Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประมง

ประมง

Published by Komsan Kongeam, 2021-02-15 04:47:46

Description: รู้จักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรื่อง ประมง

Keywords: ประมง,ประแส

Search

Read the Text Version

2 คำนำ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ชุมชนปากน้าประแส เล่มท่ี 4 เรือ่ งประมงประแส ฉบับนไี ด้จัดท้า ขึนเพ่ือเป็นคู่มือประกอบการเรียนเก่ียวกับแหล่งเรียนรู้ในชุมชน (Learning Space) ในเร่ืองของการ ประมงพืนบา้ นในชุมชนปากนา้ ประแสทีเ่ ป็นทรี่ จู้ ัก เช่น ประวตั ิความเปน็ มาของประมงปากนา้ ประแส การตอ่ เรอื การปรับตวั ของประมงพนื บา้ นกบั เศรษฐกจิ พธิ กี รรมและความเชอื่ ของชาวเรือ คณะผู้จัดท้าได้เล็งเห็นความส้าคัญของการเรียนรู้เร่ือง ประมงประแส ในชุมชนปากน้าประ แสและหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการเรียนรู้นี จะเป็นประโยชน์แก่นกั เรียนและผู้สนใจได้ใช้ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า อ้างอิงให้เกิดประโยชน์ได้ตามความเหมาะสม และคนรุ่นหลังได้เรียนรู้ รากเหงา้ ของตนเองตอ่ ไป คณะผูจ้ ัดทา้ คมู่ ือรู้จักชุมชนประแส เล่มท่ี 4 เรอื่ ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวัดตะเคยี นงาม

สารบญั 3 เรื่อง หนา้ คำนำ ก ประวตั ิควำมเปน็ มำประมงปำกนำประแส สภำพทว่ั ไปและพืนที่ของปำกนำประแส 1 ประวตั คิ วำมเปน็ มำของกำรต่อเรอื 2 ส่วนประกอบของเรอื ประมงพืนบำ้ น 3 วิธกี ำรต่อเรือ 6 กำรซอ่ มเรอื 9 สถำนท่ที เี่ ปน็ แหล่งสำคญั ในกำรต่อเรอื 10 กำรประมง 13 เส้นทำงกำรค้ำขำยสตั วน์ ำ 17 เส้นทำงกำรจบั สตั ว์นำ 18 กำรไหลเวยี นของแรงงำนในกิจกำรประมง 20 เมืองทำ่ คมนำคม 21 กำรปรับตวั ของประมงพนื บ้ำน 25 27 - ยุคประมงพำณิชย์ (ปี พ.ศ. 2416-2540) 28 - ยคุ กำรปรบั ตวั (ปี พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน) 31 ประมงพืนบ้ำนกับเศรษฐกจิ 35 ระบบนเิ วศกบั ประมงพืนบ้ำน 37 - ปำ่ ชำยเลน 38 ค่มู อื รจู้ ักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวดั ตะเคยี นงาม

สารบัญ(ต่อ) 4 เรอ่ื ง หน้า - คลอง 39 - ทะเล 41 วธิ ีกำรหำปลำ 43 พิธีกรรมและควำมเชื่อของชำวเรอื 47 - วันซือเรอื 48 - ฤกษล์ งอย่เู รอื 48 - พิธีเซน่ หวั เรือ 49 ภูมิปญั ญำเกีย่ วกับกำรประกอบอำชีพ 50 เครือ่ งมอื ประมงพนื บำ้ นประแส 53 บรรณำนกุ รม 58 คณะผูจ้ ัดทำ 61 คมู่ อื รจู้ กั ชุมชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวดั ตะเคยี นงาม

5 ประวัตคิ วำมเป็นมำประมงปำกนำประแส \"ประแส\" ในอดีตประแสได้ถกู กล่าวถงึ ตงั แตช่ ่วงสมัยกรุงศรีอยุธยา กรงุ ธนบรุ ี จนมาถึงใน รัชกาลปจั จุบัน เดมิ ชมุ ชนประแสเป็นส่วนหน่งึ ของมณฑลจันทบุรี เน่ืองมาจากเปลยี่ นแปลงการ ปกครองเป็นแบบเทศาภิบาลในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว คือ รวมหวั เมืองหลาย เมืองเข้าดว้ ยกนั เปน็ มณฑลๆ หน่งึ ใน นนั ก็คือเมืองระยอง ต่อมาเกดิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง ในปีพ.ศ. 2475 ประแสจงึ ได้ถูกเปลยี่ นและแยกมาอยูภ่ ายใต้การปกครองของจังหวัดระยองและ ดา้ เนินเร่ือยมาจนถึงปจั จบุ ัน ความหลากหลายของชมุ ชนแหง่ นไี ด้ถูกพสิ จู น์ใหเ้ หน็ จากการเดนิ ทางเข้ามาของผคู้ นหลาย เชือชาติ และคนไทยจากทว่ั ทุกสารทศิ ที่มีการตังถิน่ ฐานบริเวณแหง่ นี สมยั กรุงศรีอยธุ ยา การเดินทาง เข้ามาของคนจนี หลายเชอื ชาตชิ ่วงรชั กาลของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ส่งผลให้ชมุ ชน มีความหลากหลายใน ความเปน็ อยู่และความเจรญิ มากยง่ิ ขนึ ความเจริญรงุ่ เรืองของปากน้าประแส แหง่ นมี มี าอยา่ งไม่ ขาดสาย จนกระท่ัง บรเิ วณแห่งนไี ดถ้ กู ขนานนามวา่ เปน็ \"เมืองประมงสา้ คญั และ เป็นเมืองทา่ อันรุ่งเรอื ง ประมงสา้ คญั และเป็นเมืองท่าอันรุ่งเรือง\" ด้วยภูมปิ ระเทศท่ีติด กับชายฝ่งั ทะเลตะวันออก อาชีพที่ชาวปากนา้ ประแสยึดถือเป็น สว่ นใหญ่ คือ ประมง ทังประมงน้าลกึ และ ประมงชายฝง่ั สามารถสรา้ งรายได้หมุนเวียน ชมุ ชนได้เป็นอยา่ งดี รวมถึงการสง่ ออกสินค้าทางทะเล และสินค้าแปรรปู ต่างๆ นอกจากนีการหลงั่ ไหลของผูค้ นทเ่ี ขา้ มาเพ่อื จบั จ่ายสนิ คา้ เดนิ ทางมาจากทว่ั ทุกสารทศิ ทา้ ให้ชมุ ชนปากน้าประแสมีความคึกคกั เป็นอย่างมาก ภำพสภำพชุมชนปำกนำประแสในอดตี ที่มำ: เชฟชุมชนชวนกนิ ถิน่ ระยอง คมู่ อื รู้จกั ชุมชนประแส เล่มที่ 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวดั ตะเคยี นงาม

6 สภำพทว่ั ไปและพืนทีข่ องปำกนำประแส ตา้ บลปากนา้ กระแส อ้าเภอแกลง จงั หวดั ระยอง สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ทร่ี าบลุ่มชายฝัง่ ทะเล ลาดต่้าลงสู่อา่ วไทยทางทิศใต้ มแี มน่ ้าสายหลัก คือ แม่น้าประแส ความยาวประมาณ 5-8 กโิ ลเมตร มตี น้ ก้านิดจากทิวเขาในจงั หวดั จันทบรุ ไี หลผ่าน ท้องท่ีของอ้าเภอแกลงลงสูท่ ะเลท่ีต้าบลปากนา้ ประแส มีแม่น้าประแสกันเขตต้าบล มลี า้ คลองลงสู่ ภำพมุมสูง ปำกนำประแสร์ ทะเลมีการท้านากุ้ง เลียงปลานา้ กร่อยรมิ ฝงั่ แม่น้า ทม่ี ำ: https://www.thai-tour.com/place/1301 ประแสมที ้าเรอื ประมงขนาดใหญ่ บรเิ วณปากแม่นา้ เปน็ ชุมชนหนาแนน่ เปน็ แหล่งการค้าของตา้ บล บางพนื ทีเ่ หมาะแก่การเกษตรถาวร มีลกั ษณะเปน็ ดิน เหนียว เป็นที่ราบดนิ ตะกอนดูดซบั นา้ ได้ดี พนื ทล่ี ักษณะเช่นนีมอี ยใู่ นบรเิ วณแม่นา้ ประแส พืนทชี่ าย ฝงั ทะเลมลี ักษณะเป็นดินทรายส่วนใหญ่ บางแหง่ เป็นท่ลี ่มุ นา้ ขัง พืนท่ีลักษณะเช่นนีมีอยู่ตลอดริมฝ่งั ทะเล ของปากน้าประแส เหมาะในการเพาะเลียงชายฝ่ังลักษณะภมู ิอากาศ แบบมรสมุ เขตร้อน ลมทะเลพัดผา่ นตลอดปี ภำพมุมสูง ปำกนำประแส โดยพนู ทรพั ย์ ยงั มะลัง คู่มือร้จู ักชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวดั ตะเคยี นงาม

7 ประวตั ิควำมเปน็ มำของกำรต่อเรือ อุตสาหกรรมต่อเรือสา้ เภาของราชอาณาจักรสยามสนั นิษฐานว่ามีมาตงั แตส่ มัยพระเจา้ อยหู่ ัว บรมโกศแล้ว เนือ่ งจากในปี พ.ศ. 2329 มกี ารออกกฎหมายว่าดว้ ยคา่ ธรรมเนยี มตอ่ เรือและซอ่ มแซม ส้าเภา ซง่ึ เท่ากับเป็นการยอมรับว่า มีการผลิตเรอื ส้าเภาเพ่ือการคา้ มาตังแตส่ มัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลายแล้ว การเพม่ิ ขึนของปริมาณการคา้ ต่างประเทศในสมยั กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนตน้ สง่ ผลใหค้ วาม ตอ้ งการใชเ้ รือสา้ เภาในการขนส่งสินค้าเพม่ิ มากขนึ ตามไปดว้ ย อตุ สาหกรรมต่อเรอื จึงก่อตวั ขึนเพื่อ ตอบสนองต่อความตอ้ งการดังกลา่ ว ประกอบกับประเทศสยามมีไมเ้ นอื แข็งคุณภาพดีท่ีเหมาะสา้ หรับ ใชใ้ นการตอ่ เรือสา้ เภา ทา้ ให้ต้นทนุ การต่อเรือส้าเภาในประเทศไทยถกู กว่าท่ีอน่ื ๆ เรอื ส้าเภาจึง กลายเปน็ สนิ คา้ สง่ ออกอีกชนดิ หนง่ึ ของ ประเทศไทยในสมยั รัตนโกสินทรต์ อนต้น รวมทงั ชินสว่ นของเรอื ส้าเภา เชน่ สมอเรือ หางเสือ ไมค้ า้ ไมเ้ นือแขง็ ต่างๆ ทีถ่ ูกสง่ั ไปจา้ หนา่ ยยังตลาดจีน รูปแบบ ของเรือสา้ เภาท่ีต่อได้ในประเทศไทยเปน็ เรือส้าเภาแบบจีน เนื่องจากจีนเป็นตลาด การคา้ ท่สี ้าคัญของประเทศไทย ในช่วงตน้ กรงุ รัตนโกสนิ ทรช์ าวจนี อพยพจงึ เป็น บุคคลทมี่ ีบทบาทมากที่สดุ ในอุตสาหกรรม ต่อเรอื ภำพกำรเดนิ เรอื ในอดตี ทีม่ ำ: เชฟชมุ ชนชวนกินถ่นิ ระยอง การคมนาคมทางเรืออาศยั แม่น้าล้าคลองเปน็ เส้นทางคมนาคมโดยใชเ้ รือพายและเรอื แจว ชนิดตา่ งๆ และบางทกี ็ใชเ้ รือใบขนาดเลก็ ดว้ ย นอกจากนียังมีการคมนาคมทางทะเล ปรากฏว่ารฐั บาล ไทยเจ้านายและข้าราชการชันผใู้ หญน่ ยิ มแต่งเรือคา้ ขายไปต่างประทศ นอกจากเดนิ เรือค้าขายไป ประเทศจีนแลว้ ก็มกี ารเดินเรอื ค้าตามชายฝงั่ คือ ตามชายฝง่ั ของไทย ตามชายฝ่ังของเขมร และญวน และตามชายฝง่ั ของมลายูและชวา เรือเดินตามชายฝั่งของไทยด้านตะวันตกออกจาก กรงุ เทพฯ คมู่ ือร้จู กั ชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวัดตะเคยี นงาม

8 ไปยงั ชมุ พร ไชยา นครศรธี รรมราช สงขลา และพัทลุง ตามชายฝง่ั ด้านตะวนั ออกกไ็ ปยังบางปะกง บางปลาสร้อย บางพระ บางละมงุ ระยอง ประแส จนั ทบรุ ี ตราด และเกาะกง เพ่ือรวบรวมสินคา้ พืนเมืองตามฝ่งั ทะเลไปยังตลาดเมืองจีน นอกจากเรือของพวกพ่อคา้ ยังมีเรือหลวงเดินตามชายฝั่งไป ยังจนั ทบรุ แี ละตราด เพ่ือบรรทุกพริกไทยและสงิ่ ของอย่างอ่ืนท่ีเกณฑม์ าเปน็ สว่ ย ซ่ึงตามหวั เมอื ง เหล่านีจะตอ้ งจัดส่งไปยังพระคลงั ท่กี รุงเทพฯ การตดิ ต่อระหวา่ งกรุงเทพฯ กบั หัวเมืองทางฝง่ั ตะวันออก เรอื เดินได้ทุกฤดกู าลตลอดทงั ปีเพราะคลื่นลมไม่สูจ้ ะแรงนกั เรือส้าเภาของไทยที่เดนิ ค้าขายตามชายฝั่งทางเมืองเขมร เมืองญวน และทางมลายู เป็นเรอื ที่ต่อในเมืองไทยทงั สิน แตเ่ รอื เหลา่ นีมีลกั ษณะตา่ งกับเรือสา้ เภาทไ่ี ปคา้ ขายทางประเทศจีน กล่าวคอื เป็นเรือที่ไมส่ ู้จะอ้ยุ อา้ ยและใช้ คนนอ้ ยกว่า เรือทีใ่ ช้เดินตามชายฝงั่ เหลา่ นี ตามธรรมดามรี ะวางบรรทกุ ไดต้ งั แต่ 6-8 ตนั เรือขนาด ใหญ่ทีม่ ีระวางบรรทุก 400 ตัน มไี มก่ ีล่ า้ เรือสา้ เภาจา้ พวกนีใช้คนประจ้าเรือ 1 คน ตอ่ ระวาง 10 ตัน ในปี พ.ศ. 2438 ชาวอังกฤษชอ่ื มสิ เตอร์เอช วารงิ ตนั สมิธ ได้เดนิ ทางมาประเทศไทยและได้ บนั ทกึ เร่อื งราวเกีย่ วกบั เรือท่ีต่อทีเ่ มืองระยองไว้ และนับว่าเป็นหลักฐานชนิ แรกทที่ ้าใหเ้ รารู้วา่ ชาว ระยองในอดตี นัน มฝี ีมอื ในการตอ่ เรอื จนเป็นทยี่ อมรบั ของชาวต่างชาติ ความบางตอนดงั นี \"หลงั จากทค่ี อยอยเู่ ป็นเวลา 2-3 วัน และพบว่าไม่มเี รือกลไฟมาเลย ข้าพเจา้ พรอ้ มกบั ชาว สยามหนุ่มคนหนง่ึ ซ่ึงเป็นเจ้าของ \"เรอื เป็ด\" (rua pet) จงึ จัดการพาเราไปยงั กรุงเทพฯ เขาบรรทกุ หวายมงุ่ ไปยงั เพชรบุรี ลูกเรือของเขา ประกอบดว้ ยลกู จีน (Lukchin) แก่ผอู้ ่อนแอและสวมหน้าท่เี ป็น นายเรอื กับกลาสีชาวสยามที่เงยี บขรึม 2 คน และนอ้ งชายคนหนึง่ ทรี่ ู้กนั วา่ เป็นเด็ก (Dek) หรอื เดก็ ผูช้ าย นอกจากพวกลูกเรือแล้วยงั มกี ล่มุ พวกเราอกี 11 คน จงึ ทา้ ใหเ้ รือไม่มีห้องเหลอื เรอื ลา้ นียาว ถึง 36 ฟุต กว้าง 11 ฟตุ และลกึ 6 ฟตุ น้าหนักเบา กินนา้ ลึกไม่เกนิ 3 ฟุต มนั มีใบเรือทเี่ ปน็ หลกั ยอด สงู อยู่ 2 ใบ ซง่ึ เป็นธรรมดาของเรือพวกนี ใบเรือสา้ คญั อยู่ ห่าง 3 ถึง 5 เทา่ ของพนื ที่ของใบเรอื ทเ่ี สากระโดงหน้า ทงั แผน่ แบบเป็นแผน่ แบบเส่ือ ข้าพเจ้ายอมรบั สารภาพ เมอ่ื พวกเรามว้ นใบเรือไปตามคานใหญต่ อนล่าง ข้าพเจา้ ประหลาดใจว่าใบเรือท่ีโปรง่ เนอื หยาบเช่นนีจะพา เราขนึ ไปได้ถงึ อ่าวไทยไดห้ รือ แม้กระนันวางใจว่าจะไปได้ จนถงึ ทางเหนือลมในทะเลใหญ่ ภำพกำรขนสง่ ทำงเรือในอดีต ทมี่ ำ: เชฟชุมชนชวนกนิ ถิน่ ระยอง คูม่ อื รู้จักชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวดั ตะเคยี นงาม

9 ถา้ จ้าเปน็ เรอื ชนดิ ทกี่ ลา่ วมาแล้วนี (เรอื เป็ด \"rua pet\" อย่าเอาไปปนกันกบั เรอื \"rau pets\" เรอื เป็ดของเส้นทางนา้ ในแผ่นดนิ ) เป็นเรือแบบท้ายคูท่ ่ีมีโครงสรา้ งแข็งแรงเปน็ แบบ ธรรมดาสามญั ของสยามทางฝั่งทะเล พวกมนั มีทา้ ยคูโ่ ครงสร้างใหญ่ ทา้ ใหบ้ รรทุกข้างทา้ ยเรอื ดี พืนมี คานรองตลอดลา้ เรือ และเปน็ พืนราบพอที่จะน่ังตวั ตรงได้ เม่ือเรือจอดเทยี บฝง่ั ไม่มีตะปเู ลยสักตวั ใน โครงสรา้ งของเรือ ใช้ตอกด้วยหมุดไม้ทังหมด เรือทด่ี ที ส่ี ดุ สร้างดว้ ยไม้ตะเคยี น (mai takien) มากกวา่ จะสรา้ งดว้ ยไม้สักเสมอ และจะใช้ไปเปน็ เวลาถึง 30 ปี โดยไมม่ กี ารซ่อมตัวเรือเลย เรือเหลา่ นยี าว 50 ฟตุ กวา้ ง 15 ฟุต และลึก 7 ฟตุ จะมีราคาในตอนนีประมาณ 900 ดอลลาร์ เรือไมม่ ีกระดกู งู และ หางเสือเรือถูกตดิ เอาไว้ทแี่ ก่นหางเสือ ทางทา้ ยเรอื รปู กลม เสากระโดงหลายเสามที ้ายเรอื สว่ นท้ายท่ี เอียงทางหลังมาก และใบขวางถกู ดึงขึนสงู ด้วยเชือกส้าหรับชกั ใบขึนลง ภาพเรือประมงขณะออกเรอื โดยพูนทรัพย์ ยังมะลัง ค่มู อื รูจ้ ักชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวดั ตะเคยี นงาม

10 สว่ นประกอบของเรอื ประมงพื้นบา้ น โขนเรือ ใบพัด จา้ โพ่ สงั ข์เรือ หางเสอื ดาดฟ้าเรือ หน้าเรือ จ้าโพท่ ้ายเรือ พวงมาลยั สันกระดูกงู แพนทา้ ย ฟ่านอวน ราโท หลกั เชือกทา้ ยเรอื กระโดงเรือ ปกี กระเบน ดาดฟา้ ท้ายเรอื เสาหวั พนั เชือก ทอ่ สูบนา้ ท่อไอเสยี ทะเบยี นเรือ หลักทรัพย์ สายยางลา้ งอวน ชอื่ ของเรอื หมนั กระดูกงู (มาดเรือ) โครงเรอื (กงเรือ) สมอเรอื กาบ ภาพเรอื ประมงพืนบา้ น ทม่ี า : http://www.siamfishing.com/content/view.php?nid=189065&cat=ask คูม่ ือรู้จักชุมชนประแส เล่มท่ี 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวดั ตะเคยี นงาม

__________________ งเรือประมงพนื บา้ น น กรณบี า้ นอ่าวอดุ ม อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี

ภาพส่วนประกอบข 11 ่ีทมา : โครงงาน ึศกษาคุณ ่คาประมง ืพน ้บ ____________________________________________________________________________________________________ คู่มอื รู้จกั ชมุ ชนประแส เล่มที่ 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวันตะเคยี นงาม

12 ภาพสมอเรือ ทมี่ า : ร้าน KSC แท่นทดและอะไหล่ ภาพโครงเรอื ทม่ี า : ศูนยศ์ กึ ษาเรยี นร้รู ะบบนิเวศปา่ ชายเลนสริ นิ าถราชินี _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มือรจู้ ักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวนั ตะเคียนงาม

13 วิธีกำรต่อเรือ จากการบอกเล่าของคณุ วินยั นาวาประดษิ ฐ์ ในฐานะท่มี ีอาชีพเป็นช่างต่อเรือเป็นรนุ่ ที่ 3 ต่อจากบรรพบุรษุ มีดงั ต่อไปนี จังหวดั ระยองได้เชื่อว่ามีไม้ตะเคยี นทองเป็นจา้ นวนมากโดยเฉพาะเขาหลวงเต่ีย อ้าเภอบ้าน ค่าย คุณสมบตั ิไม้ตะเคียนทอง เป็นไมเ้ นือแข็ง เนอื ละเอียด มคี วามเหนยี ว ไม่หกั ง่าย จึงเหมาะในการ ใชต้ อ่ เรือเปน็ อย่างยิ่ง การใช้ไมต้ อ่ เรือในสมยั นนั เจ้าของอูต่ ่อเรอื จะต้องขอสัมปทานกบั จังหวัด เสยี กอ่ นแล้วจงึ เขา้ ไปตดั ไม้ออกมาใชไ้ ด้ หลงั จากได้สัมปทานและอนุญาตตดั ไม้แลว้ จึงจา้ งผู้เชียวชาญ ทา้ การตดั ไม้ออกส่งให้อีกทอดหน่งึ ไม้จะถูกตัดเป็นท่อนๆ ถ้ายาวกจ็ ะล่องแพมาตามแม่น้าระยอง ถ้าเป็นท่อนสันก็จะใสเ่ กวยี นมาลงท่ีทา่ น้าตรงข้ามกับอู่ตอ่ เรือ โครงสร้างของเรือประมง ประกอบด้วยส่วนสา้ คัญๆ ดงั นีคอื โขนเรือ หลักทรพั ย์เรือ (ทวนท้าย) กระดกู งู (มาตรเรือ) โครงเรือ (กงเรือ) กาบเรอื (กระดานเรอื จะเจาะยึดติดกบั โครงเรือ ดว้ ยลกู สลกั (ลกู ประสกั )ทา้ ด้วยไม้เกดและไม้แสมสาร) ห้องท้ายนายเรอื (เกง๋ เรือ) เปน็ ต้น แต่ทีไ่ ม่ สามารถจะลมื ได้ก็คือ “ครูการตอ่ เรอื ” มีการเลา่ สู่การฟงั “ถา้ บุคคลไม่ได้ขออนุญาตอาจารย์ท่ีสอน แลว้ แยกตัวออกไปต่อเรือเองไม่บอกกล่าว มักจะไม่ประสบความส้าเร็จ เมื่อตัวเรือประกอบเป็นล้าเรอื เรียบรอ้ ยแลว้ กจ็ ึงเป็นหนา้ ท่ีของช่างตอกหมนั เรือตอกอดุ ตามแนวกระดานเรอื ดว้ ยดา้ ยปา่ น ท้ามา จากเปลอื กของต้นกระโดนตากแห้งและฉกี เป็นใยเสน้ ฝอยๆ จากนันก็ปิดแนวตอกดว้ ยชนั เหนียว ซึ่งมี สว่ นผสมดังนีคือ (ผงชัน น้ามันยาง ปูนแดง) มาผสมกันกวนให้เหนยี ว ตดิ เสร็จแลว้ ตากให้ชนั แห้ง 1 สัปดาห์ จึงทาสเี อาลงนา้ นา้ สง่ ให้ชา่ งเคร่อื ง ตังเครื่องต่อไป เรือลา้ หนงึ่ จะใชเ้ วลา 3 เดือน จงึ จะ แล้วเสรจ็ ลกู มือต่อเรือสว่ นใหญ่จะเปน็ คนที่อยู่ในพนื ท่ีและตา้ บลใกล้เคียง เช่น ตา้ บลเนินพระ ตา้ บลบ้านดอน ตา้ บลตาขัน เป็นต้น ” ในอดตี การต่อเรือไม่มีการเขยี นแปลน หรอื ทา้ พมิ พ์เขยี วเพียงก้าหนดความยาว ความกว้างที่ ตอ้ งการแล้วเขยี นกงเรือเพือ่ ขึนโครงรา่ งเรอื หลงั จากนนั รูปทรงความสวยงาม ความแข็งแรงจะถกู ควบคุมด้วยภมู ิปัญญาความสามารถและความช้านาญทีม่ ีอยใู่ นสายเลือดของช่างต่อเรอื การวาง รูปทรงเรือ ผวู้ า่ จ้างเปน็ ผู้กา้ หนดความยาวความกว้างของเรือและเคร่ืองจักรที่จะใช้ ชา่ งเปน็ ผ้ทู า้ หนา้ ทา้ แบบกง อนั เปน็ ส่วนหลกั ของโครงร่างเรือเรยี งกนั จนหวั จรดทา้ ย และเลือยไม้เป็นกงทกุ ตวั จนครบ นา้ ไปตังบนกระดูกงู เม่ือฤกษ์ยามดจี งึ ทา้ พธิ ีตงั โขน ซ่งึ เป็นประเพณสี ้าหรับการต่อเรอื ทุกลา้ เมอื่ ตัง โขน กง และส่วนท้ายของเรือเสร็จจึงขนึ ไม้เปลือกเรือ ชา้ งแต่งรปู ทรงเรือใหส้ วยงามตามความนิยม และความช้านาญ อันเปน็ เอกลักษณ์ของแต่ละคน การแตง่ รูปเรือให้ได้ตามรปู ทรงทตี่ ้องการ _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื รจู้ กั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เรอื่ ง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคียนงาม

14 ชา่ งจะระวังสดั ส่วนความสมดุลระหวา่ งกราบซ้าย กราบขวา เพ่ือรักษาศนู ย์ถ่วงของเรือให้ดี สดุ ทา้ ยจึง ขนึ เครอื่ งบนและเก๋งซ่ึงจะก้าหนดขนาด ตามความตอ้ งการและตามลักษณะของการใชง้ าน เชน่ หาก ใชท้ ี่เกบ็ ปลาท่จี ับได้มากๆกจ็ ะเวน้ ท่ที ้าเป็นระวางบรรทุกมากกวา่ เกง๋ เรือแต่อย่างน้อยเกง๋ เรอื ทุกล้า ตอ้ งมีท่สี ้าหรบั เปน็ ที่พกั ของลูกเรืออยา่ งเพยี งพอ และขนาดของเกง๋ เรือต้องคลุมห้องเคร่ืองได้ทงั หมด การซอ่ มเรือ นอกจำกนียงั มภี มู ิปัญญำในกำรซ่อมแซมเรือ ซึง่ ประมงพำณชิ ย์เป็นเรอื ใหญ่ที่ไมส่ ำมำรถที่ จะซอ่ มแซมได้ดว้ ยตวั เองเหมือนเรือประมงพนื บ้ำน จึงจำเปน็ ตอ้ งไปขึนคำนเรอื หรือกำรซ่อมแซม ใต้ท้องเรอื ท่ีคำนเรือแหลมเมืองซ่ึงเป็นคำนเรือใหญ่ในชมุ ชนปำกนำประแส เกดิ ขึนในปีพ.ศ. 2500 และในกำรซอ่ มแซมเรือที่คำนเรือนันจะได้รับกำรตรวจสอบโดยกรมเจำ้ ท่ำและมีกำรแจง้ กฎระเบียบ ต่ำงๆ ท่คี วรปฏบิ ัตติ ำมในใบ รง.๔ (ใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน) โดยกำรขึนคำนเรือและวิธกี ำร ซอ่ มแซมเรือ คุณน็อตไดอ้ ธิบำยไว้วำ่ ...การขน้ึ คานเรอื ท่ีคานเรือใหญ่จะใชส้ าล่ี หรือล้อลากขนาดใหญส่ อดเข้า ใต้เรอื ก่อนที่จะลากขึ้นฝ่ังแลว้ ดงึ ขึ้นเพื่อวางบนดานปนู เป็นสาลีท่ ่ีทามาจากไม้และอยู่มา ตัง้ แตส่ มัยคุณพ่อทา ไม่ได้เปลี่ยนอนั ใหมแ่ ต่ใช้วิธกี ารซ่อมแซมแห สาลจ่ี ะใช้ยกเรือใหส้ ูงขึ้นเพ่ือ ซอ่ มแซมใต้ทอ้ งเรือ สว่ นวธิ กี าซอ่ มแซมนน้ั มีทั้งการชดั สเี รือ ขัดเพรียงใต้ท้องเรือ เปลี่ยนไม้เรือซ่อมไม้ และมีนหมัน หรือการตอกหมัน ซ่ึงถา้ ทาแบบพน้ื ฐานเหมือนในอดตี จะใช้ดา้ ยดิบชบุ สนเพ่ือตอกปิด รอยต่อของไม้ใต้ท้องเรือ โดยใชด้ ้ายดบิ และเสน ชนั ผงคอยๆอุดไปตามช่องวา่ งและตอกย้าๆเข้าไป บริเวณรอยต่อไมห้ รือลายแนวน้า แตใ่ นปัจจบุ ันเปลีย่ นมาใช้กาวอพี ็อกซี่ (ชนั ฝรัง่ ) และเชอื กไนลอนใน การตอกระหวา่ งช่องวา่ งเพราะเปน็ อุปกรณ์ท่ที นทานหาได้ง่ายและสะดวกมากข้ึน... (นรสทิ ธ์ิ ตัมพานุวตั ร ๓๗ ปี, สัมภาษณ์ : ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒) ภาพการซ่อมเรอื ที่มา : การเรอื ประมงชนั ฝ่งั _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ ือรจู้ ักชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวันตะเคยี นงาม

15 ธรุ กิจของคำนเรอื นันยังสำมำรถบอกถงึ เศรษฐกิจท่ีซบเซำของประมงพำณชิ ยไ์ ด้เช่นกนั ในปัจจุบนั สถำนกำรณข์ องคำนเรอื แหลมทองไม่ค่อยดนี ัก เนื่องจำกปริมำณเรือที่เข้ำมำยังคำนเรือ น้อยลง ยอดรำยรับลดลงรำว 60-70 เปอรเ์ ซน็ ต์ เพรำะในปัจจุบันเรอื ใหญใ่ นชุมชนทีเ่ ขำ้ มำขึนคำนนัน มนี อ้ ยลงมำก อำจมีมำจำกจังหวัดอ่ืนบ้ำงแต่กย็ งั ไมม่ ำกเท่ำกับสมัยก่อนในช่วงท่ีเศรษฐกิจของประมง พำณิชย์นันเจรญิ รุ่งเรือง ภาพการขึนเรอื โดยณาฏไผท คงคาเขตร์ ที่มา : หนงั สือ ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ติ ของคนปากน้า _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื ร้จู ักชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคียนงาม

16 ภาพสาลี่ลากเรือ โดยณาฏไผท คงคาเขตร์ ทีม่ า : หนงั สอื ณ ประแส (ร์) กระแสชวี ิตของคนปากน้า ภาพ งานขัดสเี รอื (ทีม่ า : https://pantip.com/topic/36591911) _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ อื รู้จักชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรื่อง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

17 ภาพ การตอกหมันเรือ (ที่มา : https://pantip.com/topic/36591911) สถำนท่ีที่เปน็ แหลง่ สำคญั ในกำรตอ่ เรอื 1. เปน็ สถานทที่ ่ีอยู่ใกล้แม่นา้ หรืออยู่ใกล้ทะเล 2. มีไม้ที่เหมาะสมทจ่ี ะใชใ้ นการต่อเรือ หรือขดุ เรือ เช่น ไม้ตะเคยี น ไมเ้ ค่ียม ไมส้ ัก 3. มีช่างผู้ชา้ นาญในการต่อเรอื พิจารณาปัจจยั ทัง 3 ประการแลว้ ปรากฏว่าระยองมีปจั จัยทงั 3 ประการครบถ้วน ซ่งึ จะเห็นได้ จากเป็นชายทะเลไม่น้อยกวา่ 100 กม. นอกจากนนั แลว้ ยงั มแี มน่ า้ ที่ส้าคญั อาทิเช่น แมน่ ้าระยอง แม่นา้ ประแส แม่นา้ พังราด อาชีพที่ส้าคัญของชาวระยองท่ีทา้ มาหากินอยตู่ ามชายทะเลก็คือ อาชีพ ประมง ซงึ่ จะต้องใช้เรือเปน็ อุปกรณ์สา้ คัญในการประกอบอาชพี นอกจากนันแลว้ การเดินทางไปมาหา สู่และการติดต่อค้าขายก็ตอ้ งใชเ้ รอื เป็นพาหนะทงั นัน สา้ หรับในแม่น้าเรือกเ็ ป็นอุปกรณส์ ้าคัญในการ เดนิ ทางและขนสง่ สนิ คา้ เช่น เดียวกัน _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื รู้จกั ชมุ ชนประแส เล่มท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

18 ประการทสี่ อง ระยองในอดีตมีพืนทปี่ ่าไม้เปน็ จ้านวนมาก และไมท้ ส่ี า้ คญั ในการต่อเรือก็คือ ไมต้ ะเคียน จะเหน็ ได้จากเมืองระยองมกั ถูกเรียกเกณฑ์สว่ ยมากเพื่อน้าไปต่อเรือพระทีน่ ่งั ดังความ ในพงศาวดาร รชั การท่ี 4 ว่า ทรงพระราชด้าริวา่ พระเจา้ แผน่ ดินท่ลี ว่ งมาแล้ว กไ็ ด้ทรงกระทา้ เรอื พระทนี่ ่ังขนึ ไวส้ ้าหรบั แผ่นดนิ เปน็ เกยี รตยิ ศทัง 3 แผ่นดินแลว้ แผน่ ดนิ ปัจจบุ ันนีไมไ่ ด้กระทา้ ขนึ ไว้ให้ เป็นเกียรติยศ จงึ ใหเ้ กณฑห์ มากเส้น หวั เมอื ง มหาดไทย กลาโหม กรมทา่ ใหห้ ามาดเส้นมาทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวาย พระแกลงแกล้วกลา้ หาได้ทีป่ ลายนา้ เมืองแกลง 2 ลา้ พระอินทร์อาสา (ทมุ ) หาได้ ที่ปลายนา้ เมืองระยองล้าหน่งึ พระอนิ ทรร์ ักษา (เป้า) หาได้ทีป่ ลายนา้ เมอื งแกลง เมอื งระยองลา้ หนง่ึ รวมทงั มาดเสน้ เปน็ 7 ล้า โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหส้ ่งขึนไปถวายพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หวั มำดเสน้ 2 ล้า เอาไว้เหลาในพระบรมมหาราชวัง มาดเสน้ 4 ล้า 18 วา ลา้ 1 รวม 5 ลา้ จ่ึงโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมให้พระเจา้ พีย่ าเธอกรมสมเดจ็ พระเดชาดิศร สมเดจ็ เจา้ พระยาองค์ใหญ่ ดแู ลในการชา่ งเรือ เหลามาดเสน้ 6 ศอก ทา้ เป็นเรอื พระน่ังกราบขึน 2 ลา้ ช่อื ยอดไตรจักร ล้าหนงึ่ และหลกั ไตรโลก ลา้ 1 ทรงพระราชด้าริวา่ พระทีน่ ั่งครุฑของเดมิ กม็ ีอย่แู ล้ว แต่พระทนี่ ่ังนาคยงั หามี ไม่ จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระยาองคน์ ้อย กรมขนุ ราชสีหวิกรม เอามาดเส้น 4 ศอก (42 เมตร) ทา้ เป็นเรือพระทนี่ ่ังบลั ลงั ก์นาค 7 เศยี ร ชอื่ ว่าพระที่นัง่ \"อนันตนาคราช\" ยงั มาดเส้นอกี ล หนงึ่ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เหลาเปน็ เรอื พระน่ังประกอบพืนแดง ชื่อพระท่ีนัง่ เทวาธิวตั ถ์ มาด 18 วา ใหเ้ หลาเปน็ เรือประกอบออกไปได้ 1 เสน้ ชื่อวา่ \"เสวยสวสั ดเิ์ กษมสขุ \" ภาพตน้ ตะเคียนที่วดั ตะเคยี นงาม ____________________________________________ท__ีม่ __า__:_ท__ท__ท_._ส_้า__น_กั__ง_า_น__ร_ะ__ย_อ__ง____________________________________________ คู่มอื รู้จักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคียนงาม

19 จากพงศาวดารดงั กลา่ ว จะเห็นไดว้ า่ มาดเส้นท่นี า้ ไปใช้ในการตอ่ เรอื พระที่นงั่ นันคือ ไมต้ ะเคียน ซึง่ เป็นไม้ทเ่ี หมาะสมที่สุดในการต่อเรือ ก็หาไม้จากเมืองระยองนัน่ เองนอกจากพงศาวดาร ดังกลา่ วนี ยังมีหลกั ฐานทีย่ ืนยันวา่ ระยองมีไม้ตะเคียนเปน็ จ้านวนมาก ซึง่ จะเหน็ ไดจ้ ากพระราชนิพนธ์ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ซ่ึงพระองค์ไดเ้ สดจ็ ประพาสจนั ทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2419 ความว่า \"ไม้ตะเคียนทต่ี ดั ใช้เป็นมำดเรอื มีในปา่ แขวงเมอื งจนั บุรี เมืองแกลง เลอ่ื ยเปน็ กระดานบ้าง ใช้เปน็ พืนบา้ น และเขา้ ไปกรุงเทพก็มาก แต่มาดเรือนันราษฎร ตดั ได้เพยี งแค่ยาว 5 วา ถ้ายาวกวา่ นันตอ้ งห้ามไว้ใช้ราชการ มาดเรอื ซ่งึ ขายกนั ในเมืองนีท่ีเรยี กว่า มาดบางหมู ยาว 4 วา 5 วา ล้าละ 9 บาท 10 บาทบา้ ง\" นอกจากท่ีแกลงแลว้ ทต่ี า้ บลบางบตุ ร ในเขตอา้ เภอบ้านค่ายในปัจจุบนั นี เมอ่ื อดีตนันบริเวณ ดังกล่าวชาวบา้ น เรยี กวา่ “ปา่ ตะเคยี นสวน” คือ มีไมต้ ะเคียนขึนเรยี งรายกันเป็นแถวเป็นหมหู่ นามาก ทเี ดียว และไมท้ ี่ใชใ้ นการต่อเรอื ทรี่ ะยองสว่ นมากกม็ ักจะตัดจากสถานทีด่ ังกลา่ วจังหวดั สมุทรปราการ กเ็ ปน็ จงั หวัดหน่งึ ทมี่ ีการต่อเรือประมงกันมาก แต่ไมต้ ะเคยี นทีใ่ ชใ้ นการต่อเรือส่วนมากจะเปน็ ไม้ ตะเคียนซึ่งมาจากอา้ เภอแกลง ไม้ที่ขายนันจะทา้ เป็นหน้าเรือ ประการท่ี 3 ระยองเป็นแหล่งช่างตอ่ เรอื ที่มีความสามารถ วิชาการตอ่ เรือเริม่ จากชาวจีนซง่ึ อพยพมาจากเกาะไหหล้าเข้าสู่ประเทศไทย และสว่ นหนึง่ มาอาศัยทร่ี ะยอง ไหหล้านนั เป็นท่ยี อมรับ กันวา่ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามเช่ียวชาญเปน็ อยา่ งยง่ิ ในการต่อเรือ และท่ีระยองมชี าวจนี ไหหลา้ คนหนึ่ง ทชี่ อื่ วา่ “เจ็กหง”ี หรือนายศรี นาวาประดิษฐ์ ทา่ นผ้นู ถี ือว่าเป็นช่างต่อเรือยคุ บกุ เบิกของระยอง ประวตั ิความ เปน็ มาของท่านผู้นเี ป็นอย่างไร และมคี วามสา้ คัญในการตอ่ การตอ่ เรือของระยองอย่างไร \"นายตินหงี (ก๋งหง)ี แซอ่ ุ๋ย\" สัญชาตจิ นี เชอื ชาตจิ ีนไหหล้า เกิดเม่ือปี พ.ศ. 2438 มีภรรยาชาว จีนชอื่ เตียมตดิ ทา่ นไดเ้ ดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพ่ือแสวงโชคโดยลา้ พงั ปี พ.ศ. 2463 ต่อมาได้ สมรสกับนางเตียน และไดโ้ อนสัญชาติเป็นไทย เปลี่ยนชอ่ื และนามสกลุ เป็น \"นายศรี นาวาประดษิ ฐ์” อาชพี ดงั เดมิ ที่ทา้ อยู่ในระยอง คือ ท้าถังไม้สักขนาดใหญ่ไว้สา้ หรบั ดองปลาหัวอ่อน ทา้ เป็นน้าปลาเพื่อ บรโิ ภคและขาย ทา้ ขายอย่รู ะยะหนึง่ พอเก็บเงินไดก้ ้อนหน่งึ ประกอบกับขณะนันอาชีพท้าถงั ไม้ เรม่ิ อมิ่ ตัว จึงไดเ้ ปลี่ยนอาชีพมารับตอ่ เรือส้าเภาขายบ้าง เพราะในขณะนนั การคา้ ขายทางทะเล มีปริมาณมากขึนเรือ่ ยๆ สง่ิ ที่ลกู หลานยงั จา้ ได้อยเู่ สมอ วา่ กง๋ หงไี ม่เคยเรยี นรู้การตอ่ เรือสา้ เภามาจาก ท่ีใดเลย ดว้ ยสมองและลกู ตาทัง 2 ข้าง เท่านนั ที่เป็นเสมือนครขู องทา่ นเอง ประกอบกับความเป็น ช่างท้าถงั ไม้ พร้อมด้วยพรสวรรค์ในการจดจ้า แคไ่ ด้เห็นการตอ่ เรอื ผา่ นสายตาเท่านันกส็ ามารถจดจ้า วิธีการตอ่ เรอื ส้าเภาดว้ ยตนเองส้าเร็จ ด้วยความเป็นคนละเอยี ดในการท้างาน จึงท้าให้ผลงานตอ่ เรือ _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ อื รู้จักชุมชนประแส เล่มท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคียนงาม

20 ส้าเภาทตี่ อ่ ขึนมคี วามปราณีต สวยงาม แข็งแรง จนมีชอื่ เสียงในการต่อเรอื ส้าเภาในสมัยนนั เปน็ อย่าง มาก ท้าให้มฐี านะดีขนึ มีงานเข้ามาไม่ขาดจนทา้ ไมท่ นั ด้วยเหตุนเี องจึงไดม้ ีการตงั อู่ต่อเรือสา้ เภาเกดิ ขึนมาอีกหลายแหง่ บ้างกป็ ระสบความส้าเร็จ บา้ งกข็ าดทุน เลิกกจิ การไปก็มี และเร่ิมมสี ภาวะอิ่มตัว ของเรือสา้ เภา ต่อเสร็จแลว้ ขายไม่ได้ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2485 ได้เกิดสงครามโลกครังท่ี 2 ขนึ เศรษฐกิจเริม่ มีปัญหา เรอื สา้ เภาตอ่ แล้วขายไมไ่ ด้ ในขณะนันเรอื ประมงใส่เคร่ืองยนตเ์ ริ่มแพร่หลาย ในการท้าประมงทะเล ท่านจึงไดเ้ ดินทางไปท่จี ังหวดั สมุทรสงคราม อ้าเภอมหาชัย ซ่ึงมีการตอ่ เรอื ประเภทนอี ยู่ ศึกษาอยู่ 2 วัน จึงกลบั มา แล้วจงึ ลงมือดัดแปลงเรอื สา้ เภาที่ค้างขายไม่ออกเป็น เรอื ประมงแบบใหม่ทีส่ วยงาม ไม่แพข้ องจงั หวัดสมุทรสงคราม ทา่ นจงึ ได้ช่อื วา่ เป็นคนแรกทีท่ ้าการต่อ เรือประมงทะเลใส่เคร่ืองยนต์และเปน็ ลา้ แรกของจงั หวัดระยอง หลังจากนันไม่นานชอื่ เสียงในการต่อ เรอื ประมงทะเล เปน็ ทีเ่ ลือ่ งลอื ไปทั่วประเทศ และมีมาอยา่ งต่อเน่ือง จนกระท่ังปลายสงครามโลกครงั ท่ี 2 ทา่ นขนุ ศรีอุทัยเขตร กรุณาแนะน้าติดต่อทา่ นพลเรือเอกประจญั ปัจจามติ ร ผ้บู ัญชาการ กองทัพเรือสตั หีบ ในสมยั นันตอ่ เรอื ประมงทะเลจ้านวนหนึ่ง และดว้ ยเหตุนเี องจงึ มีการจดทะเบียนตัง ชือ่ 'อู่ตอ่ เรือ ศรปี ระดิษฐ\"์ ขึนเพ่อื สะดวกในการด้าเนินงาน การต่อเรือประมงทะเลเป็นอาชพี หนงึ่ ของ จงั หวดั ระยองที่ตอ้ งกล่าวถึงมาโดยตลอดจนสงครามเลิกการต่อเรอื กย็ ังดา้ เนินการตามปรกติ จนมาถงึ ร่นุ ลกู รนุ่ หลานรบั ชว่ งใช้ชอ่ื อูท่ ี่ตงั ขนึ มาตลอดทุกสมยั \" นอกจากอู่ศรปี ระดิษฐ์ (อู่เจ็กหง)ี แลว้ ยงั มีอู่ต่อเรืออกี หลายคู่ เชน่ อู่ตอ่ เรอื ของขุนพาณชิ ย์ชลาสนิ ธ์ุ (หรอื อูเ่ ถา้ แกเ่ ทยี น) ตงั อยู่บริเวณท่ี กรองน้าเทศบาลใกล้บา้ นพักอัยการ ในปัจจุบนั อูต่ ่อเรือของหมอบัว ก้ากัดวงษ์ อูผ่ ูใ้ หญ่ครึม แสงพรต อขู่ องขุนศรีโปง้ บริเวณทต่ี ังของอู่ตอ่ เรอื ส่วนมากอยู่บรเิ วณแม่น้าระยอง ฝงั่ วัดโขด และฝงั่ ตรงข้าม ชา่ งตอ่ เรือ ภำพกำรออกเรอื ในอดตี ท่ีมำ: เชฟชมุ ชนชวนกินถิ่นระยอง _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู อื รู้จักชุมชนประแส เลม่ ที่ 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวนั ตะเคยี นงาม

21 นอกจากจะเปน็ ชาวจีนไหหล้าแลว้ กย็ ังมีชาวไทย ซ่ึงสวนมากจะมาจากบา้ นดอน บา้ นเนินพระ บา้ นนา ตาขวญั บา้ นเกาะกลอย บ้านเก่าและบ้านหนองคอกหมู ในปัจจุบนั อู่ต่อเรือในจังหวัดระยองไมม่ ีแลว้ มแี ต่คานเรือซึง่ มีไว้สา้ หรับในการซ่อมเรือเท่านนั เอง ภำพถำ่ ยประมงพนื บำ้ นประแส โดยพนู ทรพั ย์ ยงั มะลัง กำรประมง อาชพี หลักของชาวชมุ ชนปากน้าประแสคือการทา้ ประมง ด้วยตา้ แหน่งทีต่ ังของชุมชน ปากนา้ ประแสทต่ี ิดกับทะเลอ่าวไทย มีแมน่ ้าไหลผา่ นหลายสาย และมีพืนทีป่ ่าชายเลนซ่ึงเป็นแหลง่ อาหารและเจริญเตบิ โตของของสัตว์นา้ หลากหลายชนิดด้วยปจั จัยดังกล่าวจงึ ทา้ ใหบ้ ริเวณปากน้า ประแสเปน็ แหลง่ ท่ีมสี ัตวน์ า้ ชุกชมุ เรม่ิ แรกคนปากน้าประแสท้าประมงแบบพืนบา้ นหรือประมงชายฝ่งั เป็นการท้าประมงขนาด เลก็ ตอ่ มาในช่วงปี พ.ศ.2490 เริ่มมีการเปล่ียนแปลงมาท้าประมงเชงิ พาณิชย์ กิจการประมงสง่ ผลดี ต่อเศรษฐกิจในชุมชนปากนา้ ประแสเป็นอย่างมาก อีกทงั ยังสง่ ผลใหเ้ กดิ เครือข่ายความสัมพันธ์ ระหว่างชุมชนปากนา้ ประแสกบั พืนท่ีต่างๆ ผา่ นการค้าขาย การจบั สัตว์น้า และการไหลเวียนของ แรงงานในกจิ การประมงเสน้ ทางการคา้ ขายสตั วน์ า้ _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มือร้จู ักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวนั ตะเคยี นงาม

22 เส้นทำงกำรคำ้ ขำยสัตว์นำ ในช่วงปีพ.ศ. 2522-2532 การออกเรือประมงแต่ละครงั ของคนปากนา้ ประแสจะสามารถจับ สัตว์น้าไดร้ าว 5-10 ตัน เมื่อเรอื ประมงกลบั เข้าฝั่ง กจ็ ะน้าเรือมาจอดเทยี บท่าทีท่ า่ เรือในชุมชนเพื่อขน ถ่ายสตั ว์น้าท่จี บั มาได้ส่งไปขายยังพืนท่ีต่างๆ ทงั ที่ นนทบุรี ชลบุรี สมุทรปราการ มหาชัยในจงั หวดั สมทุ รสาคร กรงุ เทพฯ รวมถึงสามยา่ นจะมีพ่อค้ามารอรับซือปลาที่ชมุ ชนปากน้าประแสเพือ่ น้ากลบั ไป ขายต่อทตี่ ลาดสามยา่ น ในการน้าปลาไปขายยงั พนื ท่ีตา่ ง ๆ จะใช้การขนส่งทางน้าด้วยเรือ ยกเวน้ การ ขนส่งปลาไปยังกรงุ เทพฯ ท่ีมีการขนส่งทงั ทางน้าและทางบก โดยทางนา้ เรือจะไปเทียบท่าขนถา่ ยปลา ทแี พปลายานนาวา ส่วนทางบกจะขนส่งด้วยรถบรรทุกสบิ ลอ้ โดยปลาท่ขี นึ จากเรอื จะถูกบรรจลุ งใน หบี ไม้ หบี ละ 100 กิโลกรมั ภายในหีบไมจ้ ะใสน่ า้ แข็งและเกลอื ลงไปเพ่ือปอ้ งกันการเน่าเสยี ระหว่าง ขนสง่ หลังจากนันหีบจะถูกรถสามล้อและลากออกไปยังบริเวณควิ รถซ่งึ จะมีรถบรรทุกสิบลอ้ เข้ามา จอดเพ่ือรอรบั ปลาไปส่งที่กรุงเทพมหานคร ซึง่ ในสมัยก่อนถนนเปน็ ลูกรงั ส่วนถนนบริเวณชุมชนเป็น สะพานไม้ ภำพปำกนำประแสในอดตี ที่มำ : เมอื งไทยในอดตี _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ ือรู้จกั ชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคียนงาม

23 จากค้าบอกเลา่ ของ คณุ ลงุ ประสาท เนินชัย อายุ 70 ปี เจา้ ของบ้านกง๋ จือ โฮมเสตย์ อดีตเคย ประกอบกจิ การเรือประมง ได้เล่าถงึ เส้นทางการคา้ ขายสตั ว์นา้ ระหว่างชุมชนปากนา้ ประแสกบั พนื ท่ี อื่น ๆ ว่า ในอดีตราว 30-40 ปกี ่อนเรือประมงขึนเขา้ ฝั่ง จะขึนปลาไดค้ รังละไมต่ ้า่ กว่า 5-6 ตัน กุ้งก็ได้ เป็นตนั ๆเช่นกนั ปลาทนี่ ้ามาขึนจะถูกสง่ ไปจันทบรุ ี ส่วนท่ี สมุทรปราการ มหาชยั กรงุ เทพฯ จะมีบรษิ ัทส่งคนมารบั ซือปลาทช่ี ุมชนปากนา้ ประแส ส่วนใหญ่จะเป็นบริษัทแปรรปู อาหารสง่ ออกไป ต่างประเทศ ในบางครงั ท่ีขึนปลาแลว้ ไม่มนี า้ แข็งสา้ หรับแชป่ ลาจะนา้ ปลาไปดองเค็มและสง่ ขายที่ จันทบรุ ี สว่ นทา่ เรอื ของปา้ ตุ๊ (ทา่ เรอื รุ่งโรจน์) เปน็ ทา่ เรอื แรกทีร่ บั ขนึ ปลาไปกรงุ เทพหานครโดยจะ ส่งไปท่ียานนาวาด้วยรถบรรทุกสิบลอ้ (ประสาท เนนิ ชัย, สัมภาษณ์: 20พฤษภาคม 2562) ทา่ เรือร่งุ โรจน์ บรเิ วณตลาดจ่ายเปน็ หนง่ึ ในทา่ เรือทม่ี ีเรือประมงมาจอดทา่ เพื่อขนถา่ ยสินค้า สัตวน์ ้าส่งขายไปยังพืนที่ต่างๆ จากคา้ บอกเล่าของคณุ อารยี า รอบรู้ อายุ 60 ปี ลกู สาวเจ้าของทา่ เรอื รงุ่ โรจน์ได้เล่าถึงกิจกรรมตา่ งๆ ทที่ ่าเรอื รุ่งโรจน์ วา่ ...ปลาทน่ี า้ มาขนึ จะถูกส่งไป ชลบรุ ี จันทบรุ ี แพ ปลายานนาวา หรอื ปากนา้ ยานนาวาที่กรงุ เทพฯ ท่ีท่าเรือร่งุ โรจน์เราจะนา้ น้าแข็งกบั นา้ มันขายใหก้ ับ เรือประมง น้าแข็งจะรับมาเป็นกอ้ นใหญจ่ ากแกลง(สามย่าน) เวลาเรอื ประมงซือน้าแขง็ กจ็ ะเอาน้าแข็ง ก้อนใหญ่มาโมใ่ หเ้ ลก็ ลง ส่วนนา้ มันรบั มาจากกรงุ เทพฯ ขนสง่ มาทางรถบรรทุกสบิ ล้อ ท่ที ่าเรอื จะมถี ัง ใต้ดินไว้เกบ็ นา้ มัน...(อารียา รอบรู้ 60 ปี, สัมภาษณ:์ 20 พฤษภาคม 2560) เส้นทางการค้าขายสัตวน์ า้ ของเรือประมงจากปากนา้ ประแส มีการขยายเสน้ ทางการคา้ ขาย ลงไปถึงภาคใตข้ องประเทศไทย เรอื ประมงจากปากนา้ ประแสออกไปจบั สัตว์น้าแถบนา่ นน้าทาง ภาคใต้ เมอื่ จบั สัตวน์ ้าไดจ้ ะน้าเรอื กลบั เขา้ ฝั่งและเทยี บท่าขนถ่ายสินค้าสตั ว์นา้ ขึนท่ีทา้ เรือท่ีใกลท้ ี่สุด โดยจังหวัดท่ีเรือประมงจากปากน้าประแสนยิ มไปจบั สตั วน์ ้าและเทยี บทา่ คือ สงขลาและปตั ตานี สาเหตทุ ี่ต้องนา้ สตั วน์ า้ ท่จี ับได้ขนึ ท่ที า่ เรือใกล้ที่สดุ เนอื่ งจากขอ้ จา้ กัดของเสบยี งอาหารและเปน็ การ ปอ้ งกนั การเน่าเสียระหวา่ งขนส่ง จากคา้ บอกล่าของคณุ เจรญิ ศักดิ์ บา้ เพญ็ ทาน อายุ 51 ปี ไดเ้ ล่าถึง การเทยี บท่าเพ่ือขนึ ปลาของเรือประมงจากประแสวา่ _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรจู้ กั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวนั ตะเคียนงาม

24 ...เรอื อวนลอ้ มจากประแส ออกไปหาปลาทางภาคใตบ้ างครง้ั ไปไกล ถงึ นราธิวาส ในแต่ละครงั้ ท่ีกลบั เขา้ ฝงั่ จะ จับปลาได้ 20000-30000 กิโลกรมั เวลา เทยี บท่าข้นึ ปลา ใกลท้ ี่ไหนก็จะข้นึ ปลา ท่นี นั่ เพราะไม่อย่างนน้ั ปลาจะเน่า ออกเรอื ครัง้ หน่ึงใช้เวลาประมาณ 15 วนั ขอ้ จากัดกม็ ีท้ังเร่ืองของเสบยี งอาหาร และน้าแข็งที่จะใชแ้ ช่ปลา จึงต้องข้นึ ปลา ท่ที ่าเรอื ที่ใกล้ทีส่ ุด มีเขา้ ไปข้ึนปลา ทส่ี งขลา บางคร้งั สัตหีบ แหลมสิงห์ ภำพกำรซอื ขำยสตั ว์นำในอดตี คนทมี่ ารับซ้ือก็มที ้งั คนทั่วไป ท้งั พ่อค้า ทีม่ ำ: เชฟชมุ ชนชวนกินถนิ่ ระยอง คนไหนให้ราคาดกี จ็ ะขายให้คนนัน้ บางคร้งั มีพ่อค้าคนกลางมารบั ซือ้ แลว้ ตรี าคา เชน่ ปลาโอ กิโลกรมั ละ ๓๒ บาท ส่วนมากปลาท่ถี กู รับซื้อจะใส่รถตู้สง่ ไปโรงาน.... (เจรญิ ศกั ด์ิ บาเพญ็ ทาน51 ป,ี สัมภาษณ์: 20 พฤษภาคม 2562) เสน้ ทำงกำรจับสตั ว์นำ เรอื ประมงของชุมชนปากน้าประแส มีการขยายอาณาเขตในการจับสตั ว์น้าไปยังน่านน้าอน่ื ๆ ทงั น่านนา้ ทางตอนใตข้ องประเทศไทยท่จี ังหวัดสงขลา จังหวดั ปตั ตานี นา่ นน้าของประเทศใกล้เคียง ทงั กมั พชู า มาเลเซยี อินโดนเี ซยี โดยในการออกเรือจบั สัตวน์ ้าแตล่ ะครังจะใช้ระยะเวลาราว 15-20 วนั ถงึ จะกลับเข้าฝงั่ เทยี บท่าขนถา่ ยสตั วน์ ้า โดยปัจจัยท่ชี ่วยทา้ ให้เรือประมงออกไปจับสัตวน์ ้า ได้ไกลขึนเน่ืองจากชาวประมงเปล่ยี นมาใช้เรือใหญ่ ขนาด 11 วา ในการจับสัตว์น้ากนั มากขึน ประกอบกบั จ้านวนสัตวน์ ้าบริเวณปากนา้ ประแสที่เรมิ่ ลดน้อยลงจงึ เปน็ แรงผลักให้เรือประมงต้อง ออกไปแสวงหาแหลง่ จับสตั วน์ า้ แห่งอน่ื ๆ _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื รจู้ ักชมุ ชนประแส เล่มที่ 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

25 ภาพการทาประมงในอดีต ท่มี า: เชฟชุมชนชวนกนิ ถน่ิ ระยอง กำรไหลเวยี นของแรงงำนในกจิ กำรประมง เมอื่ เรือประมงในชุมชนปากน้าประแสเรมิ่ เปลี่ยนจากเรอื เล็กขนาด 3-4วา เปน็ เรือใหญ่ ขนาด 11 วา ที่สามารถรองรับลกู เรือได้ 30 คน จึงท้าใหต้ ้องการแรงงานประมงมากขนึ ซ่ึงแรงงาน ประมงในชมุ ชนปากน้าประแสไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการท้าให้แรงงานประมงจากจงั หวัดในภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (อีสาน) เช่น ขอนแกน่ บรุ รี มั ย์ อดุ รธานี สรุ ินทร์ เป็นต้น เร่มิ เขา้ มาในชุมชน ปากน้าประแส จากคา้ บอกเล่าของคุณยายเยาวลักษณ์ ศิริเจรญิ ลาภ อายุ 75 ปี อดตี เคยประกอบ กิจการเรือประมง ไดเ้ ลา่ ถงึ แรงงานประมงจากภาคตะวันออกเฉยี งเหนือวา่ สมัยนนั รับคนงานบนเรอื มาจากจังหวัดอุดรธานี ในชว่ งท่ีมพี ายุออกเรือไม่ได้ คนงานกจ็ ะพักอาศยั อย่บู นเก๋งเรอื (เยาวลักษณ์ ศิรเิ จรญิ ลาภ, สัมภาษณ์: 21 พฤษภาคม 2562) ต่อมาใน ปีพ.ศ. 2532 เกิดเหตุการณพ์ ายเุ กย์ เข้าถลม่ จงั หวัดชายฝ่งั ทะเลอ่าวไทย ทา้ ให้มผี ูเ้ สียชีวิตและสร้างความเสียหายเปน็ อยา่ ง หลงั จาก เหตกุ ารณ์พายุเกย์จึงทา้ ให้แรงงานประมงจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเริม่ ทยอยออกจากการเปน็ แรงงานในเรือประมง จึงทา้ ให้แรงงานประมงขา้ มชาตจิ ากประเทศกมั พูชาเริ่มเข้ามาท้างานบน _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู อื รู้จกั ชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

26 เรอื ประมงที่ชมุ ชนปากน้าประแสการเข้ามาของแรงงานประมงจากพืนท่อี ืน่ ๆ เปน็ หนึ่งในปัจจยั ทท่ี า้ ใหช้ มุ ชนปากน้าประแสมคี วามคกึ คัก เม่ือเรอื ประมงจอดเทียบทา่ ท่ชี ุมชนปากนา้ ประแสแรงงาน ประมงกจ็ ะลงมาจับจ่ายซือของกบั ร้านคา้ ในชมุ ชน จากคา้ บอกเลา่ ของคณุ ยายไพเราะ ชัยชล อายุ 76 ปี ได้เล่าถึงแรงงานประมงว่า ...สมัยกอ่ นคนเยอะเพราะมเี รืออวน มีคนงานจากอสี าน จากเขมรมีเข้าที่มาประแสเยอะ มีเข้ามาซื้อของบา้ ง ส่วนใหญ่คนทีซ่ ้ือของกนิ ของใชจ้ ะเปน็ คนอีสาน ส่วนคนเขมรจะไมค่ ่อยซ้ือจะ ประหยดั ...(ไพเราะ ชัยชล 76 ป,ี สัมภาษณ์: 18 พฤษภาคม 2562) จากเครือขา่ ยเส้นทางการจบั สัตว์นา้ เสน้ ทางการค้าขายสัตวน์ า้ และการไหลเวยี นของแรงงาน ในกิจการเรือประมงจากปากนา้ ประแส อาจกล่าวได้ว่าปากนา้ ประแสเป็นหนึ่งในเมืองประมงท่ีมี ความสา้ คัญและเจริญรุง่ เรืองเปน็ อยา่ งมาก ภำพชุมชนปำกนำประแสในอดีต ทีม่ ำ: เชฟชมุ ชนชวนกินถน่ิ ระยอง _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มือรูจ้ กั ชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคียนงาม

27 ภาพแผนทีแ่ สดงเสน้ ทางการค้าสตั วน์ ้าของปากนา้ ประแส โดยพมิ พน์ ิภา ทวเี พชร์สกลุ ท่มี า : หนังสอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ติ ของคนปากนา้ _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื ร้จู กั ชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวันตะเคยี นงาม

28 ภาพแผนที่แสดงเส้นทางการจับสตั วน์ า้ ของปากน้าประแส โดยพมิ พน์ ิภา ทวีเพชร์สกุล ท่ีมา : หนงั สอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ิตของคนปากน้า _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรจู้ ักชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคียนงาม

29 เมืองท่ำคมนำคม ชมุ ชนปากนา้ ประแสในอดตี นัน นอกจากจะเป็นเมืองประมงที่สา้ คัญแลว้ ยงั เป็นพืนท่ี ยุทธศาสตร์ในการคมนาคมอีกด้วย เน่ืองจากในอดีตประแสนนั ยังไม่มีถนนตัดผา่ น ถนนเป็นเพียงดนิ ทส่ี ามารถใช้เดนิ เท้า หรอื เกวียน การเดนิ ทางหลกั ของชมุ ชนปากน้าประแสและพืนที่ใกล้เคียงจงึ เปน็ การเดินทางทางน้า ซงึ่ มที งั เรือแจว เรือข้ามฟาก และโดยเฉพาะ เรือเมล์ เรือโดยสารจากกรุงเทพฯ ทีจ่ ะบรรทุกสินคา้ มาชุมชนปากน้าประแสแล้วกบ็ รรทกุ คนโดยสารไป ซงึ่ การจะเข้ากรุงเทพฯ กต็ ้อง ผา่ นทางนเี ทา่ นนั ทา้ ใหช้ ุมชนปากน้าประแสกลายเปน็ เมืองท่าคมนาคมที่สา้ คัญคุณลุงชม วิเศษศิลปานนท์ ชาวบ้านชุมชนปากนา้ ประแส อายุ 88 ปี เปน็ ผู้ท่ใี ห้ภาพการคมนาคมทางน้าทีส่ ้าคญั อยา่ ง เรือเมล์ ในอดีตวา่ ...ประแสสมัยกอ่ นเปน็ เมืองทาท่ีสาคัญ มีการเดินทางท่สี าคัญอยา่ ง เรือเมล์ ใครทีจ่ ะเดนิ ทาง ไปกรงุ เทพฯ กต็ ้องมาข้นึ เรอื เมล์ท่นี ี่ เพราะวา่ สมัยก่อนยงั ไมม่ ีถนนตดั ผ่าน การเดนิ ทางสว่ นใหญจ่ ะ เปน็ การ เดนิ เทา้ นงั่ เกวียน หรอื ไม่กแ็ จวเรอื คนชนบทที่อยู่รอบนอกประแส อยา่ งเนนิ ฆอ้ คลองปูน นาซา ถ้าจะเข้ากรุงเทพฯ กต็ ้องมาขนึ้ เรอื เมล์ทีป่ ระแสท้งั นั้น ประแสในสมยั นั้นเลย มโี รงแรมถึง 2 แหง่ เพราะใชเ้ ป็นที่พกั อาศัยของคนท่จี ะมาโดยสาร เรอื เมล์...(ชม วเิ ศษศลิ ปานนท์ 88 ป,ี สัมภาษณ์: 18 พฤษภาคม 2562) จากค้าบอกเลา่ ของคณุ ลงุ ชม วิเศษศลิ ปานนท์ เรือเมล์นนั เป็นการเดินทางทีส่ ้าคญั ทงั จาก กรงุ เทพฯ มาปากน้าประแส และจากปากนา้ ประแสไปกรงุ เทพฯ เพราะวา่ ชมุ ชนปากน้าประแสถือ เป็นชมุ ชนทเ่ี ปน็ ตลาดใหญท่ ส่ี ุดในเวลานนั มสี ินคา้ บรโิ ภคและอปุ โภคมากมายขายอยทู่ ต่ี ลาดประแส แหง่ นี สนิ คา้ ต่าง ๆ สว่ นหนง่ึ กร็ ับซือมาจากกรงุ เทพฯ เช่นกนั ซงึ่ คุณลุงชมนนั เดมิ ก็เปิดรา้ นขาย ของช้าในสมัยนนั ได้เล่าว่า มีการส่งั สนิ คา้ จากกรุงเทพฯ โดยผา่ นเรอื เมล์ และกย็ ังมีการส่งสนิ คา้ ไป ขายผ่านเรอื เมลเ์ ช่นกัน เมอื่ เรือเมล์มาส่งสนิ ค้ากจ็ ะรบั คนโดยสารเข้ากรุงเทพฯ ไปด้วยคุณลุงชมเปน็ คนทีเ่ คยผา่ นประสบการณก์ ารนั่งเรือเมล์ไปกรุงเทพฯ ไดเ้ ล่าถงึ เส้นทางเดนิ ของเรอื เมล์วา่ ไปที่ไหน และจอดท่ีท่าใดบา้ ง โดยเลา่ ว่า ...ตอนท่ลี งุ ขึ้นนน้ั เปน็ ตอนที่ลงุ ยงั เดก็ แม่ลงุ พาน่งั ไปเทีย่ วทกี่ รุงเทพฯ ขากลบั จากกรุงเทพฯ มาประแสของเรือเมล์ โดยเรอื เมลจ์ ะออกจากบรเิ วณแพเทียมเสง็ หรอื แถวสะพานพุทธ จากนั้นจะ ลอ่ งมาตามแม่น้าเจ้าพระยามาท่ี สมุทรปราการจากน้ันก็ออกสู่ทะเลอ่าวไทย ไปจอดท่ีทา่ เรอื สตั หบี ชลบุรี แลว้ แล่นไปต่อที่ท่าระยอง ออกจากท่าระยองกจ็ ะเข้าสชู่ มุ ชนปากน้าประแส ซงึ่ เม่ือส่งสินคา้ _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู อื รู้จกั ชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคียนงาม

30 และผโู้ ดยสารทปี่ ระแสเสรจ็ ก็จะเดนิ ทางต่อไปที่ท่าจนั ทบุรี และจบดว้ ยทท่ี ่าเรือตราด จากนน้ั เรือเมล์ กจี่ ะเดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพ ด้วยเสน้ ทางเดิมเหมือนกับขามา… (ชม วิเศษศลิ ปานนท์ 88 ปี, สมั ภาษณ์: 18 พฤษภาคม 2562) ภาพคณุ ลุงชม วิเศษศลิ ปานนท์ อายุ 88 ปี ชาวชมุ ชนปากน้าประแส โดยนรรจชนก กรชิ ฤทธศิ รษฐ์ ทม่ี า : หนังสือ ณ ประแส (ร)์ กระแสชีวติ ของคนปากน้า การโดยสารเรอื เมลจ์ ากกรงุ เทพฯ มาชุมชนปากน้าประแสนันใช้เวลาถึง 24 ช่ัวโมงหรือ 1 วัน ตามคา้ บอกล่าของลุงชม เรอื เมล์สามารถบรรทกุ คนไดเ้ พียงครังละ 30-40 คนเทา่ นัน นอกจากนเี รอื เมล์ยังมีเพียงเดือนละครัง ท้าให้มักมีการแยง่ พนื ทโี่ ดยสารเรือกันของทงั คนชุมชน ปากน้าประแส และคนพืนท่ีชนบทรอบนอกท่ีตอ้ งการจะเดินทางไปกรุงเทพฯ หรือพืนท่ีต่างๆ ทา้ ให้ ผ้คู นต่างพืนทีต่ ้องมาพกั อาศยั ทีป่ ากน้าประแส ท้าใหช้ มุ ชนปากนา้ ประแสเกิดโรงแรมถึง 2 แห่ง ที่คอยรองรบั คนทีต่ ้องการมารอโดยสารเรอื เมล์ เพระนอกจกจะกุลีกจอขนึ เรือโดยสารกันแล้ว เรอื เมล์ ยงั ไม่มวี ันเวลาท่ีแน่นอนในการขา้ มาถึงปากนา้ ประแสจงึ ต้องมาพักที่ปากน้าประแสเพื่อรอโดยสาร เรอื เมล์ และเมอื่ เรือเมล์มาถงึ ชมุ ชนปากนา้ ประแส จะไม่เช้าเทียบท้าเรือทปี่ ากนา้ ประแส แต่จะจอด ลอยอยู่กลางคลองประแส จากนนั กจ็ ะมีเรือแจวจากท่าเรือทลี่ ุงชมเรียกว่า \"โปะ๊ จา่ ย\" พายไปรับสินค้า และคนจากเรือเมล์เขา้ มาทช่ี ุมชนปากน้าประแส _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มอื รู้จกั ชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวนั ตะเคยี นงาม

31 การท่ีชุมชนปากน้าประแสเป็นพืนที่ท่ีมกี ารคมนาคมทางน้าท่ีสา้ คัญอย่าง\"เรือเมล์\" ท้าให้ผู้คน จากพืนท่รี อบนอกชมุ ชนปากนา้ ประแสต้องเขา้ มาทปี่ ระแสทา้ ใหช้ มุ ชนปากน้าประแสกลายเป็นเมอื ง ท่าทส่ี ้าคญั และมีความครึกครนื ของผคู้ นทเี่ ขา้ มาด้วยเหตขุ องการค้าและการเดนิ ทาง สง่ ผลต่อความ เตบิ โตทางด้านเศรษฐกจิ ของที่ประแสแห่งนีอย่างมาก ท้าให้ชมุ ชนปากน้าประแสในอดตี นันเป็นชมุ ชน ท่ีเจรญิ รงุ่ เรอื ง และพลุกพล่านไปด้วยผคู้ นจ้านวนมาก กำรปรับตัวของประมงพืนบ้ำนในชมุ ชนปำกนำประแส การท้าประมงพืนบา้ นเป็นอาชีพสา้ คญั ของชาวบ้านปากน้าประแสโดย 90 เปอรเ์ ซน็ ตจ์ าก ชาวบ้านชมุ ชนลว้ นท้าประมงหรอื มคี วามเก่ยี วข้องกับการท้าประมงมาตังแตก่ ่อตงั ชุมชน เน่ืองด้วย พืนทช่ี มุ ชนปากนา้ ประแสมรี ะบบนิเวศทีห่ ลากหลายทังล้าคลอง ปา่ ชายเลน และทะเล ระบบนิเวศ ดงั กล่าวยงั ทา้ ให้เกดิ ความอุดมสมบูรณ์ในพืนท่ี มีสตั วน์ า้ และพชื พรรณหลากหลายชนดิ ภมู ปิ ัญญาใน ด้านการท้าประมงเปน็ สง่ิ ทถี่ ูกสบื ทอดต่อกันมาในครอบครวั จากรุน่ สรู่ ุ่น หรอื มาจากการเรียนรู้ท่ีได้ จากการรบั จ้างทา้ ประมงเปน็ ลูกเรือ ท้าให้คนในชมุ ชนเลือกท่จี ะประกอบอาชพี การทา้ ประมงเปน็ อาชีพหลกั เนื่องจากเป็นอาชีพท่ีท้าไดง้ ่ายในพืนท่ีโดยท้าได้ทกุ เพศทุกวยั ผู้หญงิ สามารถยกยอได้หลังบ้านของตนเองหรือเด็กเล็กสามารถไปงมหาหอยในทะเลกับ ครอบครวั ได้ นอกจากนียังก่อให้เกดิ อาชีพที่สอดคล้องกบั การท้าประมงขึน ได้แก่ การแปรรปู สตั วน์ ้า ที่ได้จากการท้าประมง อาชีพดังกลา่ วช่วยหล่อเลยี งคนในชุมชนให้อยูด่ กี ินดเี ป็นชุมชนท่ีมีความ เจรญิ ร่งุ เรืองดา้ นการทา้ ประมงมาโดยตลอด จนกระทง่ั เม่ือบรบิ ททางสังคมของชมุ ชนปากน้าประแส เปลย่ี นไป ชุมชนไม่ไดเ้ ป็นเส้นทางหลักที่ผคู้ นใชส้ ญั จรไปมา หรอื การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และการเมืองในปัจจบุ นั ท้าให้อาชีพการท้าประมงพืนบ้านและภูมปิ ัญญาทเ่ี กีย่ วขอ้ งไดร้ ับ ผลกระทบ ส่งผลตอ่ วถิ ชี ีวติ ของผคู้ นในชมุ ชน ทว่าชาวชุมชนปากนา้ ประแสยงั สามารถเรียนรูแ้ ละ ปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สถานการณใ์ นปัจจบุ นั ได้ โดยเปดิ รับรปู แบบชมุ ชนเพ่อื การท่องเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม ภายใต้การช่วยเหลือกันของชาวบ้านในชมุ ชนและภาครฐั ท่ีคอยสนับสนุนทา้ ให้ชาวชุมชนปากน้าประ แสสามารถด้ารงวิถชี ีวิตการท้าประมงและรกั ษาภูมปิ ญั ญาต่าง ๆ เอาไวไ้ ด้ตราบจนในปจั จบุ นั _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรู้จกั ชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวนั ตะเคียนงาม

32 ยุคประมงพำณชิ ย์ (ปีพ.ศ. 2516 – 2540) หลังจากทท่ี างรัฐบาลไดส้ ่งเสริมนโยบายเก่ยี วกบั ประมง ส่งผลใหป้ ระมงพาณิชย์เริม่ เข้ามา มบี ทบาทในบรเิ วณชุมชนปากน้าประแสมากขึน ดังค้าบอกเลา่ ของกา้ นนั ภาณุ ธนะสาร ผู้เป็นกา้ นนั ชมุ ชนปากนา้ ประแสและนายกสมาคมประมงปากน้าประแส อกี ทงั ทา้ อาชีพประมงพาณิชยไ์ ดก้ ล่าวว่า ในชว่ งปีพ.ศ. 2517 – 2520 นนั อาชีพประมงในชมุ ชนปากน้าประแสมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งอย่างมาก เพราะทรพั ยากรที่อดุ มสมบรู ณ์ ซ่งึ สง่ ผลใหค้ รอบครัวของก้านันภาณุมีรายได้และกา้ ไรเข้ามา (ภานุ ธนะสาร, สมั ภาษณ์ : 18 พฤษภาคม 2562) ต่อมาในปีพ.ศ. 2521 ไดม้ ีการสรา้ งถนนสขุ มุ วิทตัดผ่าน เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 สายชลบรุ ี - แกลง เป็นเส้นทางยาวผา่ นปลายทางทิศเหนอื อ้าเภอเมือง จังหวดั ชลบรุ ี ปลายทางอ้าเภอ แกลง รวมถึงสามารถตดั เขา้ เพอ่ื ผา่ นไปยังหลาย ๆ พนื ที่ ท้าใหพ้ นื ท่ีประแสกลายเปน็ ทางตนั ทมี่ ีแต่ เรอื เทา่ นันจึงจะสามารถเดนิ ทางตอ่ ได้ ซ่ึงการตัดถนนท่เี พ่ิมมากขึนท้าใหก้ ารเดนิ เรือซบเซาลง คนจนี อพยพออกไปประกอบอาชพี ยังตัวอ้าเภอเมอื งเปน็ จ้านวนมาก ถึงแมว้ ่าธุรกิจการคมนาคมทางนา้ จะซบเซาลง หากแต่ความอดุ มสมบรู ณข์ องทรัพยากร ในพืนท่ปี ากนา้ ประแส ได้ท้าใหอ้ ุตสาหกรรมประมงยังคงอยู่ อกี ทงั ประมงที่ได้รบั ความนิยมอย่ใู น ขณะนนั เป็นประมงพาณิชย์ ในชว่ งปีพ.ศ. 2530 จงึ มีการอพยพของชาวไทยในภาคอสี านเข้ามารับจ้าง เป็นแรงงานเรือประมง จากค้าบอกเลา่ ของคุณสงกรานต์ ทรงศิลป์ ได้กล่าวว่า ในชว่ งนปี ระมงพาณิชย์ มคี วามเจริญรงุ่ เรือง ท้าให้ผ้คู นจากทางภาคอีสานเข้ามาท้างานในประแส โดยผ่านนายหนา้ ท่ีเข้าไป ชกั ชวนผคู้ นในพนื ทภ่ี าคอสี านเข้ามาท้างาน (สงกรานต์ ทรงศลิ ป์, สัมภาษณ์ : 19 พฤษภาคม 2562) ภาพถ่ายเรือประมง โดยพูนทรพั ย์ ยังมะลัง _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู ือรจู้ กั ชุมชนประแส เล่มท่ี 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคียนงาม

33 แตแ่ ลว้ ในปพี .ศ. 2532 ได้เกดิ พายไุ ต้ฝนุ่ เกย์ขนึ โดยใช้เวลาเพียงแค่ 3 วัน ในวันท่ี 1 พฤศจิกายน ปพี .ศ. 2532 กอ่ ตัวเป็นพายุดเี ปรสช่นั ในอ่าวไทยตอนลา่ ง จากนันกเ็ คลื่อนตวั ขึนเหนือ และใตท้ วคี วามรุนแรงขนึ เป็นพายโุ ซนรอ้ น และพายุไต้ฝุ่นตามล้าดบั ในวนั ที่ 4 พฤศจิกายน ปีพ.ศ. 2532 เวลา 08.30 น. พายไุ ต้ฝุ่นเกย์เคลอ่ื นเขา้ สภู่ าคใต้ตอนบนด้วยความเรว็ ลมประมาณ 118 กโิ ลเมตรต่อชั่วโมง โดยศูนย์กลางของพายุเคลอื่ นตวั ขึนฝงั่ ท่ีบริเวณชายหาดตา้ บลบางสน อา้ เภอปะทวิ จงั หวัดชุมพร ท้าใหเ้ กดิ ลมพายุและคลื่นลมรุนแรงเขาซดั ชายฝัง่ ท่ี อ้าเภอบางสะพาน บางสะพานน้อย และทา่ แซะ จากนันได้เคลือ่ นตัวไปทางทศิ ตะวันตกอย่างรวดเรว็ ผา่ นประเทศพม่า ก่อนจะพดั ออกสทู่ ะเลอนั ดามัน มหาสมุทรอินเดยี และออ่ นก้าลงั ลงเปน็ พายุ โซนร้อน แต่เม่อื วันท่ี 6 พฤศจิกายน ปีพ.ศ. 2532 กไ็ ด้ทวกี า้ ลังขนึ ใหมอ่ ีกครงั ในบริเวณมหาสมทุ รอนิ เดีย เคลอ่ื นตวั เข้าพดั ถลม่ หมู่เกาะอันดามนั และเคลอ่ื นขึนส่ชู ายฝั่งประเทศอินเดียเมอ่ื วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน ปพี .ศ. 2532 ดว้ ยความเร็วลมรนุ แรงสงู สดุ ในระดบั ท่ี 5 (ความเรว็ ลมกว่า 250 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง) และหลงั จากนัน ไดส้ ลายตวั ไปในวนั ที่ 10 พฤศจกิ ายน ปีพ.ศ. 2532 (ม.ป.น., 2562: ออนไลน์) ภาพความเสยี หายจากพายเุ กย์ ท่ีมา : https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1416990 ความรุนแรงของพายุในครงั นีได้สรา้ งความสูญเสยี ให้แก่ประชากรในประเทศไทยอย่างมาก พายเุ กย์สง่ ผลใหม้ ผี ูเ้ สียชวี ติ ไปถงึ 446 คน บาดเจบ็ 154 คน บา้ นเรือนเสยี หาย 38,002 หลัง ประชาชนเดือดร้อน 153,472 คน เรือล่ม 391 ล้า ถนนเสียหาย 579 เสน สะพาน 131 แหง่ ทา้ นบ และฝาย 49แหง่ โรงเรยี นพัง 160 โรง วัด 93 วัด _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ ือรูจ้ กั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่อื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

34 มสั ยิด 6 แห่ง พืนที่การเกษตร 80,900,105 ไร่ สตั วเ์ ลียงตาย 83,490 ตวั ประเมนิ ความเสยี หาย 11,257,265,265 บาท (เพง่ิ อ้าง, 2562: ออนไลน์) ความเสียหายในครังนสี ่งผลให้ลกู เรือชาวอสี านท่ี เข้ามาเป็นแรงงานในเรือประมงพาณชิ ย์ในชุมชนปากนา้ ประแสและออกเรือในขณะนนั เสียชวี ติ เป็น จ้านวนมาก อีกทังข่าวความเสียหายครงั นี ทา้ ให้แรงงานชาวอีสานไมอยากเข้ามาทา้ ประมง ประกอบ กบั ชว่ งเวลาดงั กลา่ วการประกอบอาชพี เกษตรกรรมในพืนที่อีสานเป็นไปดว้ ยดี แรงงานส่วนมากจึง เดินทางกลับไปทา้ กิน ณ บา้ นเกิดของตน เมื่อขาดแคลนแรงงานท้าให้ก้าลังจากนันแรงงานที่เขามา เป็นแรงงานขา้ มชาติ เช่น ชาวเขมร เวยี ดนาม กัมพชู า และลาว เป็นตน้ ภาพความเสียหายจากพายลุ ดิ า ท่ีมา : จติ ต์ผอ่ งใส ศรวี งั พล ในปี พ.ศ. 2540 เกิดพายุไตฝุ่นลินดาขึน โดยเรมิ่ กอ่ ตัวจากหย่อมความกดอากาศตา่้ ขนึ เป็น ดีเปรสชั่นเขตรอ้ น เม่ือวนั ท่ี 31 ตลุ าคม ปพ.ศ. 2540 ในทะเลจีนใตต้ อนลา่ ง แลว้ ทวกี า้ ลังแรงขนึ เปน็ พายโุ ซนร้อนในวันที่ 1 พฤศจิกายน (Thai Marine Meteorology, 2547: ออนไลน) และเคล่ือน ผา่ นบริเวณใต้สดุ ของประเทศเวียดนามในวันตอ่ มา พรอมกับสร้างความเสยี หายอยา่ งหนัก มีผู้เสยี ชีวติ กว่า 3,000 ราย วนั ท่ี 3 พฤศจกิ ายน พายุโซนรอ้ นลินดา เคลอื่ นตัวเข้าสู่อา่ วไทยและได ทวคี วามรนุ แรงเป็นพายุไต้ฝุ่น ความเรว็ ลม 120 กม./ชม. เม่ือเวลา 10.00 น. ขณะอยหู่ ่างจาก เกาะสมุย ประมาณ 230 กิโลเมตร (ณรงค ชน่ื นริ ันดร, 2553: ออนไลน) ซึ่งสรา้ งความตืน่ กลัวให้กับ ชาวไทย เพราะทิศทางและลักษณะของพายุลนิ ดา เหมือนกบั พายุไตฝุ่นเกยที่เคยพดั ถล่มจงั หวดั ชมุ พร _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู ือรูจ้ ักชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคยี นงาม

35 ในปพี .ศ. 2532 แตป่ รากฏวา่ กอ่ นจะเคลอ่ื นขึนฝ่ังที่อ้าเภอทับสะแก จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ เมื่อเวลา 02.00 น. พายุไดอ่อนกา้ ลังลงเป็นพายุโซนรอ้ น ความเร็วลม 80 กม./ชม. (Thai Marine Meteorology, 2547: ออนไลน) และเคลื่อนผา่ นไทยเขา้ สู่ประเทศพม่า ก่อนจะลงทะเลอนั ดามัน แล้วสลายตัวไปในวนั ที่ 10 พฤศจกิ ายน ในอ่าวเบงกอล ความรนุ แรงดงั กลา่ วไดก้ ่อให้เกิดความสูญเสีย อย่างหนัก เกิดน้าทว่ มฉบั พลัน นา้ ป่าไหลหลาก บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบรุ ี สมุทรสงคราม ราชบุรี และกาญจนบุรี โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์มีลมพดั แรงจดั จนบ้านเรอื น เสยี หายและตน้ ไม้โคน่ ล้มในหลายอา้ เภอ (Thai Marine Meteorology, 2547: ออนไลน) ส่งผลกระทบต่อประชาชน 461,263 คน มผี ้เู สียชวี ติ อยา่ งนอ้ ย 9 คน สญู หาย 2 คน บาดเจ็บ 20 คน บ้านเรือนไดร้ ับความเสียหาย 9,248 หลัง ถนนเสยี หาย 1,223 แหง ฝายและทา้ นบเสียหาย 40 แหง่ สะพานชา้ รุด 20 แหง สาธารณประโยชน 58 แหง มลู คา่ ความเสยี หายรวม 213,054,675 บาท (กรมอุตุนยิ มวทิ ยา, 2562: ออนไลน) นอกจากนยี ังมีคลนื่ พายุซัดฝั่ง ซดั เรือประมงอบั ปางกว่า 50 ลา้ ถึงแมว้ ่าความรุนแรงของพายุไตฝุ่นลนิ ดาจะมีความเสยี หายทร่ี ุนแรงกว่าเมื่อครังพายุไตฝุ่นเกย แต่เนือ่ งจากลกู เรือท่เี สยี ชวี ติ เหล่านเี ป็นแรงงานขา้ มชาติทา้ ให้การน้าเสนอขา่ วไมครกึ โครมเท่าครัง กอ่ นและยงั คงมแี รงงานขา้ มชาติเขา้ มารบั จ้างเป็นแรงงานในประแสอยู่เรื่อย ๆ ยคุ กำรปรับตัว (ปพ.ศ. 2540 – ปจั จุบัน) ปีพ.ศ. 2540 อยา่ งที่ทราบกนั ดีว่าในช่วงดังกล่าวประเทศไทยไดเขา้ สูชวงของวกิ ฤตเศรษฐกิจ ทเ่ี รียกกนั วา่ “ต้มย้ากุ้ง” หรอื “ภาวะฟองสบู่แตก” ธุรกิจต่างๆ พากันล้มละลายหากแต่มิได้สง่ ผล กระทบต่ออุตสาหกรรมประมงมากนัก เน่อื งจากปจั จยั สา้ คัญในการทา้ ประมงนนั มาจากผลผลิตใน ระบบนเิ วศ ซึ่งในขณะนันทรัพยากรธรรมชาติไม่ได้เสอ่ื มโทรมมากนัก แตไ่ มใ่ ช่วา่ จะไม่เสื่อมโทรมเลย เหตุเกิดจากความเจรญิ เตบิ โตของอตุ สาหกรรมประมงที่ต้องแข่งขันการแย่งทรพั ยากร ท้าให้ ทรัพยากรท่ีเคยอดุ มสมบรู ณค่อยๆ ลดนอ้ ยถอยไปเร่ือยๆ จนกระท่ังในปีพ.ศ. 2545 จึงเกดิ นโยบาย ฟื้นฟรู ะบบนเิ วศขนึ และในปี พ.ศ. 2550 จงึ มกี ารริเรม่ิ โครงการฟน้ื ฟูปา่ ชายเลนจากการเข้ามาท้า บอ่ กงุ้ ของนายทุน ปพ.ศ. 2556 เป็นปีทเี่ ข้าสู่ช่วงตกตา้่ ของประมงพาณิชย์ดว้ ยเหตุปัจจัยในหลายดา้ น อาทิ นา้ มนั จากบรษิ ัทแห่งหนึง่ รว่ั ลงสู่ทะเล ทา้ ให้ทรพั ยากรเส่ือมโทรมอย่างมาก รวมถึงการรัฐประหารของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) น้าโดย พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ไดเข้ามาปรบั เปล่ียน นโยบายเก่ียวกบั ประมงพาณิชย์ให้เขม้ งวดมากขึน ส่งผลให้อตุ สาหกรรมประมงเกดิ ความฝดื เคอื งมาก ยิ่งขนึ เสียงสะท้อนจากชาวประมงพาณิชย์กล่าวถึงกฎระเบียบของ _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มอื รจู้ ักชุมชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวันตะเคยี นงาม

36 รฐั บาลยคุ พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา เอาไววา รัฐบาลในยุคนไี มค่อยเหลียวแลการทา้ ประมง ซง่ึ ความไมเ่ อาใจใส่ของรฐั บาลนสี บื เนื่องมาอย่างยาวนานตังแต่สมยั ของคณุ สนน่ั ขจรประศาสน์แลว ที่ มองว่าชาวประมงเป็นอาชีพท่ีเอาเปรียบไมตองลงทนุ ตักตวงทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นก้าไรของตน ซงึ่ ตรงขา้ มกับความเป็นจรงิ ที่วา่ การทา้ ประมงพาณิชย์นันต้องแบกรบั รายจา่ ยมหาศาล เช่น คา่ โสหยุ้ หรือรายจ่ายประจ้าเดอื นนันสูงถึงหลักลา้ นหรือราวลา้ นสองแสนบาทเลยทีเดียว อีกทงั ยังมี ค่านา้ มัน คา่ แรงงาน ซ่ึงการจา่ ยคา่ จ้างแรงงานกต็ ้องเป็นไปตามคา่ แรงมาตรฐาน โดยเรอื ล้าหนง่ึ ๆ นนั ต้องใช้ ลูกเรอื ราว 30 คน และในเมื่อลูกเรอื เปน็ แรงงานข้ามชาติท้าให้มคี ่าใช้จ่ายอกี มากที่ใช้ในการน้าเขา แรงงานตา่ งประเทศ ตงั แต่กระบวนการเข้าไปตดิ ตอ ค่าตรวจสุขภาพแรงงาน คา MOU คา่ พาสปอรต์ ลวนเปน็ สิ่งทีน่ ายจ้างต้องออกให้ลกู เรือก่อนทังสนิ (ภาณุ ธนะสาร, สมั ภาษณ์ : 18 พฤษภาคม 2562) คุณสงกรานต์ ทรงศลิ ป์อดตี ชาวประมงพาณิชย์ได้ให้ข้อมลู ในช่วงที่ตนยงั ทา้ ประมงพาณชิ ย์ไว้ วา่ การเดนิ ทางข้ามประเทศเพ่ือไปหาปลาจะมีสถานท่ีประจา้ ทใี่ ชใ้ นการเสียค่าผ่านทางหรือการท้า passport เชน่ การไปพมา่ ต้องไปทเี่ กาะมัน ในชว่ งท่ีคุณ สงกรานต์อายุ 30 ป เสียเงินประมาณ 5 - 6 พันบาท ซ่งึ เงินในส่วนเถ้าแก่จะออกเงนิ ให้ก่อนแลว้ นา้ มาหักบัญชใี นภายหลงั หรอื มีการซือตัว๋ ผา่ นแดน ซง่ึ ตว๋ั ผ่านแดนหมดอายุค่อนข้างเร็ว คุณสงกรานต์ยังกล่าวอีกว่าหากเดนิ ทางเขาประเทศใดเป็น ประจา้ จนสามารถตีสนทิ กับเจาหน้าทแี่ ห่งนนั ไดโดยการซือน้าซอื ขนมไปฝากก็จะทา้ ให้ การผา่ นแดน เปน็ ไปไดอยา่ งรวดเร็วและง่ายดายมากยิ่งขึน เชน่ เดยี วกบั แนวความคดิ ของคณุ น็อต ที่มองวา่ ปญั หา หลักของการท้าประมงพาณชิ ย์ในปัจจุบันมาจากปัญหา เร่อื งการจ้างงานที่ใชเ้ งนิ สงู มีความกฎระเบียบ จ้านวนมาก เชน่ การลงทะเบียนลูกเรือ ท้าให้กอ่ นการออกเรือไมสามารถเปลี่ยนหรือลดทอนลกู เรือ ลงได (สงกรานต์ ทรงศลิ ป์ และนรสิทธิ์ ตัมพานวุ ตั ร, สัมภาษณ์ : 19 พฤษภาคม 2562) _______________________________ภ__า_พ__ถ_า่ _ย__เ_ร_ือ__ป_ร__ะ_ม__ง_พ__า_ณ__ิช_ย__์ใ_น__ป_ร__ะ_แ_ส___โ_ด_ย__พ__นู _ท__ร_พั__ย__์ _ย__ัง_ม__ะ_ล__ัง________________________ คู่มอื รจู้ กั ชมุ ชนประแส เล่มที่ 4 เรอื่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

37 กฎหมายท่อี อกโดย EU หรือสหประชาชาตกิ เ็ ป็นกฎหมายท่สี ่งผลกระทบขนาดใหญ่กบั การ ท้าประมงในประเทศไทยเน่ืองจากการเปิดรบั ข้อบงั คบั ของ EU ทา้ ให้การประมงไทยท้างานไดล้ า้ บาก เช่น กฎการบังคับเรื่องคุณภาพชวี ติ ของลูกเรือทส่ี ่งั ให้มหี ้องพักหรือหองนา้ เพียงพอต่อจ้านวนลกู เรอื ซง่ึ ในความเป็นจรงิ ลูกเรอื มจี ้านวนมากเกินกวา่ จะสามารถสร้างห้องน้า หองพัก หรือหองสันทนาการ ไดเพยี งพอถา้ ดูตามขนาดเรือประมงพาณิชย์ที่ใชใ้ นประเทศไทย ซง่ึ แตกต่างจากเรือที่ใชใ้ นประเทศ แถบยุโรปทม่ี ีลา้ เรือขนาดใหญ่และแข็งแรงกวา่ และด้วยกฎหมายบังคับดงั ที่กล่าวไปข้างต้นนี่เอง สง่ ผลใหก้ ารออกเรือของเรือประมงขนาดใหญ่ในปัจจุบันมักจะขาดทนุ มากกว่าจะไดก้ ้าไร เรือประมง พาณชิ ย์ขนาดใหญ่ในชุมชนปากน้าประแสจึงถกู จอดเทียบทา่ ทิงไว ไมสามารถน้าเรอื ออกไปท้ามาหา กนิ ได ถงึ อย่างไรแมว้ า่ นโยบายของทางภาครฐั จะมีการบังคบั เข้มงวดจนกระท่ังส่งผลกระทบต่อ อตุ สาหกรรมประมงพาณชิ ย์อย่างมาก แต่ในทางกลับกันเรือประมงพนื บ้านทชี่ าวบ้านในชุมชนปากน้า ประแสใชใ้ นการประกอบอาชีพนันสามารถน้าไปประยุกต์ใช้ไดในหลายโอกาส เพ่ือเพ่ิมรายไดใหก้ ับ ครวั เรอื น ซง่ึ ในปีพ.ศ. 2556 ชุมชนปากน้าประแสไดรเิ รมิ่ ท้าโครงการทองเท่ยี วขนึ ในชุมชน โดยเรม่ิ จากการสรา้ งสะพานประแสสิน เมอ่ื ปีพ.ศ. 2555 หวังว่าเมอื่ เปิดใช้งานแลวจะทา้ ให้ผู้คนสามารถ เข้ามาทองเที่ยวกันไดมากยิ่งขึน ซ่งึ การส่งเสริมการทองเท่ียวดงั กลา่ วนที า้ ให้เรือประมงพืนบา้ นหันมา หารายได้เสรมิ จากการท่องเที่ยวมากขึน ภาพการวางเหย่อื ในลอบดักปู โดยปณั ฑติ า สุวรรณรักษา ที่มา : หนงั สอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ิตของคนปากนา้ _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มอื รู้จกั ชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคยี นงาม

38 นอกจากนนั ยงั มีการรวมกลุ่มกนั ระหวา่ งชาวประมงพืนบ้านด้วยกันเองจนเกิดเป็น “สมาคมประมง พืนบ้านชมุ ชนปากน้าประแส” อีกดว้ ยโดยมีประธานสมาคมคอื นายสงกรานต์ ทรงศิลป์ อายุ 56 ปี โดยสมาคมประมงพืนบา้ นปากนา้ ประแสเปน็ กลุ่มขนาดเล็กที่อยู่ในสมาคมประมงพนื บ้านเรือเลก็ ระยอง การก่อตงั มาจากความต้องการที่จะช่วยลดปญั หาข้อพพิ าทระหว่างการทา้ ประมงแตล่ ะกลมุ่ ท้า ให้มกี ารแบ่งพืนท่ีการท้ากนิ ใหช้ ดั เจนมากยง่ิ ขึน ช่วยกระจายขา่ วและท้าให้ชาวประมงพืนบ้านปฏิบตั ิ ตามข้อกฎหมายตา่ งๆ มีส่วนช่วยในการสนับสนุน ตรวจสอบเร่อื งการตอ่ สญั ญาเรือให้ถูกตอ้ ง รวมถงึ ชว่ ยใหว้ ถิ กี ารทา้ ประมงพนื บ้านยงั คงเป็นแบบถอ้ ยทถี ้อยอาศยั ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั ซงึ่ เป็นการ รวมกลุ่มเพ่ือช่วยเหลอื กัน ชว่ ยกนั บอกต้าแหนง่ ของปลา หรอื ช่วยกันแจง้ เตือนเวลามพี ายุเขา้ มาใกล้ ชายฝ่งั จนไปถึงการจดั ตงั คานเรือซ่อมเรอื เอง เพอื่ ช่วยประหยดั ต้นทุนซ่ึงหากเมอื่ มีชาวบา้ นคนใด ตอ้ งการซอ่ มเรือก็จะเกณฑส์ มาชกิ ในกลุ่มมาช่วยกนั (สงกรานต์ ทรงศลิ ป์, สมั ภาษณ์ : 19 พฤษภาคม 2562) ทังนเี ปน็ การชว่ ยกันลดตน้ ทุนอีกด้วยเพราะการซ่อมคานเรือของประมงพนื บ้านนันถกู กว่าการ นา้ เรอื ไปซอ่ มที่อู่อย่มู าก เพราะขนาดของเรือพืนบา้ นเลก็ กว่าขนาดของเรอื พาณชิ ย์ อาจจะกล่าวไดว้ ่า การทา้ ประมงพืนบา้ นนนั เก่ียวขอ้ งและสัมพันธ์กับวิถชี วี ิตของชาวบ้านปากนา้ ประแสอยู่ทกุ อย่างและ ยังคงสืบทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ อีกด้วย ภาพนายสงกรานต์ ทรงศิลป์ โดยปณั ฑติ า สุวรรณรกั ษา ท่ีมา : หนังสือ ณ ประแส (ร์) กระแสชวี ติ ของคนปากน้า _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มือรู้จกั ชมุ ชนประแส เล่มท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคยี นงาม

39 ประมงพืนบ้ำนกับเศรษฐกจิ อย่างท่ีกล่าวไปในขา้ งตน้ รายไดข้ องชาวบ้านชมุ ชนปากน้าประแสส่วนใหญน่ ัน มาจากการท้า ประมง ซึง่ สตั ว์น้าสว่ นใหญ่เม่ือจบั มาได้จะนา้ ไปกระจายที่ตลาดเชา้ ของชมุ ชน แต่ส้าหรบั ประมง พาณชิ ย์นนั จะมแี พปลามารบั ถึงที่ และหากพดู ถงึ ระดับของต้นทุนการท้าประมงพนื บ้านนัน ในการจะ ประกอบอาชีพนีต้องคา้ นงึ ถึงตน้ ทนุ ต่างๆ เช่น เรือประมง แรงงาน น้ามัน น้าแข็งแช่ปลา เคร่อื งมือ และอุปกรณต์ ่างๆ ซึ่งแนน่ อนการทา้ ประมงพืนบ้านและประมงพาณิชย์มีความแตกตา่ งกันอย่าง แน่นอน เช่น การจ้างแรงงานนันแน่นอนว่าการลงทุนของประมงพาณิชย์ต้องท้ามากกวา่ และต้องใช้ แรงงานจากนอกพืนท่ี แต่ในทางกลับกนั การทา้ ประมงพนื บ้านไม่ต้องลงทุนทางด้านนเี พราะเนือ่ งจาก ใช้แรงงานของครอบครวั เชน่ นที า้ ใหเ้ ม่ือเปรียบเทียบกนั แล้วการทา้ ประมงพืนบา้ นนันจงึ อาจเรยี กได้ วา่ มคี วามย่งั ยนื กวา่ ประมงพาณิชย์ รวมถึงการท้าประมงที่อยตู่ ามแนวชายฝง่ั ก็มีทรัพยากรให้เลือกจบั มากกวา่ การท่ตี ้องออกไป กลางทะเลอยา่ งประมงพาณชิ ย์ อกี ทงั หากบริเวณดา้ นหลงั ของตวั บา้ นติดกบั แมน่ า้ กม็ ักจะมกี ารยกยอ เคยกัน โดยหากยกมาได้จะน้ามาแปรรปู ท้าเปน็ เคยตากแห้ง ท้าเปน็ กะปิและน้ามาขายใหก้ บั นักท่องเท่ยี วท่ีหน้าบ้านของตน ซึ่งเทา่ ทผี่ ้ศู ึกษาได้ลงชมุ ชนก็พบวา่ แทบจะทุกบา้ นท่มี ีการยกยอเคย โดยในพนื ท่ปี ระแสมชี อื่ เสยี งจากเคยและกะปจิ ากอุตสาหกรรมพืนบ้านขนาดใหญ่ เชน่ กะปิยทุ ธหัตถี กะปิคุน้ เคยท่ีออกรายการโทรทศั น์ กลายเปน็ อตุ สาหกรรมการส่งออกกะปิและเคยท่เี ชิดหน้าชตู า ให้กบั คนในพนื ทรี่ วมถงึ ธรุ กจิ แปรรปู อน่ื ๆ เช่น บ้านชนะชลแปรรูปนา้ ปลา เช่นเดยี วกนั หากเดินเข้ามา ในย่านชมุ ชนเก่าประแสกจ็ ะพบวา่ มหี ลายๆ บ้านทม่ี ีการยกยอด้วย ตนเองหลังบ้านและน้าเคยทีไ่ ด้ มาแปรรูปในครัวเรือนเพื่อ รับประทานหรือนา้ มาวางขาย หน้าบ้าน กะปิท่ีท้าขายจะถูกแบ่ง ใสก่ ระปุกหลายขนาดมีราคา ตังแต่ 50 ไปจนถึง 200 บาท ภาพการยกยอ โดยวชริ าพรรณ เดชสุวรรณ ______ท__่ีม_า__:__ห__น_งั_ส__ือ__ณ___ป__ร_ะ__แ_ส___(ร__์)_ก__ร_ะ__แ_ส__ช_วี _ิต__ข_อ__ง_ค__น_ป__า_ก__น__้า_______________________________________________________ คูม่ ือรูจ้ ักชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรื่อง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

40 ภาพน้าปลาตราบ้านชานสมุทรและกะปิเคยตรายุทธหตั ถี โดยเกศนิ ี จนั ทรเ์ พญ็ ที่มา : หนังสอื ณ ประแส (ร์) กระแสชีวติ ของคนปากนา้ ชาวประมงพนื บ้านในพืนทีช่ มุ ชนปากนา้ ประแสมักจะเร่ิมออกหาปลาตงั แต่เวลาเช้าตรูโ่ ดย มักน้าอวนไปทงิ ไว้ในทะเล บริเวณท่ีชาวบา้ นมักวางอวนจะอยู่ในแถบเรอื รบหลวงหรือบริเวณ ประภาคารทชี่ าวบ้านเรียกวา่ โจมเขียวและโจมแดงตามสีไฟบนประภาคาร ซง่ึ ประภาคารดงั กล่าวอยู่ บรเิ วณหาดแหลมสน หรือมีการหาปลาและวางอวนออกไปไกลขนึ บริเวณเกาะมัน การเก็บอวนจะทา้ หลังจากทว่ี างอวนเสรจ็ แลว้ จึงเกบ็ อวนชุดเก่าทเี่ คยวางไว้กลับมาแกบ้ รเิ วณท่าน้า ซง่ึ ชาวประมง พืนบา้ นแต่ละคนจะมีท่าเรือประจ้าของตน เชน่ ท่าเรอื หลงั บ้าน หรอื ทา่ เรือทีศ่ าลเจ้า ดังเชน่ คุณสงกรานต์ จะใชท้ า่ เรือของศาลเจา้ แซต่ น๋ั ในการแก้อวนเกบ็ สัตวท์ ีห่ ามาได้ โดยแต่ละฤดกู าลก็จะมี สัตว์นา้ ท่ีแตกต่างกัน ในช่วงหนา้ ฝนจะมปี มู ากเปน็ พเิ ศษ สัตวน์ ้าที่ถกู จับโดยชาวประมงพนื บา้ นมัก เป็นการรบั ไปขายในตลาด หรือเป็นการขายกันเองระหวา่ งคนในหมูบ่ ้านเนื่องจากสัตว์นา้ ทจี่ ับได้ไมไ่ ด้ มจี า้ นวนมากนกั เป็นการท้าแบบพอมีพอกนิ เมือ่ น้าสตั ว์น้าทไ่ี ด้ไปขายและแก้อวนจนเสร็จชาวประมง จะกลบั ไปวางอวนใหม่หรือสามารถไปพกั ผ่อนก่อนซักเล็กน้อยและกลบั ไปวางอวนใหม่ตอนบ่าย บางครังมีการวางอวนหลายชนิดในช่วงทมี่ สี ตั วน์ า้ หลายประเภทเพ่ือเป็นการหาก้าไรเพิ่มได้อีกด้วย โดยในปัจจบุ ันจะจับสตั วน์ ้าได้ประมาณวนั ละ 4 -5 กโิ ลกรมั (สงกรานต์ ทรงศิลป์,สมั ภาษณ์ : 19 พฤษภาคม 2562) _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ อื ร้จู กั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคยี นงาม

41 อาจจะกล่าวได้วา่ การท้าประมงพนื บา้ นนนั มีความม่งั ค่ังกว่าการท้าประมงพาณิชย์ เพราะมี ทังทรพั ยากรทห่ี ลากหลายใหเ้ ลอื กจบั มากกว่า เพราะถึงแม้รัฐจะออกกฎหมายเก่ยี วกับชายฝัง่ ชุมชน ประแสยังมีแมน่ า้ ที่อย่หู ลงั บ้านเปน็ แหล่งทรัพยากรอีกทางหน่งึ รวมถงึ แนวป่าชายเลนที่สามารถเกบ็ หอยชนดิ ต่างๆ ได้โดยการใช้เคร่อื งมือพนื บา้ นเหล่านเี องอาจจะกลา่ วไดว้ ่าเปน็ ส่ิงที่ท้าให้การทา้ ประมงพนื บ้านของชุมชนปากนา้ ประแสยังคงดา้ รงอยู่ และกล่มุ ประมงพนื บ้านสว่ นใหญ่แล้วใช้ กฎระเบยี บของชมุ ชนเป็นกฎในการปฏบิ ตั ิ สะท้อนใหเ้ หน็ ว่ากฎหมายไม่ใช่เป็นแค่เครื่องมือในการใช้ อ้านาจของรัฐ แตก่ ฎหมายต้องเป็นเคร่อื งมอื ในการจดั สรรทรพั ยากรท่ีเป็นธรรมเพราะการใช้กฎหมาย ลกั ษณะนกี ับประมงพืนบ้านนันอาจไม่เปน็ ธรรม ดงั นันอาจจะตอ้ งให้รฐั บาลเข้ามาจัดการหารอื กบั สมาคมประมงพืนบ้าน ระบบนเิ วศกบั ประมงพืนบำ้ น ปากน้ากระแส อ้าเภอแกลง จังหวดั ระยอง สว่ นใหญ่จะเป็นที่ราบลุ่มชายฝงั่ ทะเล ลาดตา่้ ลง สอู่ ่าวไทยทางทิศใต้ ซ่ึงมีชายฝ่งั ทะเลเว้าแหว่งติดอา่ วไทยยาวประมาณ 1 - 3 กิโลเมตร มีแมน่ ้าสาย หลกั คือแม่น้าประแส ความยาวประมาณ 5 - 8 กิโลเมตร โดยมตี น้ ก้าเนดิ จากทิวเขาในจังหวัด จนั ทบุรีไหลผา่ นท้องท่ตี า่ งๆ ในอา้ เภอแกลง ลงสู่ทะเลท่ีตา้ บลปากน้าประแส มีแม่นา้ ประแสกนั เขต ต้าบล มลี ้าคลองลงสทู่ ะเล (กระทรวงวัฒนธรรม, 2560: ออนไลน์) มกี ารท้านากุ้ง เลียงปลาน้ากร่อย รมิ ฝ่งั แมน่ ้าประแส มที า่ เรือประมงขนาดใหญ่ ปลกู มะม่วง มะพร้าว บริเวณปากแม่นา้ มีชุมชน หนาแน่น เปน็ แหล่งการค้าของต้าบล บางพนื ทีเ่ หมาะแก่การเกษตรถาวร มีลกั ษณะเป็นดินเหนยี ว เปน็ ท่รี าบดนิ ตะกอนดดู ซับนา้ ได้ ดี พืนทลี่ ักษณะเช่นนมี ีอยู่ใน บรเิ วณลุม่ นา้ ประแส พนื ทช่ี ายฝั่ง ทะเลมีลักษณะเป็นดนิ ทราย สว่ นใหญ่ บางแหง่ เปน็ ทล่ี มุ่ นา้ ขัง พืนท่ลี ักษณะเชน่ นมี ีอยู่ตลอดริม ฝ่ังทะเลของปากนา้ ประแส เหมาะในการเพาะเลยี งชายฝ่ัง และแหลง่ ท่องเท่ยี ว ภาพถ่ายประมงพนื บา้ น โดยพูนทรัพย์ ยงั มะลงั _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู ือรจู้ กั ชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรอื่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคยี นงาม

42 ปำ่ ชำยเลน ภาพตน้ โกงกางบรเิ วณท่งุ โปรงทอง โดยปณั ฑติ า สุวรรณรักษา ท่ีมา : หนังสอื ณ ประแส (ร์) กระแสชีวติ ของคนปากน้า ปา่ ชายเลนประแสถือเป็นพืนที่หน่งึ ที่เต็มไปด้วยความสมบูรณ์ มีพชื ทีข่ นึ ตามปากแมน่ ้า ประแส ปา่ ชายเลนทปี่ ากน้าประแสมีความอุดมสมบรู ณป์ ระกอบดว้ ยพนั ธุ์ไม้หลายชนดิ ไดแ้ ก่ โกงกาง ใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสมขาว ประสัก หรอื พังกาหวั สมุ ลา้ พู ตะบูน โปรง ตาตมุ่ ฝาดแดง เป็นตน้ พนื ท่ปี ่าชายเลนของปากนา้ ประแสมีสภาพสมบูรณ์ ปัจจยั แวดล้อมท่สี ้าคัญตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของ พนั ธ์ไุ มป้ ่าชายเลน ป่าชายเลนปากนา้ ประแสจงึ เป็นระบบนิเวศทีส่ ้าคญั ของปากน้าประแสท่ีเช่อื มโยง ระหวา่ งพนื ดินกับนา้ ทะเล มคี วามอ่อนไหวและเปราะบาง และเปล่ยี นแปลงสภาพไปตามทศิ ทาง การผนั แปรของกระแสน้า และคล่ืนลม ในสภาวการณป์ กติปา่ ชายเลนทา้ หน้าท่ีเปน็ แนวปราการ ธรรมชาติทีค่ อยปกปอ้ งชายฝ่ังทะเลไมใ่ ห้ถูกท้าลายจากกระแสคล่นื เปน็ ถิ่นทอ่ี ยู่อาศัยของสัตว์นา้ ในขณะเดยี วกันสัตวบ์ กสามารถเข้ามาอาศยั และแสวงหาอาหารท่ีมอี ยู่อยา่ งอุดมสมบรู ณ์ใน ป่าชายเลน ทา้ ให้ปา่ ชายเลนปากนา้ ประแสหลากหลายไปด้วยสิง่ มชี ีวิตทงั พชื น้าและสตั ว์นานาชนิด เทศบาลต้าบลปากนา้ กระแสไม่เคยหยุดน่ิงในการพัฒนาดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม มีการพฒั นาต่อยอดโครงการ เพิม่ พนื ที่ปา่ อยู่เสมอภายใตโ้ ครงการอนุรักษ์ฟน้ื ฟูป่าชายเลน การอนุรกั ษ์ป่าโกงกาง ของปากน้าประแสอยู่ใกลก้ บั ทตี่ ังของเรือรบประแสบรเิ วณปากแม่น้าประแส (กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝัง่ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม, 2562: ออนไลน)์ _____________________________________________________________________________________________________________________ คูม่ ือรู้จกั ชุมชนประแส เล่มที่ 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวนั ตะเคยี นงาม

43 ปัจจบุ ันเทศบาลตา้ บลปากน้าประแสได้กอ่ สร้างสะพานไม้ เพ่อื ให้ประชาชนและนักท่องเทย่ี ว สามารถเดนิ ทางเขา้ ไปในปา่ โกงกางได้อย่างสะดวกและใกล้ชิดธรรมชาติ เพือ่ การศกึ ษาเรียนรู้ ธรรมชาติของป่าโกงกางไม้ประจา้ ถนิ่ ของชาวน้าเค็ม พบว่า สามารถพบสัตว์น้าไดหลายชนิดด้วยกนั ไม่ว่าจะเป็นกลมุ่ ปลา ไดแก ปลากดครีบดา้ ปลาข้างเหลอื ง ปลาหมอเทศ และปลาหมอคาง ปลากระทุงเหวหางตดั ปลาแป้นเล็ก ปลากกระบอกขาว และปลากระบอกดา้ ปลาทรายแดง ปลาเหด็ โคน กลมุ่ ก้งุ /ปู ไดแก กงุ กามกราม กุ้งแช่บ๊วย กงุ้ กลุ าดา้ ปทู ะเล ปแู สมกา้ มแดง ปแู ปน กลมุ่ หอย/หมึก ภาพชาวบ้านออกมาหาสตั วน์ า้ ท่ปี า่ ชายเลนใกล้ทุ่งโปรงทอง โดยปณั ฑติ า สวุ รรณรักษา ที่มา : หนงั สือ ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ิตของคนปากน้า คลอง ชมุ ชนปากนา้ ประแสมแี มน่ า้ ประแสท่ีมตี ้นกา้ เนิดจากทวิ เขาจันทบรุ ี เขาใหญ่ เขาอ่างฤาไน เขาหนิ โรง เขาอ่างกระเตน็ แล้วไหลมาตามคลองตา่ งๆ หลายสายคอื คลองกระแส คลองปลงิ คลองบ่อทอง ห้วยหนิ คม คลองเจว็ด คลองตากล้วย คลองชมุ แสง คลองไผเหนือ คลองไผ่ใต้ คลองตวาด คลองผังหวาย คลองจา้ คา คลองใช้ คลองแหวน คลองโพล้ คลองทา่ สีแกว และคลองหนองเพลง ไหลมารวมกันในเขตอา้ เภอแกลง เป็นแมน่ า้ ประแส มีความยาวประมาณ 26 กิโลเมตร และการไหลของ แมน่ า้ ประแสท่ีมีระยะทางค่อนข้างยาว ไดพัดพาทรพั ยากรแรธาตุต่างๆ ท่ี มีความจ้าเปน็ ต่อการดา้ รงชวี ติ ของสตั ว์น้ามาตามกระแสนา้ มารวบรวมและตกตะกอนอยูบริเวณ ปากแม่น้าประแส (กระทรวงวฒั นธรรม, 2560: ออนไลน)์ _____________________________________________________________________________________________________________________ คู่มือรู้จักชมุ ชนประแส เลม่ ท่ี 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรยี นชุมชนวันตะเคียนงาม

44 ซ่งึ การสะสมทางทรัพยากรเหลา่ นีบริเวณปากแม่น้าและอ่าวไทยทา้ ให้มีสัตวน์ ้าเขา้ มาอาศยั และ ดา้ รงชวี ติ อยเู่ ป็นจ้านวนมาก นอกจากนีแมน่ ้าประแสไดมีล้าคลองสาขา มีความคดเคยี วตามธรรมชาติ จึงท้าให้บรเิ วณป่าชายเลนมีความอดุ มสมบรู ณ มี สัตว์น้าหลากหลายชนิดเขา้ มาอยู่ และเป็นแหล่ง ของพืชบางชนดิ ทขี่ ึนบริเวณริมคลอง เช่น จาก และป่าโกงกาง และยังพบสตั ว์นา้ ต่างๆ อกี เป็น จา้ นวนมาก อาทิ ปลาหมอเทศ ปหู ิน ปูเฉลยี งทเ่ี อาไวใชเ้ ป็นเหยื่อล่อ เปน็ ต้น (ยุตธิ รรม สมทุ รครี ี, สัมภาษณ์: 20 พฤษภาคม 2562) ภาพบริเวณทา่ ของชาวประมงพนื บ้าน โดยปณั ฑติ า สุวรรณรักษา ทมี่ า : หนงั สอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชีวิตของคนปากน้า _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู อื รู้จกั ชุมชนประแส เลม่ ที่ 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคยี นงาม

45 ภาพตะแกงดักจบั สัตวน์ า้ ภายในมปี ูหนิ และหอยเฉลียง โดยวชริ าพรรณ เดชสุวรรณ ทีม่ า : หนังสอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชีวติ ของคนปากนา้ ทะเล บรเิ วณท่ีตงั ของชุมชนท่ีหนั หนาออกสูทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนใน หรอื ที่เรยี กว่าบรเิ วณรปู ตัว “ก” เปน็ บริเวณทนี่ ้าทะเลค่อนข้างตืนและมแี มน่ ้าสายส้าคัญไหลลงสูบริเวณดังกล่าวเปน็ จ้านวนมาก ทา้ ให้ความสมบูรณ แรธาตุที่ส้าคญั ถูกชะลา้ งมาตังแต่ต้นน้าถูกพดั พาลงมาสูทะเล บรเิ วณอ่าวไทย ตอนใน สง่ ผลให้มปี ลาและสัตว์นา้ จา้ นวนมากทเี่ ขา้ มาอาศัย จากรายงานของ H.M. Smith เรือ่ ง “Fresh-water fishes of Siam or Thailand ป ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ท่ไี ดส้ารวจทรัพยากรปลา น้าจืด และพันธุสตั ว์น้าบรเิ วณทะเลและชายฝัง่ โดยตลอด พบว่ามพี ันธุสัตว์น้าหลายชนดิ และมีความ อดุ มสมบรู ณอ์ ยู่ในระดับสงู ผู้ท่อี ยู่อาศยั ตามปากแม่น้าสามารถเก็บเก่ียวผลผลติ จากทอ้ งทะเลเพ่ือ นา้ มาบริโภคนา้ มาใช้ประโยชนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ (กระทรวง วัฒนธรรม, 2560: ออนไลน) ...พนั ธสุ ตั ว์ท่ีพบบริเวณทะเลและชายหาดกม็ หี ลายชนิด แต่จากการศึกษาพบว่ามชี าวชุมชนหลาย ครวั เรอื นนยิ มหาหอยประเภทต่างๆ ในบรเิ วณชายหาดเม่ือนา้ ลง ไมว่าจะเปน็ หอยกระปุก หอยหลอด หอยปากเป็ด หรือหอยเสียบ…(ปทมุ นาถมนี 54 ป, สัมภาษณ์ : 20 พฤษภาคม 2562) _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรจู้ ักชุมชนประแส เล่มท่ี 4 เร่ือง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคยี นงาม

46 ภาพหอยปากเปด็ โดยวชริ าพรรณ เดชสวุ รรณ ทมี่ า : หนังสือ ณ ประแส (ร)์ กระแสชวี ติ ของคนปากนา้ ภาพหอยกระปุก โดยวชิราพรรณ เดชสุวรรณ ทม่ี า : หนงั สอื ณ ประแส (ร)์ กระแสชีวติ ของคนปากน้า _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรู้จกั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เรอ่ื ง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวันตะเคยี นงาม

47 วิธกี ารหาปลา ภมู ปิ ัญญำของประมงพำณิชย์ทีใ่ ช้ในกำรทำประมงนนั ไม่ต่ำงกับประมงพืนบำ้ นมำกนกั ใชว้ ธิ ีกำรเรียนรูจ้ ำกประสบกำรณ์ในกำรทำงำนบนเรือหรือจำกกำรเรยี นรู้จำกครอบครัวจนกลำยเปน็ ควำมเคยชินและเป็นทักษะท่ีนำมำใชใ้ นกำรทำประมงได้ เช่น กำรเอำชีวติ รอดบนเรือดว้ ยกำรใช้ สมุนไพรหรือสง่ิ ของรอบตัวรักษำเมื่อมีอำกำรเจบ็ ป่วย หรอื ถ้ำหำกมีกำรเจบ็ ปว่ ยทร่ี ุนแรงกส็ ำมำรถ ส่งรกั ษำอย่ำงรวดเรว็ โดยกำรนำแรงงำนเข้ำฝั่ง หรือสง่ ไปรักษำท่ีแทน่ ขุดเจำะนำมนั กลำงทะเลท่ีอยู่ ใกล้กบั เรือในขณะนนั รวมถงึ ยังมีกำรดูทศิ ทำงลมเพ่ือคำนวณทิศทำงของปลำ กำรดฉู ำกเขำหรือ ดำวเหนือในกำรบอกทิศทำงและระยะทำงเม่อื ใกล้ฝัง่ ซง่ึ เป็นภูมิปญั ญำในอดตี ชำวประมงใช้ในกำร สงั เกตและเรียนรู้ท่จี ะมองหำปลำ ฟงั เสียงปลำ โดยจะมีคนท่ีทำหนำ้ ท่ีฟังเสยี งปลำและจำแนก ประเภทของปลำจำกเสียงได้เรยี กว่ำ \"กำนำ\" ซึง่ คุณประทีปไดบ้ อกเลำ่ ถึงภูมิปญั ญำกำนำไวว้ ่ำ ...กาน้าเป็นคนไทยที่มเี ชอ้ื สายออกไปทางแขก เป็นภูมิปัญญาทีเ่ กิดจาก การเรยี นรู้และฝึกฝน โดยกาน้าจะดาลงไปใตน้ า้ เวลาที่ไมส่ ามารถมองเหน็ ปลาจากบนผวิ น้าไดเ้ พราะปลามาเล่นนา้ กนั ทาให้น้าตรงนั้นขนุ่ จนมองไม่ เหน็ ตอ้ งพ่ึงกาน้าเพื่อฟงั เสียงปลา ซ่ึงเสียงปลาแต่ละชนิดท่ีส่งออกมาใต้ นา้ จะมเี สยี งที่แตกต่างกันออกไป กาน้าสามารถแยกได้ว่าเสียงไหนเป็น ของกล่มุ ปลาชนิดไหน แต่พอเทคโนโลยีเข้ามา ภมู ปิ ญั ญาน้ีกห็ ายไป... (ประทีบ เจรญิ กลั ป์ 64 ป,ี สัมภาษณ์: 19 พฤษภาคม 2562) ภาพคณุ ยม ช่างทอง ชาวจนี ไหหลา้ ผนู้ ้ากาน้าเข้ามายังปากนา้ ประแส โดยปณุ ยาพร รูปเขียน ทมี่ า : หนังสอื ณ ประแส (ร์) กระแสชวี ติ ของคนปากนา้ _____________________________________________________________________________________________________________________ คมู่ ือรู้จกั ชมุ ชนประแส เลม่ ที่ 4 เรื่อง ประมงประแส โรงเรยี นชมุ ชนวันตะเคียนงาม

48 ในปจั จบุ ันพบกำนำได้น้อยมำกและแทบไมพ่ บเห็นตำแหนง่ กำนำบนเรอื แลว้ เน่ืองจำกคน ส่วนมำกเร่ิมพัฒนำวธิ ีหำปลำและตวั อย่ำงเทคโนโลยที ี่เข้ำมำทำให้เคร่ืองมือถูกพัฒนำให้มีควำม ทันสมัยมำกขนึ แต่ก็ตอ้ งแลกกบั ค่ำใชจ้ ำ่ ยท่ีมำกกว่ำเดมิ กำรดูฉำกเขำหรอื ดดู ำวก็ได้เปล่ียนมำใช้ เขม็ ทิศในกำรดูทิศทำงแทน ส่วนภมู ิปญั ญำกำนำหรือกำรใช้ไฟส่องปลำก็พฒั นำมำเปน็ เครื่องมือท่ีพบ เหน็ ได้มำกในประมงพำณชิ ย์นัน ภมู ปิ ญั ญำของชำวประมงในอดีตทำให้ภมู ิปญั ญำเหล่ำนไี มค่ ่อยมใี ห้ เหน็ แล้วในปจั จุบัน อกี ทงั ยังเพม่ิ ค่ำใช้จ่ำยในกำรทำประมงพำณชิ ยอ์ ีกดว้ ย ภาพถา่ ยชาวประมง โดยพูนทรพั ย์ ยังมะลัง _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู ือรู้จกั ชุมชนประแส เลม่ ที่ 4 เรื่อง ประมงประแส โรงเรียนชมุ ชนวันตะเคียนงาม

49 เครือ่ งโชนำร์ (Sonar) และเครื่องซำวน์เดอร์ (Sounder) เปน็ อปุ กรณท์ ่ีอำศัยหลกั กำร สะทอ้ นของคลนื่ จะทำงำนโดยกำรสง่ คลื่นของเสียงที่มีควำมยำวคลนื่ ค่ำใกล้เคยี งกับขนำดของ ปลำออกไปในทะเล เมอ่ื คล่นื ไปตกกระทบกับฝูงปลำจะเกดิ กำรสะท้อนของคล่ืนกลบั มำยังเรอื บนหน้ำจอควบคุม ทังสองเคร่ืองมือจะแตกต่ำงกันตรงท่เี ครื่องโชนำรจ์ ะมีควำมสำมำรถท่ีหลำกหลำย กวำ่ เคร่ืองชำวนเ์ ดอร์ คือสำมำรถเลือกชนิดของปลำทีต่ ้องกำรได้ ขณะทเ่ี ครื่องชำวนเ์ ดอร์จะไม่ สำมำรถทำไดเ้ พรำะถกู ออกแบบมำเพื่อหำปลำแต่ละชนดิ โดยเฉพำะเท่ำนัน นอกจำกนเี คร่ืองโชนำร์ ยังสำมำรถส่งคลน่ื ไปได้ไกลกว่ำเคร่อื งชำวนเ์ ดอร์อีกด้วย (หลักกำรทำงำนของเคร่ืองโชนำร์ (sonar) และเครื่องซำวนเ์ ดอร์ (sounder), 2562: ออนไลน์) ภำพเคร่ืองโซนำร์ ที่มำ : https://www.marinethai.net/product/koden sonar kds 6000bb _____________________________________________________________________________________________________________________ ค่มู อื รู้จักชมุ ชนประแส เล่มท่ี 4 เรือ่ ง ประมงประแส โรงเรียนชุมชนวนั ตะเคยี นงาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook