสี่ าคัญ 1) ตดิ ตามความเคลื่อนไหวและสถานการณ์ของบา้ นเมืองในปจั จบุ นั - ตดิ ตามขา่ วความเคล่อื นไหวตา่ ง ๆ ทง้ั ด้านการศึกษา การเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม 2) จบั ประเดน็ ปัญหาและความเปลยี่ นแปลงทส่ี าคัญของสังคมได้ - วเิ คราะห์และให้ขอ้ คิดเหน็ เกี่ยวกบั ข่าวสารและประเดน็ ปัญหาตา่ ง ๆ ได้ - พยายามใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู ขา่ วสาร และการสรุปประเดน็ ปัญหา ท่ีสาคญั มาใช้ในการเรียนการสอน

14 หมวดที่ 2 มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ประกอบด้วย คุณลกั ษณะ พฤติกรรมหลัก และพฤตกิ รรม บง่ ช้ี ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มคี วามเมตตากรณุ า - มคี วามเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพ่ือนรว่ มงานและสังคม ไมน่ ่งิ ดูดายและ เต็มใจชว่ ยเหลอื ตามกาลงั ความสามารถ - มีความสนใจและหว่ งใยในการเรยี นและความประพฤติของผู้เรยี น แนะนา เอาใจใส่ชว่ ยเหลือเดก็ และเพื่อน ร่วมงานใหไ้ ด้รบั ความสขุ และพน้ ทกุ ข์ เป็นกนั เองกับผเู้ รียนเพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้สกึ เปดิ เผย ไวว้ างใจและเปน็ ท่ี พงึ่ ของผู้เรยี นได้ 2. มีความยตุ ธิ รรม - มคี วามเปน็ ธรรมตอ่ นักเรียน เอาใจใส่และปฏิบัติต่อผเู้ รียนและเพื่อน รว่ มงานทุกคนอย่างเสมอภาคและไม่ ลาเอยี ง ตดั สนิ ปัญหาของผ้เู รียนดว้ ย ความเป็นธรรม มีความเป็นกลาง ยนิ ดชี ่วยเหลอื ผ้เู รียน ผรู้ ่วมงานและ ผู้บริหาร โดยไมเ่ ลือกที่รักมักท่ีชงั 3. มคี วามรับผดิ ชอบ - ม่งุ มัน่ ในผลงาน มีวธิ กี ารท่จี ะปฏิบัตงิ านให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ วางแผนการ ใช้เวลาอย่างเหมาะสมและ ปฏบิ ัติงานได้ทันเวลา ใช้เวลาอยา่ งคุ้มค่าและมี ประสิทธภิ าพ 4. มีวนิ ยั - มวี นิ ยั ในตนเอง ควบคุมตนเองใหป้ ฏิบัติตนอย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรม มีวธิ ที างานท่ีเป็นแบบอยา่ งท่ี ดแี กบ่ ุคคลอื่นได้ - ปฏบิ ัตติ ามกฎและระเบยี บของหน่วยงานและสถานศึกษา 5. มคี วามขยัน - มีความตั้งใจ กระตือรือร้น และปฏิบตั ิงานเต็มความสามารถอยา่ ง สม่าเสมอ ไม่ท้อถอยต่ออุปสรรคในการ ทางาน - มีความพยายามทจ่ี ะสอนเด็กให้บรรลุจดุ มุง่ หมาย 6. มคี วามอดทน - อดทนเม่ือเกิดอุปสรรค ปฏิบัตงิ านเตม็ ท่ีไม่ทงิ้ ขวา้ งกลางคนั

15 - มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ไมโ่ กรธงา่ ยและสามารถควบคุม อารมณไ์ ด้อย่างเหมาะสม อดทน อด กล้ัน ต่อคาวิพากษว์ ิจารณ์ 28 7. มีความประหยัด - รจู้ กั ประหยัดอดออม ช่วยรกั ษาและใชข้ องสว่ นรวมอยา่ งประหยดั ไม่ใช้จา่ ย ฟมุ่ เฟอื ยเกินฐานะของตน รู้จัก เก็บออมทรัพย์ เพอ่ื ความม่นั คงของฐานะ - ใชข้ องค้มุ คา่ ชว่ ยรักษาและใช้ของสว่ นรวมอยา่ งประหยดั 8. มคี วามรักและศรทั ธาในอาชพี ครู - เหน็ ความสาคัญของอาชพี ครู สนบั สนนุ การดาเนินงานขององค์กรวิชาชีพ ครู เข้ารว่ มกิจกรรมทางวชิ าชีพครู รว่ มมือและสง่ เสรมิ ใหม้ ีการพัฒนา มาตรฐานวชิ าชพี ครู - รักษาชือ่ เสียงวชิ าชพี ครู ต้ังใจปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี หเ้ กิดผลดแี ละเกดิ ประโยชนต์ ่อ ส่วนรวมเป็นสาคญั รักษาความ สามัคคีและชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน ในหน้าท่ี การงาน ปกปอ้ งและสรา้ งความเข้าใจอันดตี อ่ สังคมเก่ยี วกบั วิชาชพี ครู - เกดิ ความสานกึ และตระหนักท่จี ะเป็นครูที่ดี ปฏบิ ตั ิตนให้เหมาะสมทเี่ ปน็ ปูชนียบุคคล 9. มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยในการปฏิบตั ิงานและการดารงชีวติ - รบั ฟังความคิดเห็นและข้อโตแ้ ยง้ ของผอู้ ่นื เปดิ โอกาสให้ผูอ้ ื่นแสดงความ คิดเห็น - มีเหตุผล ยอมรับและปฏิบัติตามความคดิ เห็นทม่ี ีเหตผุ ลโดยคดิ ถึง ประโยชน์ส่วนรวมเปน็ หลกั ใชห้ ลกั การ และเหตผุ ลในการตัดสนิ ใจและ แกป้ ญั หา หมวดท่ี 3 มงุ่ มนั่ พัฒนา ประกอบด้วยคณุ ลักษณะ พฤติกรรมหลกั และ พฤติกรรมบง่ ช้ี ดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาตนเอง 1) รูจ้ กั สารวจและปรบั ปรงุ ตนเองอยู่เสมอ - รบั ฟังคาวิพากษ์วจิ ารณ์และนามาปรับปรุงตนเอง - ประเมินผลและปรบั ปรุงการทางานของตนเองตลอดเวลา - ยอมรับความเปลย่ี นแปลงและปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดลอ้ มอย่างมีเหตุผล ทางคณุ ธรรม 2) สนใจใฝ่รู้ - ศกึ ษาหาความรูด้ ้วยตนเองจากแหลง่ ความรู้ต่าง ๆ

16 - เขา้ ร่วมประชุมสัมมนาเพื่อแลกเปลยี่ นความรูแ้ ละความคิด - สนใจตดิ ตามเหตกุ ารณ์ปจั จุบนั และติดตามความเคล่ือนไหวทาง การศกึ ษา 3) เพ่มิ พนู วทิ ยฐานะ - สนใจกระตือรือรน้ ในการท่ีจะเข้ารบั ราชการอบรมเพ่ือเพิ่มพูนความรทู้ ี่ จะนามาใชป้ ระโยชน์ในการเรยี นการ สอน 4) คิดคน้ คว้าวทิ ยาการใหม่ ๆ - คิดเทคนิควธิ ีการสอนหรือประดษิ ฐผ์ ลงานแปลกใหม่มาใชใ้ นการเรยี น การสอน - นาผลท่ไี ดจ้ ากการทดลองมาปรับปรงุ ใช้พฒั นางานและเผยแพรใ่ ห้เปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอน 2. การพัฒนาชุมชน บาเพญ็ ประโยชน์แกช่ ุมชนเข้ารว่ มประชุมกจิ กรรมของชมุ ชนตามความเหมาะสม สง่ เสรมิ การดาเนินชวี ิตตาม วถิ ที างประชาธปิ ไตยแก่ชมุ ชน โดย ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างและชกั ชวนผ้อู ่นื ให้ปฏิบัตติ ามในโอกาส อันควร มีส่วนร่วมใหโ้ รงเรียนเปน็ แหลง่ วิทยาการชุมชน พร้อมท้งั พยายาม ใชแ้ หล่งวิทยาการชุมชนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ประสานงานกับผปู้ กครองนักเรยี นเพื่อทาประโยชนต์ อ่ ชุมชน นาความรแู้ ละเทคโนโลยีสมัยใหม่มาส่ชู มุ ชน เป็น ผู้นาในการริเรม่ิ กจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชน

17 บรรณานกุ รม วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรอื ง และ อธปิ จติ ตฤกษ์ (แปล). ทักษะ แห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพ่อื ศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ Open Worlds. 2554. วจิ ารณ์ พานชิ . (2555). วิถีสร้างการเรียนรเู้ พ่ือศิษยใ์ นศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ : มูลนธิ สิ ดศรี – สฤษด์วิ งศ์. สทุ ธพิ ร จิตต์มิตรภาพ. 2553. การเปลี่ยนแปลงโลกของ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 และการพฒั นาสู่ “ครู มือ อาชพี ” ใน สดุ าพร ลกั ษณียนาวนิ (บรรณาธกิ าร). 2553. การเรียนรสู้ ู่การเปลี่ยนแปลง. สมาคม เครือข่ายการพัฒนาวชิ าชพี อาจารย์และองค์กร อดุ มศึกษาแห่งประเทศไทย. สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ. สานักงานคณะกรรมกการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ (2557). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม แหง่ ชาติ ฉบับ ท่ี 11 (พ.ศ. 2555- 2559) สืบค้นจาก www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf วนั ทสี่ ืบค้น 22 กรกฎาคม 2558. อดุลย์ วังศรคี ณู .(2557). การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21: ผลผลติ และแนวทางการพัฒนา.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook