Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติวรรณคดี

ประวัติวรรณคดี

Published by kruuntikamee, 2019-05-14 23:18:47

Description: ประวัติวรรณคดี

Keywords: ประวัติวรรณคดี

Search

Read the Text Version

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๓ บทนม้ี ีใจความว่า กษตั ริย์ท่จี ะได้รบั การยกยอ่ งให้เป็นพระมหากษัตรยิ ์ผ้ยู งิ่ ใหญ่ได้ ควรจะมีใจ เมตตากรุณาต่อประชาชนเหมือนเมฆฝนให้ความชุ่มชื่นแก่ต้นไม้ จึงตรงกับลักษณะของ ทศพิธราชธรรมในข้อที่วา่ ปริจาคํ คอื การบรจิ าคทรพั ย์เป็นทานให้แก่ราษฎร ๔. ๏ อาณาประชาราษฎรทง้ั กรุงไกร จักสุขเกษมเปรมใจ ชืน่ ช้อย ไมตรีที่ประชุมใน นรนาถ เป็นบษุ บาปรากฏรอ้ ย กล่ินกลมุ้ ขจรจาย บทนี้มใี จความว่า กษัตริยจ์ ะปกครองราษฎรให้อยู่เย็นเปน็ สุขได้ ควรจะเปน็ บคุ คลผู้มไี มตรตี ่อ ผอู้ น่ื ดว้ ย คุณคา่ ของโคลงทศรถสอนพระราม ๑. ในด้านอักษรศาสตร์ มีสํานวนใหมก่ ว่าหนงั สอื เรอื่ งอน่ื ในยคุ เดยี วกัน โวหารมีความไพเราะ ๒. ในด้านการปกครอง ทําให้ทราบว่า สมัยนั้นกษัตริย์ปกครองด้วยทศพิธราชธรรม ใช้เป็น หลกั ในการปกครองประเทศ ๓. การใชห้ ลกั ธรรมพระพุทธศาสนา ในการปกครองบริหารบ้านเมอื งมาแต่โบราณกาลมา

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๔ โคลงพาลีสอนนอ้ ง ผู้แตง่ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ความเป็นมา โคลงพาลีสอนน้องเป็นพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่สอน เก่ียวกับหลักการรับราชการ เนื้อความกล่าวถึงเรื่อง รามเกียรติ์ โดยนําเร่ืองของพาลีมาอ้างว่าก่อน ส้ินชีวิต พาลีได้ส่ังสอนสุครีพ น้องชายและองคตลูกชายถึงหลักในการปฏิบัติต่อองค์พระมหากษัตริย์ เช่น ให้จงรักภักดี อย่าโกรธเคืองพระมหากษัตริย์ให้เข้าเฝ้าโดยสมํ่าเสมอ รู้จักประมาณตน มีความ กล้าหาญ อาสาเจ้านายออกรบ เป็นต้น พาลีสอนให้น้องและองคตให้จงรักภักดีต่อเจ้านาย ทําตามส่ัง แมง้ านท่ที ําจะส่งผลให้ตายก็ให้ทํา ไม่ยุ่งเก่ียวกับทรัพย์สินในคลัง รู้จักพูด ไม่ทําตัวเสมอเจ้านาย เร่ือง น้ีถอื เปน็ จรยิ ศาสตร์สําคญั ของไทย ที่ทรงสง่ั สอนคนไทย รปู แบบการแต่ง แตง่ เปน็ โคลงส่สี ภุ าพ ๓๒ บท ดงั ตวั อยา่ ง ๏ พาลีมีเดชลํา้ เลยกระบลิ เปน็ เหล่าธิบดนิ ทรอ์ ินทร์ แบ่งปั้น ผา่ นแคว้นแคนขิดขนิ บรุ นิ ทราช ปรากฏยศยงชั้น ฟากฟ้าสุธาสถานฯ พาลี ๏ วานรวรราชเร้อื ง แน่งน้อง เรียกอนชุ อุดมศรี ใจเสน่ห์ องคตยศยงมี ถถ่ี ว้ นขบวนความฯ มากลา่ วพจนาร้อง คุณคา่ ของวรรณคดี ๑. ในด้านอักษรศาสตร์ มีคติเตือนใจในการรับราชการ เช่น มีจริยธรรมไม่ยุ่งเก่ียว ผลประโยชน์ มีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ สํานวนโวหารเรียบง่าย และมีอิทธิพลต่อกวีรุ่น หลัง เชน่ มหายศเลียนแบบเอาไปแตง่ เปน็ กลอนสุภาพ ชอ่ื วา่ พาลสี อนน้องคํากลอน ๒. ดา้ นวถิ ชี วี ิต เหน็ ค่านยิ มของสังคมสมัยน้ันว่าการแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ เป็นสิง่ สาํ คัญมาก

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๕ ๓. คุณค่าทางด้านจริยศาสตร์สําคัญของไทย ท่ีพระมหากษัตริย์ ทรงใช้สั่งสอนประชาชน ยกตวั อยา่ ง เช่น เฝ้าแหนแสนเสนห่ ด์ ว้ ย จงใจ ธิบดินทร์ปิน่ รฆวุ งศ์ กา่ ยเกล้า อย่าคิดจะนทิ รปลง ยาวยดื ว่าสนกุ สุขเกษมเช้า คา่ํ คุ้ยตะคุยนอน ฯ เรอื งราม หนง่ึ คอยชะลอยเล่หไ์ ท้ ถ่ถี อ้ ย สิงหนาทอาจไถถ่ าม ตามสัตย์ ทลู พิดกิจกลความ เน่ืองเนอื้ คดีตรง ฯ อยา่ ขานการเบานอ้ ย โอองค์ นอบน้อม เฝา้ ไทอยา่ ไดอ้ ่า ผดงุ อาตม์ อย่าแตง่ แน่งน้อยผจง อย่าไดส้ ามผลาม ฯ ท่ที างกลางโรงปลง สาวสวรรค์ ณ โรงคัลบนั โดยดอ้ ม แน่งนอ้ ย ธิปราช นกั สนมกรมชะแม่แมน้ เนตรเล้ยี วเรียมแสวง ฯ นางในไพบูลย์พรรณ ประการใด เฝ้าไทภูทรงธรรม ย่องแย้ม อย่าใฝ่ในเสน่หค์ ล้อย สิงหนาท เมอ่ื ท้าวสขุ สานต์ ฯ ทูลพิดกจิ แจ้งจดั จง่ึ ทลู คอยดูเมือ่ ภูวไนย หยุดย้งั แปรผันพัณฑูรไข เคืองคอ่ ง จึงคอ่ ยชะลอยเติมแตม้ แตร่ ้อนสกนธก์ รม ฯ ชอบทูลมลู เหตหุ นั้ มิชอบประกอบอาดรู เกรงนเรนทรสรู หฤทยางค์หมางหมน่ ตงั้

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๖ จนิ ดามณี ผแู้ ตง่ พระโหราธิบดี ความเป็นมา ผู้แต่งพระโหราธิบดี รับราชการในหน้าที่โหรหลวง อยู่ท่ีกรุงศรีอยุธยา ตํานาน ศรีปราชญ์ท่ีพระปริยัติธรรมธาดาแต่งกล่าวว่า พระโหราธิบดี เป็นบิดาของศรีปราชญ์ สันนิษฐานว่า ท่านแต่งพระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยธุ ยาฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนิติ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พวกมิชช่ันนารีฝร่ังเศส เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์และ วิชาการ จนมีการตั้งโรงเรียนสอนเด็กไทย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเกรงว่า คนไทยจะหันไปนิยม อย่างฝรั่งจึงรับสั่งให้ พระโหราธิบดี แต่งจินดามณี ข้ึนเพื่อสอนคนไทย มีแบบเรียนเป็นของตนเอง และรู้วิชาอย่างไทย ไม่หันเหไปฝักใฝ่ชาวฝรั่ง ความมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อใช้เป็นแบบเรียนให้ เด็กไทยอ่าน จินดามณี เป็นตําราเรียนภาษาไทยเล่มแรกท่ีใช้เรียนมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ หนังสือ เลม่ น้ี แตง่ เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ องคพ์ ระมหากษตั ริย์อันเป็นธรรมเนียมการแต่งหนังสอื แต่โบราณ รูปแบบการแต่ง เน้ือความข้ึนต้นด้วยร่าย สรรเสริญ กล่าวถึงอักษรศัพท์ (ศัพท์ต่าง ๆ ท่ีมี เสยี งคล้ายกนั ) ตัวอยา่ งคาํ ท่ใี ช้ ส ศ ษ ไม้ม้วน ไมม้ ลาย อกั ษรสามหมู่ การแจกลูก การผันอักษร ฯลฯ และ ยกตวั อยา่ ง จากวรรณคดีเกา่ อาทิ ลิลติ พระลอ เปน็ ตน้ การแต่งหนังสือเล่มนี้พระโหราธิบดีบอกไว้ว่าแปลงตรงตําราฉันท์มาจากคัมภีร์วุตโตทัย ดังโคลงลงท้ายบทวา่ ๏ จบเสร็จสําเร็จธเิ รื่อง บงั คับ จนิ ดามนุ ีฉบบั บอกแจง้ หนง่ึ คอื อักษรศบั ท์ สงเขป ทงั วดุ โตไทนั้นแกล้ง กล่าวไว้เปนครฯู คาํ ประพนั ธท์ ใ่ี ชแ้ ตง่ เป็นร้อยกรองปนรอ้ ยแก้ว ดงั ตัวอย่าง จินดามุนนี ี้ พระโหราธิบดี เดอมอย่เู มืองสกุ โขทัยแตง่ ถวายแต่คร้ังสมเด็จพระนารายณ์เปน จา้ วลพบรุ ยี

ตัวอย่างหนังสือจินดามณี ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๗ ๏ นโม ก ข จึง่ ก กา แตง่ ไว้ ตามอักษรอรรถา ตามตอ่ สิบนี้คาํ ไท ฯ กน กง กด กม มา สอลอ บอกแจง้ กบ กก เกอย สุดไซ้ สมมุติ กอ่ เกื้อเปนองค์ ฯ ๏ รงั สฤษฏพิ ระแต่งตอ้ ง สศษ รงั รักษเกดิ ษอบอ เรง่ ไร้ ศงั หารค่อเปน้ ศอ กนิ งา่ ย ย่งิ คา้ เมืองจนี ไตรเทพท้าวหากแกล้ง ย ๏ นักปราช ญ น ณ กนิ บ ครันคนตาม สเปแ็นลเสมยี นหยนมถู่ นาีใ้มชค้ วาม คณุ คา่ ของวรรณคดี ๑. จินดามณี เป็นแบบเรียนภาษาไทยเล่มแรก สํานวนภาษาท่ีเข้าใจได้ยาก มีคําอธิบายเพียง ส้ัน ๆ แต่ก็นับว่ามีความสําคัญต่อการศึกษาภาษาไทย เป็นเวลาช้านาน ได้ใช้เป็นแบบเรียนมาจนถึง ต้นรัชกาลที่ ๕ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ภาคท่วี า่ ด้วยฉันทลกั ษณ์ ไดต้ วั อย่างมาจากวรรณคดเี รอื่ งต่าง ๆ ๒. พระมหากษัตรยิ ท์ รงมีทศพธิ ราชธรรม บํารงุ พระศาสนา เช่น “อารามเรื่องรองท่วั ทกุ ทศิ เพราะบพิตรภูวญาณ ปิ่นเกลา้ พระองคท์ รงทศพิต ธรรมราช พระสาสนารงุ่ เรา้ เรอ่ื งดว้ ยเดชา ฯ”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๘ เสือโคคําฉันท์ ผแู้ ต่ง พระมหาราชครใู นแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ความเป็นมา เป็นวรณคดีเล่มแรกท่ีเช่ือกันว่าเป็นฉันท์ท่ีจบบริบูรณ์โดยการนําเค้าจากเร่ือง พหลคาวชี าดก ในปัญญาสชาดก ที่ภิกษชุ าวเชียงใหมแ่ ตง่ ไว้ นามผู้แตง่ เขียนไว้ในเรื่องวา่ ๏ จบ จนจอมนาถไท้ คาวี บ พติ รเสวยบรุ ี ร่วมน้อง ริ พลหมมู่ นตรี ชมช่นื จิตนา บูรณ์ บาํ เรอรักซ้อง แซ่ไหวถ้ วายพรฯ ๏ เสือโคโปฏกไท้ ทง้ั สอง สิทธิฤาษสี มพอง เศกแสรง้ แลองค์แลกรุ ุงปอง เปนปิน่ เมอื งนา พระบรมครแู กลง้ กลา่ วไวเ้ ปนเฉลมิ ฯ คําประพันธ์ข้างต้นที่ว่า “กล่าวไว้เปนเฉลิม” ก็น่าจะพอสันนิษฐานว่า แต่งเพ่ือเป็นศิริมงคล และอาจเป็นการทดลองดวู ่าการนาํ คาํ ประพันธ์ประเภทฉันท์มาแต่งเป็นเร่ืองยาวน้ัน มีความเหมาะสม เพียงใด เพราะในสมัยต้นๆ ของกรุงศรีอยุธยานั้นแต่งฉันท์กันน้อย ลักษณะฉันท์ท่ีใช้ก็เป็นฉันท์ง่าย และมกี าพย์ปะปนด้วย การแตง่ ไม่เครง่ ครัดในคําครุ ลุหุ แตถ่ ือจํานวนพยางคเ์ ปน็ สําคัญ เน้อื เรอ่ื งย่อของเสือโคคําฉนั ท์ มีวา่ เน้ือความกล่าวสรรเสริญคุณเทพยดา พระรัตนตรัย กษัตริย์ แล้วจึง เร่ิมเร่ืองโดยเล่าถึงแม่ เสือ แม่โค อาศัยอยู่ในป่า วันหนึ่งแม่เสือออกไปหาอาหาร ลูกเสือหิวนม ลูกโคจึงสงสารจึงบอกแม่ให้ ให้นมแก่ลกู เสือ ลูกเสอื และลูกโคจึงรักกนั ดจุ พน่ี ้อง ลกู เสือขอให้แมเ่ สือสาบานว่าจะไม่ทําร้ายโคแม่ลูก เมื่อแม่ไม่รักษาสัตย์จับแม่โคกิน ลูกเสือและลูกโคจึงช่วยกันสังหารแม่เสือ แล้วออกไปหากินด้วยกัน จนพบพระฤาษี พระฤาษเี มตตาชบุ ใหเ้ ป็นคนเพือ่ จะไดม้ โี อกาสล้างบาปทฆี่ า่ แม่ ลูกเสือเป็นพ่ีช่ือพหลวิไชย ลูกโคเปน็ นอ้ งชอื่ คาวี พระฤาษีมอบพระขรรคใ์ ห้ทง้ั สอง คาวีไดฆ้ ่ายักษท์ ีท่ าํ ร้ายชาวเมืองจึงได้นางสุรสุดา ธิดาท้าวมคธ แต่ก็ถวายให้แก่พหลวิไชย แล้วพี่น้องก็แยกจากกันโดยเส่ียงดอกบัวไว้คนละดอกเพื่อ บอกเหตุทุกข์ คาวีเดินทางไปพบเมืองร้างมีกลองใหญ่แต่ตีไม่ดัง ผ่าออกดูพบนางจันทร์ผมหอม ธิดา ของท้าวมทั ราช และนางแก้วเกสรแห่งรมยนคร เหตุท่ีเมืองร้างเพราะนกยักษ์ (นกอินทรีย์) มากินบิดา มารดาและราษฎร์ของนาง คาวีฆ่านกยักษ์ตายและได้นางจันทรเป็นชายา วันสงกรานต์นางจันทรสรง นํ้าและเอาผมใส่ผอบลอยนํ้าไป ท้าวยศภูมิเมืองพัทธพิไสยเก็บได้จึงใช้นางทาสีไปนําตัวนางมาถวาย นางทาสีล้วงความลับจากนางจันทร จึงทราบว่าฤาษีฝังชีวิตพระคาวีไว้ในพระขรรค์ นางทาสี

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๔๙ นําพระขรรค์ไปเผาแล้วพานางมาให้ท้าวยศภูมิ ทา้ วยศภูมิเข้าใกล้นางไม่ได้ เน่ืองจากกายนางร้อนด้วย อํานาจความจงรักภักดีต่อพระคาวี พหลวิไชยเห็นดอกบัวอธิษฐานเหี่ยว จึงออกเดินทางตามหาพระ คาวี ชว่ ยชุบชวี ิตให้ฟ้ืน แล้วออกตามหานางจันทร พหลวิไชยแปลงเป็นฤาษีอาสาชุบท้าวยศภูมิให้เป็น หน่มุ แต่ฆ่าเสีย ให้พระคาวอี อกมาแทน พระคาวีและนางจันทรอภิเษกกนั และครองเมืองพัทธพไิ สย ตวั อยา่ งคําประพันธ์ ตอนพระคาวีพบกลองในเมอื งร้าง ๏ ราชาพิศเพ้ียนในคลอง ในรัตนเรอื นหลวง บมสี ุรางคนิกร แนง่ นางอรชร ไว้น่าเหมา ๏ สงบสงดั เสยี งศพั ทอ์ ัปศร เอากรอันยง บมบี มานพานตา หนาทโดยมี คาววี รเกรง ๏ จงึ่ เห็นกลองไชยราชา ใคร่รอู้ าการ พมิ ลพิมานแมนผจง สมรพริง้ เพราพราย หม้ายมา่ ยเมียงมนั ๏ คาววี รราชจาํ นง ผาดผายปรวนแปร กระทบกระทุ่มเภรี ๏ กลองไชยบมเี สียงสี เสนาะสนนั่ ครน้ื เครง ๏ อบั อายหายเสียงอลเวง กค็ ดิ คาํ นึงเนง่ นาน ๏ ฉงนฉงายใจพระภบู าล ก็ทรงพระขรรค์ธทาย ๏ แหวะหน้ากลองไชยเห็นสาย พระพักตร์แจม่ เพียงจนั ทร์ ๏ คิ้วค้อมสมรคือเกาทัณฑ์ ชาํ ลกั มลกั ลักแล ๏ นวลลอองผอ่ งพักตรค์ อื แข กอ็ อกมานบราชา คุณค่าของเสอี โคคําฉนั ท์ ๑. เปน็ วรรณคดีไทยท่มี คี ณุ คา่ สูงเรือ่ งหนึ่ง ซึง่ ไดเ้ ค้าโครงเร่อื งมาจากปัญญาสชาดก ๒. มบี ทไหวค้ รูท่ใี ชภ้ าษาชดั เจน ภาพพจน์สละสลวยรัดกุมมีความหมายท่ีดี เช่น ก่อนแต่งบท กวีไหวค้ รกู อ่ นเสมอ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๐ ๏ ข้าขอประนมกรประณต บงกชบทเรืองรอง ธาดาวราฤทธจิ ํานอง สฤษดิโลกยสบสกล สัตวทว่ั ธราดล ๏ ธมั โมวโรรกั ษคชกั ตปรนตบชู า เทวาสรุ าสุรอนน บรมอศิ วเรนทรา ไลยถวายนมัสการ ๏ ขา้ ตง้ั กฤษฎากรบงั คม เทเวนทรส์ ุเรนทราสรุ า ๓. คติเตือนใจ คือ อํานาจของความสุจริตในความรักท่ีนางจันทรมีต่อคาวี ทําให้พระเจ้ายศ ภูมิ เข้าใกล้นางมิได้ เพราะทําให้รุ่มร้อนราวกับเข้าใกล้กองเพลิง สุดท้ายพระเจ้ายศภูมิก็ถูกพหลวิชัย ฆ่าตาย ๔. การใช้ภาษาชัดเจน เช่นการเห็นความงาม ตอนคาวีพบนางจันทรหนีนกอินทรีไปอยู่ใน กลอง “แหวะหน้ากลองชัยเหน็ สาย สมรพร้ิงเพราพราย พระพกั ตรแ์ จม่ เพียงจนั ทร์ หม้ายหม้ายเมยี งมนั ผาดผายปรวนแปร ค้วิ คอ้ มสมรคือเกาทัณฑ์ ชําลกั มลกั ลักแล นวลละอองผ่องพักตร์คือแข ก็ออกมานบราชา”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๑ พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนติ ิ ผแู้ ต่ง พระโหราธบิ ดี ความเป็นมา พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษณ์) เมื่อครั้งเป็นหลวงประเสริฐอักษร นิติ ได้ต้นฉบับพงศาวดารศรีอยุธยาเป็นสมุดไทยตัวเขียนเก่าถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา มาจากบ้านราษฎร แห่งหนึ่งที่จังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ ได้นําขึ้นถวายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ จึงทรงเรียกพงศาวดารนี้ว่า พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ เพ่ือเป็นเกียรติแก่ผู้ที่ไปพบ พงศาวดารฉบับนี้เรียบเรียง เมื่อ จ.ศ. ๑๐๔๒ (พ.ศ. ๒๒๒๓) ในรัชกาล สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ความมุ่งหมายในการแต่ง เรียบเรียงโดยพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพื่อรวบรวมจดหมายเหตใุ นทีต่ า่ ง ๆ และพระราชพงศาวดารเข้าด้วยกันตามลําดับศักราช พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ ฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชพงศาวดารฉบับกรุง เกา่ ขน้ึ ต้นวา่ เหนือเกลศ้าุภเหมนัสือดกุ ๑ระ๐ห๔ม๒่อมศสก่ังววอ่ากใหน้เักอษากัตฎรหณมาวยันเห๔ตฯุข๑อ๒งพ๕ระคโห่ําร(าพเ.ขศีย.๒น๒ไว๒้แ๓ต)่กท่อนรงพแรละกกกรุณฎหาตมราัสย เหตุ ซ่ึงหาได้แต่หอหนังสือ แลเหตุซ่ึงมีในพระราชพงศาวดารนั้นให้คัดเข้าด้วยกันเป็นแห่งเดียว” ๑๓ เหตุท่ีได้ชื่อว่าพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้มอบ พงศาวดารนใ้ี ห้หอพระสมดุ เนื้อความเริ่มตั้งแต่การก่อสร้างพะแนงเชิงใน จ.ศ. ๖๘๖ จนถึงสมเด็จพระนเรศวรเสด็จ ยกทัพไปเมืองห้างหลวง เมื่อปีมะโรง จ.ศ. ๙๖๖ ลักษณะการเขียนเป็นบันทึกปูมโหร บอกเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ สัน้ ๆ บางครั้ง บอกลางรา้ ยลางดีตามลกั ษณะการทาํ นายของโหร เชน่ “ศักราช ๘๕๐ วอกศก (พ.ศ.๒๐๓๑) สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า เสด็จไปเอาเมือง ทวาย และเมื่อจะเสียเมืองทวายน้ันเกิดอุบาทว์เป็นหลายประการโคตกลูกตัวหน่ึงเป็นแปดเท้า ไก่ ฟักไข่สามค่องออกลูกเป็นหกตัว อนึ่งข้าวสารงอกเป็นใบ อนึ่งในปีเดียวน้ัน สมเด็จพระบรมไตร โลกนาถ เสดจ็ นฤพาน ณ เมอื งพิษณุโลก ศักราช ๙๐๐ จอศก (พ.ศ.๒๐๘๑) แรกให้พูนดิน ณ วัดชีเชียงในเดือนหกน้ัน แรกสถาปนาพระพุทธเจ้าแลพระเจดีย์ เถิงเดือน ๑๑ เสด็จไปยังเชียงไกร เชียงกราน เถิงเดือน ๔ ข้นึ ๙ คา่ํ เพลาคา่ํ ประมาณยามหนงึ่ เกิดลมพายุพดั หนักหนาแลคอเรอื ออ้ มแก้วแสนเมืองมานน้ั หกั แล เรือไกรแก้วนั้นทลาย อน่ึงเม่ือเสด็จมาแต่เมืองกําแพงเพชรนั้นว่าพระยานารายณ์คิดเป็นขบถ แล ใหก้ ุมเอาพระยานารายณ์ นน้ั ฆ่าเสียในเมอื งกําแพงเพชร

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๒ รปู แบบการแต่ง แต่งเป็นรอ้ ยแก้ว ลําดับศักราชและเหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นคล้ายบันทกึ โหร เร่ืองย่อ เริ่มต้นเป็นบานแผนก บอกปีที่เรียบเรียงผู้รับส่ังให้เรียบเรียง ตลอดจนความมุ่ง หมายแล้ว กล่าวถึงเหตกุ ารณ์ ตง้ั แต่ จ.ศ.๖๘๖ ชวดศก แรกสถาปนาพระพุทธเจ้าพะแนงเชิง ซึ่งเป็นปี ทีส่ รา้ งพระพุทธรปู วัดพนญั เชิง วัดเสดจ็ พยุหยาตรา จากปา่ โมก โดยทางชลมารค คณุ ค่าของวรรณคดี ๑. ทาํ ใหท้ ราบเรื่องราวต่าง ๆ ในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา ไดอ้ ยา่ งชัดเจนย่งิ ข้ึน ๒. ความเชื่อตามลักษณะการทาํ นายของใคร ๓. ความยึดมน่ั ในศาสนาพทุ ธ เช่น การสร้างพระ พะแนงเชิง ใน จ.ศ.๖๘๖ เป็นตน้

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๓ โคลงนิราศนครสวรรค์ ผ้แู ต่ง พระศรมี โหสถ ความเป็นมา พระศรีมโหสถ แต่งเม่ืออายุ ๑๕ ปี ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ความ มุ่งหมายในการแต่ง เพื่อบันทึกเหตุการณ์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จไปรับช้างเผือกท่ี นครสวรรค์ และได้บรรยายถึงการเดินทางตามเสด็จสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถึงสถานที่ต่าง ๆ ที่ไดผ้ า่ นไป รูปแบบการแต่ง การแตง่ เรม่ิ ดว้ ยร่ายเกร่ิน ๑ บท ต่อจากนั้นโคลงสี่สุภาพ มีทั้งหมด ๖๙ บท เนื้อความเป็นการไหว้ครู ชมปราสาทราชวังของกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ชมช้าง ชมม้า ทหาร ขบวนเรอื พระท่ีนง่ั คร่ําครวญถึงหญิงคนรกั ตลอดระยะทางจากกรุงศรีอยุธยาถึงนครสวรรค์โดย ทางเรอื ในโคลงบทท่ี ๙ กล่าวไว้วา่ ๏ ขอเป็นปราโมทถว้ น หญงิ ชาย เหลือแหลเ่ ดนิ โดยสาย น่านนํา้ จรตามพระนารายณ์ จอมโลกย์ ทกุ เทพจงชคู ํ้า ชว่ ยให้สถาพร ฯ ในบทสุดท้ายคอื บทที่ ๖๙ เนอ้ื ความยงั ไม่จบ แต่มตี ้นฉบบั เหลือเพยี งเทา่ นี้ เขยี นไว้วา่ ๏ ล้ายคลา้ ยใกล้ถน่ิ ถี้ สลาขาว เรือพวกพายไปฉาว อยู่ไซ้ ชมสวนเรยี บเรียงยาว ทวิ ทอ่ ง ไปนา พิศภิรมย์ไมไ้ หล้ รม่ รืน้ เลขา ฯ ตวั อย่างโคลงนิราศนครสวรรค์ ยามศรี ลาศเต้า ๏ รอนรอนสรุ เยศได้ มุขมาศ พระนา ยรุ ยาตรนาวาลี แผน่ เหลา้ เสวยรมย์ คลายสถานพมิ านตรี ถึงท่าคัลคัลเจา้

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๔ ตัวอย่างคําประพันธ์ กวีพรรณนาการเดินทางนํ้า ผ่านบางคําทอง บ้างว่า บ้านหอม วัดง้ิว ไวว้ ่า ๏ ลถุ งึ บางนํ้าซือ่ คาํ ทอง นํ้าป่วนปึงเป็นฟอง ควา่ งควา้ ง แลลาญรําจวนสยอง พงึ พศิ เรง่ รบี พายพลขว้าง แมน่ าํ้ นองสินธุ์ ฯ มพี รรณ มากแฮ ๏ ดลแดนบางว่าไม้ โอบไม้ ดรู ะทวยนวยวัน รัดรวบ เอ็วนา กลกรเจยี มแจม่ จนั อย่าช้าถงึ เมอื ง บางวา่ วานว่าให้ ไหลหลาม หลงั่ นา เง่อื นแต้ม ๏ คล้ายคล้ายลลี าศน้ํา รมิ หลิ่ง ไปแฮ ถงึ บ้านหอมเรือนงาม นิ่มเนอื้ นวลศรี ฯ เรอื ดรวดเรียงตาม พรหมมาน แต่งนา หอมดุจหอมกล่มิ แกม้ ท่ีน้นั โอภาษ พรายแฮ ๏ เหน็ วัดง้วิ เพี้ยงพา่ ง อาสน์เจา้ ไอสรู ย์ ฯ นองนาคนิในสถาน งิว้ งามงอกใบบาน ดุจฉตั รชัยกางกั้น คณุ คา่ ของวรรณคดี ทําให้ทราบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ซ่ึงในพงศาวดาร ก็ได้กล่าวถึงการเสด็จไป รับช้างเผือกท่ีนครสวรรค์ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยทางชลมารค และในโคลงนิราศ นครสวรรค์ กไ็ ด้กล่าวถึงการเดนิ ทางไปโดยชลมารคเหมอื นกนั ได้แกค่ ําวา่ ยุรยาตรนาวา

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๕ กาพยห์ ่อโคลงของพระศรีมโหสถ ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ ความเป็นมา พระศรีมโหสถเป็นกวีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่ือกันว่า พระศรีมโหสถเป็นผู้แต่งกาพย์ห่อโคลง เรื่องยาวคนแรกท่ีเหลือหลักฐานไว้ให้ได้ศึกษากัน การแต่ง กาพย์ห่อโคลงน้ันเป็นการแต่งให้ข้อความในกาพย์และโคลงคู่หนึ่ง ๆ นั้นล้อกัน หรือมีเนื้อความ คลา้ ยคลงึ กนั วรรณคดีเรอ่ื งนี้ แต่งเป็นกาพย์ยานสี ลบั กบั โคลงสี่สุภาพ มีทั้งหมด ๓๖ บท สําหรับใช้ใน งานสมโภชช้างเผือกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เน้ือความบรรยายถึงความเจริญรุ่งเรือง ขนบธรรมเนียมประเพณี การเกยี้ วพาราสีระหว่างชาย หญงิ และความสนกุ สานของชาวอยุธยา รูปแบบการแต่ง แต่งเป็นกาพย์ยานี ห่อโคลงสี่สุภาพ เป็นการแต่งให้ข้อความในกาพย์และ โคลงคู่หนึง่ ๆ น้นั ลอ้ กัน หรือมเี น้ือความคลา้ ยคลึงกัน ตวั อย่าง กาพยห์ อ่ โคลงของพระศรมี โหสถ “หญิงชายหลายสํา่ ซอ้ ง มามีก่ อ้ งถ้องแถวทาง ฝูงบา่ วสาวสําอาง รางชางแกลง้ แต่งดูงาม โนเน หญงิ ชายหลายส่ําซ้อง ยั่วยิ้ม ฝูงบ่าวสาวสรวลเส ศวรราฃ ดูงานผ่านโลเก พรบึ พรอ้ มพรมา” แต่งแง่แพรพ่ รายพริ้ม คุณค่าของวรรณคดี เร่ืองกาพย์ห่อโคลงสะท้อนสภาพสังคมสมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น การเกี้ยวพาราสี ระหวา่ งชาย หญิง และความสนกุ สนาน ของชาวอยุธยา ดังตัวอยา่ ง ๏ ลางชายลายนุง่ เกย้ี ว ยกยา่ งเลย้ี วเอ้ียวโอนดู ดอกไม้ใส่หอ้ ยหู พรงั่ พรูบา่ ยมา่ ยเมยี งหญงิ เกไล ๏ ลางชายลายนุ่งเก้ียว จ่อชู้ ยกย่างพลางจงใจ เพราเพริด ทัดเพยียเขย่ี กนั ไร เสียดส้องแลหา ฯ เมี่ยงมา่ ยกลายกลางสู้

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๖ กวเี ลา่ ถึงพฤติกรรมของชายเจ้าชู้ทเ่ี ดินดูสาว เช่น ๏ เรียมฤาคอื บรรทดั ช่างชาญดดั ขัดเกลาขยัน ทอดเขียนเรยี นพระธรรม์ ใชส่ ั้นเคียวเบีย้ วบิดงอ บรรทดั ๏ ใจเรียมเทียมดุจด้วย รอบรู้ คนช่างเกลาเหลาดดั ธรรเมศ ทอดเขยี นระเมยี นอรรถ คดคอ้ มคมนา ฯ ใชอ่ ันสน้ั เคยี วคู้ บ่คดิ ชนมก์ ่นทางไป นานไกลสบพบมะโนหะรา ๏ เรียมคือพระสธุ น สุธน ข้ามเขาเซราชฤกไพร เช่ยี วชา้ ทนเทวศ ๏ เรียมคอื นฤเบศไท้ เช่นเช้ือสาวสวรรค์ ฯ บุกป่าฝ่าเซราชล เดินเดียวเปลี่ยวใจจน ตามนางทางเทียมฟ้า กวีกล่าวว่าใจของพี่เหมือนบรรทัด ม่ันในธรรม ซ่ือตรงต่อนาง เหมือนพระสุธนที่พยายาม ตดิ ตามนางมโนราห์โดยไม่คดิ ถึงความทกุ ข์ยาก

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๗ โคลงนิราศนครศรีธรรมราช (กําสรวลศรีปราชญ์) ผแู้ ต่ง ศรปี ราชญ์ ความเป็นมา ศรีปราชญ์แต่งเร่ืองนี้ เมื่อคราวถูกเนรเทศไปเมืองนครศรีธรรมราช ในแผ่นดิน ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่งเป็นทํานองนิราศพรรณนาแสดงความอาลัยอาวรณ์ท่ีต้องจาก นางอันเป็นที่รักไปไกล ศรีปราชญ์แต่งคําไหว้ครูชมกรุงนําเร่ืองแล้วพรรณนาจากกรุงศรีอยุธยาไป นครศรีธรรมราช ระคนกับความรู้สึกร้อนแรงโลดโผน มีความเปรียบท่ีน่าฟังอยู่หลายตอนและมี กลา่ วถงึ ศรีจุฬาลักษณ์อยู่ด้วย จึงคิดว่า คงจะเป็นพระสนม ซึ่งเป็นต้นเหตุให้ศรีปราชญ์ถูกเนรเทศก็ได้ แต่คงไม่ใช่คนรักของศรีปราชญ์ ในชุมนุมพระราชนิพนธ์และพระราชประวัติสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช กล่าวว่า ....น่าเชื่อว่า ศรีปราชญ์เขียนโคลง “กําสรวลศรีปราชญ์” เล่มน้ีทํานองเสียดสีเย้ย หยันสนมศรจี ุฬาลักษณ์ ซ่ึงเป็นค่วู ิวาทและเป็นต้นเรื่องทาํ ใหต้ นถกู เนรเทศในครัง้ นก้ี ็อาจเป็นได้ ตัวอยา่ ง คําไหวค้ รูชมกรุงนําเรอื่ ง ศรสี ทิ ธิวทิ ธบวร นครควรชํ ไกลพรหรงสรรค สวรรคแตง่ แต้ม แย้มพื้นแผ่นพสธุ า มหาดิลกภพ นพรตั นร์ าชธานี บรุ รี มยเมืองมง่ิ แลว้ แฮ ราเมศไทท้ ้าวตอ้ ง แต่งเอง ฯ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๘ ตัวอย่างโคลงบทท่ี ๑-๙ เป็นบทพรรณนาชมกรุงศรีอยุธยาและปชู นยี สถานทีผ่ า่ น เชน่ ๏ อยทุ ธยายศย่งิ ฟ้า ลงดิน แลฤา อํานาจบญุ เพรงพระ กอ่ เกื้อ เจดยี ล์ ออ อินทร ปราสาท ในทาบทองแลว้ เนื้อ นอกโสม ฯ จยรจนนทร แจ่มแฮ ๏ พรายพรายพระธาตุเจา้ ค่าํ เช้า ไตรโลกยเลงคอื โคม รจุ เิ รข เรืองแฮ พหิ ารรเบยี งบรร น่งงเนอื ง ฯ ทกุ แห่งห้องพระเจ้า โคลงบทท่ี ๑๓ และ ๒๘ กล่าวถงึ “ศรีจุฬาลกั ษณ์” ๏ หน้าเจา้ ชชู้ ้อยฉาบ แรมรักษ์ สาวสือ่ มาพลางลืม แลน่ ให้ บาศรีจุฬาลกั ษณ์ เสาวภาค กเู อยย รยมรยกฝงู เขา้ ใกล้ สง่ งเทา ฯ ๏ เดชานภุ าพเรอื้ ง อารักษ์ ทา่ นฮา รักเทพ* จําสารโดย บอกบา้ ง บาศรจี ฬุ าลกั ษณ์ ยศยิง่ พ้นู แม่ ไปย่อมโหย**ใหอ้ ้าง โอส่ าร ฯ คณุ คา่ ของวรรณคดี ๑. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ เป็นข้อมูลอ้างอิงช่วยในการสันนิษฐานได้หลายเร่ือง เช่น ผู้แต่ง น่าจะเปน็ ใครแน่ สภาพสังคมและความเป็นอยู่สมยั ที่แต่ง เปน็ ต้น ๒. คุณค่าทางภาษาและวรรณคดี เช่น ให้รู้และเห็นการเขียนภาษาแบบเก่า ซ่ึงคัดจากสมุด ไทย เสน้ ดินสอขาว ตวั หนา สังเกตว่าอกั ขรวธิ ีเกา่ กว่าฉบับอ่ืน แต่บางคําก็เผลอใช้อักขรวิธีใหม่ด้วยก็มี สําหรบั โคลงกาํ สรวลศรปี ราชญ์ฉบับน้ีได้พิมพ์โดยพยายามรักษาอักขรวิธีไว้ตามต้นฉบับ มีคําประพันธ์ บางบททเ่ี ปน็ อยา่ งแก่กวีทา่ นอืน่ ดงั ตวั อย่าง

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๕๙ ๏ โฉมแมจ่ ากฝากฟ้า เกรงอนิ ทร หยอกนา อินทรทา่ นทอกโฉมเอา สฟู่ า้ โฉมแมจ่ กั ฝากดนิ ดนิ ทา่ น แลว้ แฮ ดินฤขัดเจ้าหลา้ สสู ํ สองสํ ฯ อรรณพ แลฤา ๏ โฉมแมฝ่ ากนา่ นนํ้า พี่ไหม้ ยยวนาคเชยชํอก เทา่ เจา้ สงวนเอง ฯ โฉมแมใ่ ครสงวนได้ ในโคลงบทที่ ๑๐๓ ได้นําวรรคดีเรอื่ งอน่ื มาเปรยี บเทยี บ ๏ เพรงพลดั นรนารถสรอ้ ย ษีดา ยงงขวบคืนสํสอง เศกได้ สทุ ธนปู ระภาฟอง พดั จาก จยรแฮ ยงงคอบคนื หว้ายได้ ส่สู ํสองสํ ฯ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๐ อนริ ทุ ธคําฉันท์ ผู้แตง่ ศรีปราชญ์ ความเป็นมา เป็นวรรณคดีที่เช่ือกันว่า ศรีปราชญ์ บุตรพระมหาราชครูแต่งไว้ ในขณะที่ รับราชการอยู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีข้อสันนิษฐานเก่ียวกับมูลเหตุของวรรณคดี เร่ืองน้ีไว้ แต่งเพ่ือแข่งกับสมุทรโฆษคําฉันท์ เพ่ือแสดงความสามารถในเชิงการแต่งฉันท์ให้ปรากฏบ้างในส่วน ของกวที ่ไี ดเ้ ขียนจดุ มุง่ หมายของเรอ่ื งไวว้ ่า ๏ ดว้ ยเดชะบุญญา ธิการาอนั สมพงศ์ ผูฉ้ นั ทสนององค์ คณุ ทา่ นอนั สุนทร บขวางวายคํานึงกลอน ๏ จวงจดั อันมัน่ หมาย ดาํ รหิ ตรบิ เวน้ เวยี น บเหน็ แก่หลบั นอน แลสาํ เร็จกเ็ ร่งเขียน จํานงจิตตจินดา ๏ ครัน้ คาํ ฉนั ทกเ็ สร้จ จงึ เสร็จสาํ เรจ็ เพยี ร นอกจากน้ี ในสมดุ ไทยดําชุบรงค์ ๑๙/ง มผี เู้ ขยี นโคลงไวว้ ่าศรีปราชญเ์ ปน็ ผู้แตง่ ๏ จบอนิรุทเรอ่ื งเรือ้ ง รณรงค ศรปี ราชญป์ ัญายง แตง่ ไว้ ใครจแต่งปรสง เอาหยา่ ง นน้ี า นักเฟ่ืองฟเู กยี รติให้ เลอ่ี งลาํ้ ลาญผล อนิรุทธคําฉันท์ มีเน้ือความใกล้เคียงกับสมุทรโฆษคําฉันท์มาก เป็นเร่ืองเทพอุ้มสมเหมือนกัน แตไ่ ด้เค้ามาจากคติพราหมณ์ ตอน พระนารายณอ์ วตารมาเปน็ พระกฤษณะ ในเรื่องอ้างว่าพระอนิรุทธ เป็นพระนัดดาของพระกฤษณะ เร่ิมเร่ืองจากพระอนิรุทธไปบรรทมใต้ต้นไทรขณะท่ีไปพระพาสป่า ก่อนบรรทมได้กราบไหว้พระไทรก่อน พระไทรจึงเข้าไปอุ้มพระอนิรุทธให้ไปสมกับนางอุษา ธิดายักษ์ พานะ นางพิจิตรเลขาพี่เล้ียงได้สะกดพระอนิรุทธไปอยู่กับนางอุษาจึงเกิดสงครามระหว่างพระอนุรุทธ กับพญาพานะโดยพญายักษ์จับพระอนุรุทธด้วยศร ฤาษีนารทผ่านมาเห็นจึงไปทูลพระกฤษณะจึงยก กองทัพมาช่วยพระนัดดา ฝ่ายพญายักษ์ไปขอพระอิศวรช่วย ในท่ีสุดพานะก็ออกรบกับพระกฤษณะ และผ่ายแพพ้ ระอนิรทุ ธกับนางอษุ าจงึ ได้ครองกนั รปู แบบการแตง่ คาํ ประพันธท์ ใี่ ชเ้ ปน็ ฉันทแ์ ละกาพยบ์ างตอนนําร่ายมาปนกับฉันท์ มีบทไหว้ครู อยตู่ อนท้ายเร่อื ง การดาํ เนินในเร่อื งรวบรัด ลักษณะคาํ ประพันธบ์ างตอนคล้ายกลบท เชน่ ตอนท่พี ระอนริ ุทธรําพงึ ถงึ นางอุษา ขณะลงสรงในสระบัว

๏ บัวตูมตดิ ข้ัวบงั ใบ ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๑ ว่าเตา้ สุดาดวงมาลย์ บงั ใบทา้ วไท ๏ ดวงมาลย์บงกชเบกิ บาน เบกิ บานเปรมปาน ประภาคยพักตรพิมล นโิ ลตบลยล หฤไทยทา้ วไท ๏ พมิ ลเลงนิโลบล จลกลรสคน วา่ เนตรพิศพิสมยั ๏ พสิ มัยแลลาญหฤไทย ว่าแกว้ กใ็ ช่ดาลฉงน ๏ ดาลฉงนจงกลนีจงกล ธธารสธุ าทิพรส

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๒ คุณคา่ ของวรรณคดี เร่ืองอนิรุทธคําฉันท์มีความไพเราะอยู่หลายตอน ยกตัวอย่าง เช่น ตอนยกพล ประพาสป่า เช่น ๏ พลคชคชเมามนั ผกู จรขี รร คโตมร ภูษนาภรณ์ สรรพประดับมาศ ๏ พลคชคชสา่ ยสมร แลน่ กแ็ ล่นชน ประดบั ดาษ รานดระรง แยง่ ประแอกอาน ๏ พลคชคชนฤนาท ไกรกาํ เลาะไช ศแตง่ ตน ๏ พลคชคชราญรณ กช็ นชนะ ๏ พลคชคชสอดสนะ คเชีย่ วชาญ ๏ พลคชคชผลาญมาร ประดับไร ๏ พลคชคชเศิกไกษย ยชาญชเยศ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๓ คําฉนั ท์ดษุ ฎสี งั เวยกล่อมช้าง ผูแ้ ตง่ ขนุ เทพเกวี (พราหมณ)์ ความเป็นมา คําฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง มี ๒ สํานวน สํานวนแรก ขุนเทพกวีชาวเมือง สุโขทัย แต่งสํานวนสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คําฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง น้ีใช้ในพิธีสมโภช ชา้ งเผอื ก เปน็ การกลอ่ มชา้ งใหล้ ะพยศมาเป็นคู่บุญบารมีของกษัตริย์นั่นเอง รูปแบบการแต่ง คําฉันท์ที่เชื่อกันว่าขุนเทพกวีแต่งน้ีมีศัพท์เขมรและศัพท์โบราณมากนับว่า เป็นฉบับท่ีเก่าที่สุด แต่งด้วยฉันท์และกาพย์แบ่งเป็น ๓ ลา (ตอน) ได้แก่ สดุดีอวยสังเวย สดุดีขอช้าง และสดุดีกษัตริย์ คําฉันท์น้ีมี ๒ ส่วน ส่วนแรกน่าจะใช้ในพระราชพิธีสมโภชพระอินทร์ไอยราวรรณ วิสุทธ์ิราชกริณี ท่ีได้จากกาญจนบุรี ส่วนบทหลังน่าจะใช้กล่อมเจ้าพระยาบรมคเชนทร์ฉันทันต์ ช้างท้ัง ๒ เชือก นีไ้ ดใ้ นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชท้ังสิน้ ตัวอยา่ งคาํ ประพันธ์ ๏ เฌอไพรผองดูสรงม เฌอฉมันเฌอธนม ดูรใดดูเรียงเรื่อง พระแลผองเสยี ง แสรกเสียงกรุยเกรยี ว ๏ เขดาไถงสดบั ศัพทส์ ําเนยี ง กุกุรทรนม บิยมเสนาะกันเจรยี ว มฤคผองรัดดะโจรก ๏ อุกมุมปกั ษพี รรณเขียว เหริ ถกาดะทรนม ๏ พฤกษเถลิงสดับศัพทผองยม ดะพะหรู โอกโฮก ๏ เขดาไถงสดับศพั ทกโุ งก บเิ จรยี วจรงสบนา ดุษฎีสังเวยกลอ่ มชา้ งของเก่า ครง้ั กรุงเกา่ ตอนปลอบชา้ งว่าอยา่ คดิ ถึงพ่อ แม่พ่ีนอ้ งลูกเมยี ญาติมติ รและทพ่ี าํ นักในป่า ๏ อ้าพ่ออย่าคิดแก่ชนนี แลชนกในกลางไพร อา้ พอ่ อยา่ คดิ ภคินใี น พรสณฑสงึ สถาน อนั เสน่หนงพาล ๏ อา้ พอ่ อยา่ คิดคณผู้บตุ ร เหลนเหลอื คิดลดื แลพงษ์พันธ์ อา้ พอ่ อย่าคิดคชผ้หู ลาน สุขแลน่ พนาวนั พตหว้ ยฉทงึ ธาร ๏ อา้ พ่ออย่าคิดพนสรนกุ น์ิ ดในปา่ พฤษาสาร อา้ พอ่ อย่าคิดสุขในบรร อันเปน็ เพอื่ นในไพรพนม ๏ อ้าพอ่ อย่าคิดสขุ ในป่ง อ้าพ่ออยา่ คิดแก่บริพาร

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๔ คุณคา่ ของวรรณคดี ๑. ไดร้ บั ความรู้เกยี่ วกบั การกล่อมชา้ งเผือกใหล้ ะผยศมาเป็นคูบ่ ุญบารมีของพระมหากษัตรยิ ์ ๒. การใช้ภาษาเห็นภาพพจน์ เช่น “๏ อ้าพ่ออย่าคดิ แกช่ นนี แลชนกในกลางไพร อ้าพ่ออย่าคดิ ภคินีใน พรสณฑสึงสถาน”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๕ โคลงชลอพระพุทธไสยาสน์ ผู้แตง่ สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ ความเป็นมา เป็นเร่ืองเกี่ยวกับการยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงแต่งพระราชนิพนธ์ ในขณะที่ทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทา้ ยสระ สาเหตุทแี่ ตง่ มีดงั นี้ “กล่าวถึงการชลอพระพุทธไสยาสน์ที่วัดป่าโมกข์ ซ่ึงก่อนท่ีจะได้มีการพระราชนิพนธ์ เร่ืองนี้ พระ อธิการวัดป่าโมกข์ได้เข้ามาหาพระราชสงครามแจ้งความว่า นํ้ากัดเซาะตลิ่งพัง เข้ามาจวนถึงพระวิหารของ พุทธไสยาสน์ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระจึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชสงครามคิดทําการชลอพุทธ ไสยาสน์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ซึ่งในขณะนั้นยังเป็นพระมหาอุปราชได้ทัดทานไว้ด้วยทรงคิดว่าจะ ทําไม่สําเร็จ แต่พระราชสงครามก็สามารถทําได้สําเร็จ พระองค์จึงได้ทรงพระราชนิพนธ์เร่ืองนี้ไว้ เพ่ือยก พระเกียรติเป็นพ้นื นบั ว่าเป็นทน่ี ่าอศั จรรย์ เลอื่ งลอื ในบุญญาธิการพระเจา้ อย่หู ัวท้ายสระมาก” เนื้อความกล่าวถึงเหตุการณ์ว่า นํ้าได้กัดเซาะเข่ือนด้านตะวันออกเข้ามาจนเข้าพระวิหารพระพุทธ ไสยาสน์ ซ่ึงเป็นที่เคารพของประชาชน แม้ทางวัดจะจัดการแก้ไขไม่ได้ผล พระอธิการจึงร้องเรียนมายัง พระมหากษัตริย์ จึงมีดํารัสส่ังให้พระราชสงครามจัดการชลอพระให้พ้นนํ้า รายละเอียดตามพระราช พงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขากลา่ วไว้ รปู แบบการแตง่ คาํ ประพนั ธ์ในเรอ่ื งเปน็ โคลงส่ีสภุ าพ คณุ ค่าของวรรณคดี ๑. ด้านภาษา การใช้คําเดน่ ชดั โคลงเรือ่ งนน้ี ับวา่ มสี าํ นวนโวหารเชงิ กวดี ี เรอื่ งหนงึ่ เชน่ ขอพรพระพุทธห้าม สมุทรไทย ห้ามชลลัยไหล ขาดค้าง ขอจงองคภ์ วู ไนย ทกุ ทวีไป หา้ มหายมลายลา้ ง นอกเน้อื ในขนั ธ์ ๒. ดา้ นอารมณ์ พระองคท์ รงใชค้ ําพรรณนาใหม้ องเหน็ ภาพพจน์ เช่น เชอื กใหญใ่ ส่รอกรอ้ ย เรียงกระสนั กวา้ นชอ่ ชลอผันขนั ยึดยือ้ ลวดหนงั ร้ังพัลวัน พวนเพ่มิ โห่โหมประโคมอึงอื้อ จากเจา้ ประโคมไป

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๖ ๓. ด้านศาสนา เกี่ยวกับการนับถือพระพุทธศาสนา เช่น ขอพรพระพุทธรูปเรื้อง จอมตรยิ ์ ขอจงภดุ าธาร ทรงทวปี อนั ผจญพลมารดาล พา่ ยแพ้ เรอื งฤทธปิ ลดิ ไปลแ่ ปล้ ปราบท้าวทกุ สถาน

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๗ กาพย์เหเ่ รอื ผู้แตง่ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร หรือเจ้าฟา้ กงุ้ ความเป็นมา กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร เป็นวรรณคดีเร่ืองเอกในประเภทกาพย์เห่เรือ เพราะอ่านง่าย ไพเราะ โดยเฉพาะตอนเห่ชมขบวนเรอื กาพยเ์ หเ่ รอื ทําให้เกดิ ความเพลิดเพลิน ไม่คอ่ ยเหน่ือย ง่าย เพราะมันเพ่ิมความสนุกสนาน กาพย์เห่เรือ มี ๒ อย่างคือ เห่เรือหลวง เป็นการเห่ในพระราชพิธี โดยเฉพาะในการสงคราม เพื่อให้ได้ชัยชนะ และการเห่เรือเล่น เป็นการเห่เรือเล่น ๆของชาวบ้านท่ัวไป วัตถปุ ระสงคใ์ นการแตง่ เพอื่ ใช้ขบั เหใ่ นขบวนเรอื พระทนี่ งั่ เมอ่ื เสดจ็ ทางชลมารค (ทางนาํ้ ) เน้อื หาของกาพยเ์ หเ่ รือ กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรแบ่งเป็น ๒ ตอน คือตอนท่ี ๑ เป็นบทเห่ชมขบวนเรือพยุหยา ตราและเห่ชมธรรมชาติ พรรณนาถงึ เรอื พระที่น่ังสมรรถไชย ไกรสรมขุ สวุ รรณหงส์ เรือชยั เรอื หัวสัตว์ตา่ ง ๆ เช่น เรือครุฑ เรือคชสีห์ เรือม้า เรือนาค เรือมังกร เรือเลียงผา เรือนกอินทรี เป็นต้น ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นสัตว์ใน เทพนิยายที่ทรงพละกําลังและสง่างาม เป็นสัญลักษณ์แทนพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ผู้เป็นสมมุติ เทพ ต่อจากนั้นก็ชมปลา ชมไม้ ชมนก พบเห็นสิ่งใดก็ครํ่าครวญถึงความรัก ความอาลัยที่มีใจต่อนางเป็น ทาํ นองนริ าศ ซึง่ เป็นตอนท่ีนาํ มาให้เรยี น ตอนท่ี ๒ เป็นบทเก่เร่ืองกากี กล่าวถึงพญาครุฑลักพานางกากีไปวิมานฉิมพลี ต่อจากนั้นเป็นบทเห่ สังวาส ซึ่งเป็นบทส้ัน ๆ มีเนื้อหาแสดงความรักที่มีต่อนาง บทสุดท้ายเป็นบทเห่ครวญ ย้ําความอาลัยอาวรณ์ ทจี่ ําตอ้ งพรากจากนาง รูปแบบการแต่ง ขึ้นต้นด้วยโคลงสี่สุภาพ ๑ บท แล้วแต่งกาพย์ยานีเป็นพรรณนา หรือขยายความ ในโคลงสีส่ ุภาพโดยไม่จาํ กัดบท แลว้ จบด้วยโคลงสส่ี ภุ าพ ๑ บท ตัวอย่างกาพยเ์ หเ่ รอื โคลง ปางเสดจ็ ประเวศด้าว ชลาลัย ทรงรตั นพิมานชัย กิ่งแก้ว พร่ังพร้อมพวกพลไกร แหนแห่ เรอื กระบวนตน้ แพรว้ เพริศพริง้ พายทอง

กาพย์ ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๘ พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรอื งตน้ งามเฉิดฉาย ก่ิงแก้วแพรว้ พรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอน ล้วนรปู สตั ว์แสนยากร นาวาแนน่ เป็นขนดั สาครลัน่ ครั่นครื้นฟอง เรอื ริ้วทิวธงสลอน ลวิ้ ลอยมาพาผนั ผยอง รอ้ งโหเ่ หโ่ อ้เหม่ า เรือครุฑยดุ นาคห้วิ เพียงพมิ านผา่ นเมฆา พลพายกรายพายทอง หลงั คาแดงแยง่ มังกร แสงแวววบั จับสาคร สรมุขมุขสี่ด้าน ด่งั ร่อนฟา้ มาแดนดิน มา่ นกรองทองรจนา งามชดชอ้ ยลอยหลงั สินธ์ุ ลนิ ลาศเล่อื นเตือนตาชม สมรรถชยั ไกรกาบแกว้ รวดเรว็ จรงิ ยิ่งอยา่ งลม เรียบเรยี งเคยี งคู่จร ห่มทา้ ยเย่นิ เดินคกู่ ัน ดูดังเปน็ เหน็ ขบขัน สุวรรณหงสท์ รงพู่หอ้ ย คั่นสองคดู่ ูยิง่ ยง เพียงหงส์ทรงพรหมมนิ ทร์ เรือชยั ไววอ่ งวง่ิ เสียงเส้าเรา้ ระดม คชสหี ท์ ีผาดเผ่น ราชสหี ์ทย่ี นื ยนั คณุ ค่าของวรรณคดี ๑. ในด้านการใช้ภาษา กาพย์เห่เรือนับเป็นวรรณคดียอดเยี่ยมเพราะแต่งได้ดีมาก สามารถ พรรณนาความได้ละเอียดเหมาะกับเรื่องราว สามารถพรรณนาธรรมชาติได้สมจริง และโยงเข้าสู่เร่ืองของ ความรกั ได้สอดคลอ้ งต้องกนั ใช้ถ้อยคาํ ทม่ี คี วามหมายดี กาพยเ์ หเ่ รอื มอี ิทธิพล ๒. ต่อนักกวีรุ่นหลัง เช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ และ รัชกาลท่ี ๖ เป็นตน้ ยกตัวอยา่ งการใช้ภาษาพรรณนาได้ละเอียดเหมาะกับเร่อื ง เรอื ม้าหนา้ มงุ่ นาํ้ แล่นเฉ่ือยฉํ่าลําระหง เพยี งมา้ อาชาทรง องคพ์ ระพายผายผนั ผยอง โจนตามคล่นื ฝ่นื ฝ่าฟอง เรอื สงิ ห์วง่ิ เผน่ โผน เปน็ แถวท่องล่องตามกนั ดยู ง่ิ สิงหล์ ําพอง ดูเขม้นเหน็ ขบขนั ทันแข่งหนา้ วาสุกรี นาคาหน้าดงั เปน็ เพียงโจนไปในวารี มังกรถอนพายพนั มีปีกเหมือนเล่ือนลอยโพยม เลียงผางา่ เทา้ โผน นาวาหนา้ อนิ ทรี

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๖๙ ดนตรีมอี ึงอล ก้องกาหลพลแหโ่ หม โหฮ่ กึ ครึกครน้ื โครม โสมนสั ชน่ื รน่ื เริงพล จากนคเรศโดยสาชล กรีธาหมูน่ าเวศ ยลมัจฉาสารพันมี เหมิ หนื่ ชน่ื กระมล ๒. ด้านพระราชพิธี ประเพณีเห่เรือ อิทธิพลเร่ืองกาพย์เห่เรือ คือมีพระราชพิธีเห่เรือในสมัยรัชกาล ที่ ๔ และรัชกาลท่ี ๙ ทําให้มองเห็นความงามของขบวนพยุหยาตราทําให้ผู้อ่านหรือผู้ศึกษาเกิดความรักและ หวงแหนในประเพณีไทย

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๐ พระมาลัยคาํ หลวง ผแู้ ตง่ เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศร ความเป็นมา ความม่งุ หมายของเรอื่ งนี้ก็คอื เพอื่ อทุ ิศใหศ้ าสนาอนั จะชว่ ยใหผ้ ูท้ รงนพิ นธ์พบกับพระ ศรีอาริยเมตไตรย คนไทยแต่โบราณ เชื่อกันว่า พระมาลัยนําความมาบอกมนุษย์ให้สร้างกรรมดีจะได้ไปใน ศาสนาของพระศรอี ารยิ ์เมตไตรยทมี่ นุษย์ทุกคนจะมีความสุขถ้วนท่วั กัน รูปแบบการแต่ง คําประพันธ์ในเรื่อง เขียนเป็นร่าย ท่วงทํานองคล้ายกาพย์มหาชาติ ตอนท้ายสรุป ดว้ ยโคลงส่สี ภุ าพ ตวั อยา่ งคาํ ประพนั ธ์ ตอนเทพยาดาทมี่ าไหว้พระเจดียจ์ ฬุ ามณี เล่าถงึ ผลจากการทาํ บุญใหพ้ ระมาลัยฟงั ตอนเทพยดาทม่ี าไหวพ้ ระเจดียจ์ ุฬามณี เล่าถึงผลจากการทําบญุ ใหพ้ ระมาลยั ฟัง ๏ อปเร วีสติสหสฺเส ลําดับกันเทเวศร์ หน่ึงวิเศษจรจัล บังคมคัลสถูปรัตน์ รังษีชัชวาลชื่น เทพสองหมื่นบรรพสัช เทวราชชั้นกล่าวสาร ก่อนถึงกาลเทวบุตรเป็นมนุษย์ชนชาย เธอได้ถวาย บิณฑบาต สังฆ์อายาจน์โทนเท่ียว ทัพพีเดียวด่ังนั้นได้เสวยสวรรค์เทวฐาน มีบริวารสองหมื่น แม้น บุคคลอ่ืนอันอวย ทานสละสลวยแก่สงฆ์ให้ทานจงปูนกัน จะได้ผลน้ันเสมอสมาน บริวารมานเพียง นั้น สองหมื่นมั่นพรรณรายเทวาฉายรัศมี ถึงเจดีย์ก็บูชา สุคนธามาลย์มาศ ถวายอภิวาทเวียนวาร นิสที ิสถานอดุ รกป็ ระณมกรสถิต อยูแ่ ล ฯ ตอนพระศรอี าริยเมตไตรยฝากความพระมาลยั ไปบอกต่อชาวโลก ๏ โพธิสตฺโต ชมฺพูทีปมนุสฺสานํ พระเมตไตรยฟังสาร เธอเบิกบานหฤทัย โสมนัสสํใสศรัทธา ภิรมยาปราโมทย์ ด้วยมนุษย์โสดสร้างกุศล ท้าวธกล่าวกลสารส่ัง พระมายังมนุษา เมื่อเธอจะคลา นวิ ตั ร ยงั ชมพทู ีปถั คนื คง ขอพระองค์จงนาํ สาร ขา้ บรรหารกลา่ วแถลง เธอจงแจ้งแก่เวไนย แม้นผู้ใด จะใคร่พบ จงเคารพตามโอวาท ให้ทํามหาชาติเนืองนันต์ เคร่ืองสิ่งละพันจงบูชา ให้จบในทิวาวันนั้น ตั้งประทีปพันบูชา ดอกปทุมาถ้วนพัน บัวเผื่อนผันอินทนิลา ดอกมณฑาโดยจง เทียนแลธงฉัตรา เคร่ืองบูชาท้ังน้ี จงถ้วนถี่สิ่งละพัน คนทลิทนั้นตามสม โดย นิยมจะบูชา พระคาถาถ้วนพัน ให้สดับ ธรรมเ์ คารพ จนจวบอทุ าหรณ์ พระเวสสันดรนฤบาล ปัจฉิมกาลสมโพธิสมภารโสดอันอุดม เป็นท่ีสุด สมในชาตินั้น บูชาพระธรรม์จงครบ จ่ึงจะได้ประสพองค์ข้า เม่ือจะลงมาอุบัติ จะได้ดํารัสโพธิญาณ อันโอฬารอลังการ์ อันฝูงมนุสสาเหล่าน้ัน เขาจ่ึงจะทันศาสนา เฉพาะพักตราวิมลพรรณ ก็จะได้ถึง พระอรหนั ตธ์ รรมวเิ ศษ โดยประเภทกุศลา อันเขาส่าํ สมมา นนั้ แล ฯ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๑ คุณคา่ ของพระมาลยั คําหลวง ๑. สอนให้คนทาํ ความดี โดยการทําบุญในพระพุทธศาสนา ๒. การใชภ้ าษาชัดเจน รดั กมุ และสลวย เช่น “ ...ดว้ ยมนษุ ยโ์ สดสรา้ งกุศล ทา้ วธกลา่ วกลสารสัง่ พระมาลัยยังมนุษา...” “...ใหส้ ดบั ธรรมเ์ คารพ จนจวบจบอทุ าหรณ์ พระเวสสันดรนฤบาล....”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๒ แบบทดสอบบทท่ี ๓ ประวัติความเปน็ มาของวรรณคดี เรอื่ งท่ี ๒ วรรณคดสี มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา คําช้แี จง จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกต้อง ๑. คาํ ประพันธข์ องวรรณคดี เร่อื งลิลิตโองการแชง่ น้ําคอื ขอ้ ใด ก. ฉันท์ ข. โคลงกบั ร่าย ค. กลอนกันฉันท์ ง. โคลงกับกลอน ๒. วรรณคดที กี่ ล่าวถงึ เรื่องมหาเวสสันดรชาดก คือข้อใด ก. ลลิ ิตยวนพ่าย ข. ลิลติ โองการแช่งนํ้า ค. มหาชาติคาํ หลวง ง. อนริ ุทธ์คาํ ฉนั ท์ ๓. “ ๏ เสยี งลือเสยี งเลา่ อา้ ง อันใด พเี่ อย เสียงย่อมยอยศใคร ท่วั หลา้ สองเขอื พีห่ ลบั ใหล ลมื ต่ืน ฤาพี่ สองพี่คิดคดิ เองอ้า อยา่ ได้ถามเผอื่ ฯ” จากโคลงสี่สภุ าพนีเ้ ปน็ วรรณคดีเรอ่ื งใด ก. ลิลิตพระลอ ข. ลลิ ิตยวนพา่ ย ค. กาพยห์ ่อโคลง ง. โคลงโลกนติ ิ ๔. ลิลติ ยวนพา่ ย คาํ วา่ “ยวน” หมายถงึ อะไร ก. เชยี งใหม่ ข. ลําปาง ค. ลําพนู ง. แพร่

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๓ ๕. การสอนความซือ่ สตั ย์ จากคาํ โคลงทวี่ ่า “ใครคดใครซอื่ ร้าย ดีใด ก็ดี ใครใครค่ รองตนบยฬ ทา่ นมว้ ย ซ่ือนกึ แตใ่ นใจ จงซ่อน ก็ดี พระอาจลว่ งรู้ดว้ ย จุดหมาย” อยากทราบวา่ เปน็ วรรณคดีเร่ืองใด ก. สมุทรโฆษ ข. โองการแชง่ นา้ํ ค. ลิลติ พระลอ ค. ลลิ ิตยวนพ่าย ๖. คตเิ ตือนใจจากโคลงทศรถสอนพระราม คือขอ้ ใด ก. การปกครองบ้านเมืองและราษฎรให้เป็นสุข ข. ความเพยี รพยายามทํางานหนัก ค. ความกรณุ าปราณีแก่สรรพสัตว์ ง. การเพาะปลกู พชื ใหเ้ จรญิ งอกงาม ๗. วรรณคดเี รือ่ งใดสอนเกยี่ วกบั หลกั รบั ราชการ ก. เสือโคคําฉนั ท์ ข. สุภาษิตสอนสตรี ค. โคลงพาลีสอนน้อง ง. โคลงทศรถสอนพระราม ๘. เสอื โคคําฉนั ท์ใหค้ ตแิ กผ่ ้อู ่านอะไรบ้าง ก. ความอดทนของพระเจ้ายศภูมิ ข. ความกล้าหาญของนางทาสี ค. ความตอ้ งการนางจนั ทรของพระเจ้ายศภูมิ ง. ความซือ่ สัตยส์ จุ ริตของนางจนั ทรทีม่ ตี ่อคาวี ๙. วรรณคดีเร่อื งใดไดร้ ับการยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรว่าเปน็ ยอดวรรณคดปี ระเภทฉันท์ ก. เสือโคคาํ ฉันท์ ข. สมุทรโฆษคาํ ฉนั ท์ ค. อนริ ทุ ธ์คาํ ฉันท์ ง. สามคั คีเภทคาํ ฉนั ท์

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๔ ๑๐. คณุ คา่ ของโคลงนริ าศนครสวรรคท์ ําใหท้ ราบจดุ มงุ่ หมายตามขอ้ ใด ก. การเดนิ ทางไปนครสวรรคเ์ พอ่ื รบั ช้างเผือก ข. การไปราชการสงครามทจ่ี งั หวัดนครสวรรค์ ค. การไปรับตาํ แหนง่ เจ้าเมอื ง ง. การเสดจ็ ประพาสลา่ สตั ว์

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๕ เรื่องท่ี ๓ วรรณคดสี มยั กรุงธนบรุ ี วรรณคดีสมยั กรงุ ธนบรุ ี (พ.ศ.๒๓๑๐ – ๒๓๒๕) ในระหว่างท่ีเสียกรุงแก่พม่า เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐ วรรณคดีของไทยทรุดโทรมลงเป็นอย่างยิ่ง เราต้องสูญเสียหนังสือวรรณคดีไปเป็นอันมาก ท่ีสูญหายไปเลยก็มี ท่ีชํารุดเสียหายก็มี ประการหนึ่ง วรรณคดจี ะเจริญได้ก็ต้องอาศัยความสงบสขุ และความเจรญิ ของบ้านเมืองคู่กนั ไปด้วย แต่อย่างไรก็ตาม พระเจ้ากรุงธนบุรี (พระเจ้าตากสิน) ทรงกู้อิสรภาพได้ในปีที่เสียกรุงน่ันเอง วรรณคดีของไทยกลับต้ังตัวได้ใหม่ ประกอบกับความสนพระทัยของพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการเริ่ม แต่งหนังสือขึ้นใหม่ในระหว่างการฟ้ืนตัวและกู้เอกราชของไทย แม้ระยะเวลาของสมัยกรุงธนบุรีจะสั้น แค่เพยี ง ๑๕ ปี และเป็นระยะเวลาวกิ ฤติทางบา้ นเมอื งก็จรงิ แตไ่ ทยเรากย็ งั มีผแู้ ต่งวรรณคดี ดังนี้ ๑. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงแต่งบทละครรําเรื่อง รามเกียรต์ิไว้ ๔ ตอน สําหรับให้ละคร หลวงเลน่ คือ ตอนพระมงกุฎ ตอนที่ ๒ เป็นตอนหนุมานเก้ียวนางวารินทร์ ตอนที่ ๓ ตอนท้าวมาลีวราช วา่ ความ ตอนท่ี ๔ ตอนทศกัณฐต์ ง้ั พธิ ีทรายกรด ๒. หลวงสรวิชติ (เจา้ พระยาพระคลงั หน) แตง่ เรื่องลลิ ิตเพชรมงกฎุ และอเิ หนาคาํ ฉนั ท์ ๓. นายสวน (มหาดเลก็ ) แตง่ โคลงยอพระเกียรตพิ ระเจ้ากรุงธนบรุ ี ๔. ภกิ ษุอนิ แต่ง กฤษณาสอนน้องคาํ ฉันท์ (ปนกาพย์)

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๖ โคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจ้ากรงุ ธนบุรี ผแู้ ต่ง นายสวน มหาดเลก็ ความเป็นมา ในสมัยกรุงธนบุรีน้ันมีช่วงระยะเวลาเป็นราชธานีเพียง ๑๕ ปี ปรากฏ วรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติเร่ืองเดียว คือ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี เน้ือเรื่องกล่าวถึง พระราชกรณียกิจของพระเจ้ากรุงธนบุรีในด้านต่าง ๆ เช่น การรบ การปกครอง การศาสนาและการ สมโภชพระนคร มีโคลงท้ังหมด ๘๕ บท จุดมุ่งหมายในการแต่งเพ่ือสรรเสริญพระเจ้ากรุงธนบุรีและ ถวายความจงรักภักดี ดังจะเห็นไดจ้ ากโคลงบทที่ ๘๒, ๘๓ และ ๘๔ ความวา่ สนิ้ สุนทรพจนข์ า้ ขจายแจง ยงั ขาดกมลความแฝง อยู่บา้ ง หากมีภกั ดีแสดง โดยเลศ ควรมคิ วรคําอ้าง ผิดเพี้ยนขออภัย กตญั ญู คดิ ดว้ ยสจุ ริตด้วย ชน่ื ซรอ้ ง คณุ พระปกกระหม่อมชู ธรสดุ สนองนา หาสิ่งสนองภู เรอ่ื งไวเ้ ป็นเฉลิม จึงแต่งความขบวนต้อง อนาคต ปนิ่ เกลา้ หวงั ในกุลบตุ รเฟอื่ ง ราวเรื่อง สนองนา ให้ปรากฏเกยี รตยิ ศ คาํ ชีช้ มผล ไมย่ ศแตส่ ดับพจน์ กจ็ ะลาธุการเชา้ รูปแบบการแตง่ ใช้โคลงสีส่ ุภาพ การใช้ถอ้ ยคาํ สํานวนภาษาในโคลงยอพระเกียรติพระเจ้า กรุงธนบุรี ก็นับว่าเข้าใจง่ายกว่าวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังเช่น ในโคลงบท แรกไดบ้ อกไว้เรียบรอ้ ย ถึงผู้แตง่ ดว้ ยจุดม่งุ หมายอะไรและแต่งเมื่อใด เช่น “นายสวนมหาดเล็กเจ้า จอมกษตั รยิ ์ แถลงเร่ืองราชศรสี วัสด์ิ กราบเท้า ถวายตา่ งบษุ ปรตั น์ มาลธมาศ ภุมวารเดือนเก้า สบิ ขนึ้ เถาะตร”ี

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๗ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรีนี้จัดได้ว่าเป็นวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติท่ีบันทึกทาง ประวัตศิ าสตรไ์ ดด้ ีทส่ี ดุ ในสมัยนี้ คณุ คา่ ของวรรณคดี ๑. สภาพบ้านเมืองในสมัยกรุงธนบุรี เร่ืองนี้เป็นคําพรรณนาสภาพบ้านเมืองในสมัย กรุงธนบุรี บรรยายภาพปราสาทราชวัง โรงสรรพาวุธ โรงช้าง โรงม้า สนมกํานัล สดุดีและวิงวอนส่ิง ศกั ด์สิ ทิ ธใิ์ หค้ ุ้มครองพระเจ้ากรงุ ธนบุรี ๒. พระราชกรณียกิจของพระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินทราบข่าวว่า กรุงศรี อยุธยาเสียให้แก่พมา่ แลว้ พระองค์จึงยกกองทพั จากจนั ทบรุ ีมายังกรงุ ธนบรุ ี เพือ่ กอบกู้อสิ รภาพ ความ ว่า “จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุน นพศก พระเจ้าตากสิน ทราบว่า กรุงศรีอยุธยาพินาศ เสนาพฤฒามาตย์ ราษฎร ได้รับความทุกข์ยาก ลําบาก ศาสนาเศร้าหมอง พม่าตั้งพระนายกองรั้งเมืองและผู้ครองเมือง เอก โท ตรี จัตวา บรรดาเมืองข้ึนตั้งตัวเป็นใหญ่ พระองค์จึงทรงพระราชอุตสาหะยกพลทหารพร้อม ดว้ ยศาสตราวุธเปน็ จํานวนมากออกจากจันทบุรโี ดยทางชลมารค” ๓. ให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์คือ แสดงให้เห็นถึงการปกครองราชธานี หรือ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีคงดําเนินตามแบบท่ีใช้กันอยู่ใน สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ส่วนกองทหารมีสมุหกลาโหม (เจ้าพระยามหาเสนา) เป็นหัวหน้าฝ่าย พลเรือน มีสมหุ นายก (เจ้าพระยาจักร)ี เปน็ หวั หนา้ กบั มีตาํ แหน่งเสนาบดีจตุสดมภอ์ ีก ๔ ตําแหนง่ คอื - กรมเมอื ง (นครบาล) ปกครองในเขตราชธานี - กรมวงั (ธรรมาธิกรณ์) เก่ียวกับพระราชสํานกั - กรมพระคลัง (โกษาธิบด)ี การรบั จา่ ยเงินของแผน่ ดนิ - กรมนา (เกษตราธกิ าร) มีหน้าทีเ่ กีย่ วกบั เรื่องสวนไรน่ าและเสบียงอาหาร

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๘ นริ าศกวางตงุ้ ผูแ้ ตง่ พระยามหานภุ าพ (อ้น) ความเป็นมา เพ่ือบันทึกเหตุการณ์ขณะเดินทางไปเมืองจีน เม่ือพระเจ้าตากสินข้ึน ครองราชย์ ได้โปรดให้แต่งทูตไปเมืองจีน เพื่อให้ราชสํานักจีนยอมรับการต้ังราชวงศ์ใหม่ของไทยใน เฉยี นหลงตงฮวาลู่ เลม่ ที่ ๖๘ บนั ทึกไว้วา่ “เจงิ้ เจา”คอื พระเจ้ากรุงธนบุรีสําเนียงปักก่ิง ได้ส่งเฉินเหมย นําพระราชสาส์นไปเมืองจีน การแต่งทูตไปเมืองจีนตลอด ๑๐ ปี ทําให้รัฐบาลจีนยอมรับรัฐบาลไทย จัดกําหนดให้ไทยไปจิ้มก้องในปี ๒๓๒๔ เป็นปีแรก พระยามหานุภาพจึงได้เดินทางไปกับคณะทูตและ ได้แต่งนิราศกวางตุ้งไว้ ความมุ่งหมายในการแต่งเพ่ือบันทึกเหตุการณ์ขณะเดินทางและยอพระเกียรติ พระเจ้ากรุงธนบรุ ี รูปแบบการแต่ง ทํานองแต่งเป็นกลอนนิราศ ถ้อยคําสํานวนท่ีใช้เหมาะสม ไม่มีศัพท์มาก เกนิ ไป อา่ นแลว้ เขา้ ใจง่าย เนื้อหาแบง่ ออกเป็น ๔ ตอน คอื ตอนท่ี ๑ กล่าวถึงจุดหมายในการแต่ง ชมการจัดขบวนเรือคณะทูต การจัดเครื่อง บรรณาการและพระราชสาสน์ กล่าวแสดงความอาลยั บ้านเมืองท่ีจะต้องจากไปไกล ตอนท่ี ๒ กล่าวถึงการเดินทางผ่านสถานที่ต่าง ๆการผจญภัยในท้องทะเลลึก เช่น ปลาวาฬ พายุใหญ่ เปน็ ตน้ ตอนที่ ๓ กล่าวชมบ้านเมืองของชาวจีน การเชิญพระราชสาส์นและนําเคร่ืองราช บรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงจนี ตอนที่ ๔ กล่าวถงึ ความยนิ ดที จ่ี ะไดก้ ลบั บ้านเมืองด้วยความปลอดภัย กล่าวขอบคุณ ส่ิงศักดิ์สทิ ธิท์ ีป่ กั กงิ่ และสุดท้ายกล่าวสรรเสรญิ พระเจา้ กรุงธนบุรี คณุ ค่าของวรรณคดี ๑. ความไพเราะของนิราศกวางตุ้งนับว่าพระยามหานุภาพ (อ้น) เป็นกวีฝีปากเอกท่ี น่ายกย่อง คํากลอนทีไ่ พเราะ เชน่ “ครงั้ เรอื ล่องคล้อยคลองตลาดเลี้ยว ตลงึ เหลยี วแลว้ ชลนัยไหล จะจากเรือจากเพ่อื นอภิรมยไ์ กล ดงั่ สายใจนี้จะขาดจากอาตมา” ๒. บันทึกนิราศเป็นลายลักษณ์อักษร จะเห็นได้ว่าจดหมายเหตุหรือนิราศเร่ืองนี้เป็น วรรณกรรมที่ให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์ไทยอย่างใหญ่หลวง นับว่า พระมหานุภาพเป็นผู้บุกเบิก หนทางให้กวีรุ่นต่อ ๆ มาได้เอาอย่าง คือการบันทึกเหตุการณ์ เพราะว่าคนไทยไม่ชอบบันทึกหลักฐาน ต่าง ๆ ส่วนมากจะได้จากจดหมายเหตุของจีนซ่ึงบันทึกเรื่องราวไว้ เก่ียวกับประวัติศาสตร์ไทย เช่น การจ้ิมก้อง การขายเครื่องราชบรรณาการนอกจิ้มกอ้ ง

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๗๙ ๓. คณุ ค่าทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเร่อื งนี้ใหค้ ุณคา่ ทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งมาก เชน่ คํากลอนท่ี ๑๖ – ๒๖ กล่าวถึงลักษณะการจัดคณะทูต การจัดเคร่ืองราช บรรณาการ และการเชิญพระราชสาสน์ คํากลอนท่ี ๕๒ – ๕๔ สะท้อนให้เห็นพระจริยวัตรของพระเจ้ากรุงธนบุรีท่ีชอบทาง วปิ สั สนากรรมฐาน คํากลอนท่ี ๓๓๐ – ๓๔๔ กล่าวถึงบุญบารมีและลักษณะวสิ ยั ของพระเจ้ากรงุ ธนบุรี ยกตัวอยา่ งนิราศกวางตุ้ง บางตอนดังต่อไปนี้ “ครั้นถึงวนั ภุมเชษฐมาสี กาฬปกั ษด์ ถิ ีสิบสามค่ํา เมื่อโมงสองบาทเชา้ พอเงาง้าํ สบิ เอด็ ลําบังคมลาแลว้ คลาไคล ราชทูตรบั พระราชสาสน์ และควบคมุ เรอื ซ่ึงบรรทกุ เคร่อื งราชบรรณาการ ดงั คํากลอนท่วี ่า “จงึ พระบาททรงราชนิพนธส์ าร เป็นตะพานนพคณุ ควรสงวน ใหเ้ ขยี นสารลงลานทองทวน จดั สว่ นบรรณาการละลานตา อนง่ึ นอกจมิ้ ก้องเป็นของถวาย ก็โปรยปรายประทานไปหนกั หนา ท้งั นายหา้ งขุนนางในนคั รา ให้มตี ราบวั แกว้ สําคัญกัน แล้วจดั ทูตทลู คําใหจ้ าํ สาร บรรณาการพรอ้ มสิ้นทุกสิ่งสรรพ์ ทัง้ ของแถมแนวความนน้ั งามครัน เปน็ กาํ นัลถวายนอกบรรณาการ” เรือของคณะทูตใช้ใบแล่นตัดมหาสมุทรผ่านหน้าเมืองพุทไธมาศ เมืองป่าสัก เมืองญวนถึงเกาะ มาเกา๊ นบั เวลาต้งั แตอ่ อกเรอื ได้ ๓๓ วัน จนี จงเอยี้ ซึ่งคุมคนรักษาอยู่มาถามเรื่องราวเมื่อรู้ว่าเป็นทูตจึงให้ ทหาร ๓๐ คนคอยป้องกันให้ความสะดวก เรอื ข้ามคลองไป ๒ คืนถึงเมืองกวางตุ้ง รออยู่จนถึงวันอาทิตย์ เดือน ๑๐ เจ้าหน้าที่จึงมารับไปพักที่ตําบลกงกวน จากนั้นจึงให้คนเร็วไปติดต่อกรุงปักก่ิงใช้ม้าไปกลับ ๒๗ ราตรีถึงเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๐ ค่ํา เจ้าหน้าที่มารับทูตไปไหว้ป้ันสือในเมือง ถึงเดือน ๑๒ วันศุกร์ข้ึน ๓ คํา่ จึงใหอ้ ัญเชิญพระราชสาสน์ ไปถวาย บอกวา่ ใช้เวลาถงึ ๓ เดือน เครื่องราชบรรณาการที่คุมไปน้ันนอกเหนือจากที่เคยส่งแต่โบราณ อนุญาตให้นําออกขายได้ดัง คํากลอนท่ีว่า ให้ส่งทตู ไปถวายอภวิ าท ตามราชพระตาํ ราบุราณสาร กบั ส่ิงของในคลองบรรณาการ ท่ีนอกอย่างบุราณมมี า นน้ั ไม่รับครัน้ จะกลบั ให้คนื ของ ระวางคลองเหมอื นไมแ่ สนเสนห่ า เสียดายราชไมตรีท่ีมีมา ทางทะเลกเ็ ปน็ ท่ากนั ดารนาน ก็ควรขายจําหน่ายเอาคณุ ทรัพย์ ให้คนื กลบั อยุธยามหาสถาน แต่ช้างนอนั้นเป็นข้อประสงคน์ าน ให้บอกบรรณาการข้นึ ส่งไป อันจังกอบสินค้าบรรดาของ นน้ั ปองโปรดปรานประทานให้ ให้นายหา้ งปรกึ ษาขา้ หลวงไทย ตามใจจาํ หนา่ ยขายกัน

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๐ แบบทดสอบบทที่ ๓ ประวตั ิความเปน็ มาของวรรณคดี เร่อื งที่ ๓ วรรณคดสี มัยกรงุ ธนบรุ ี คําชแี้ จง จงเลอื กคําตอบทีถ่ กู ต้องท่ีสุด ๑. วรรณคดีทสี่ ําคญั สมัยกรงุ ธนบุรี มีจาํ นวนก่เี รื่อง ก. ๓ เร่อื ง ข. ๖ เรือ่ ง ค. ๘ เรือ่ ง ง. ๑๑ เร่อื ง ๒. ข้อใดไม่ใช่วรรณคดสี มยั กรงุ ธนบรุ ี ก. รามเกียรต์ิ ข. ลลิ ิตเพชรมงกุฎ ค. อิเหนาคําฉันท์ ง. ขุนชา้ งขนุ แผน ๓. สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบุรี ทรงแต่งวรรณคดีเรือ่ งใด ก. ราชาธิราช ข. สามก๊ก ค. รามเกยี รต์ิ ง. อิเหนา ๔. ผแู้ ตง่ เรอ่ื งโคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจ้ากรงุ ธนบุรี คอื ใคร ก. หลวงสรวชิ ิต ข. นายสวน มหาดเล็ก ค. พระมหานภุ าพ ง. ภกิ ษอุ ิน ๕. พระมหานุภาพ เปน็ กวแี ต่งวรรณคดี เร่อื งใด ก. นริ าศกวางตุ้ง ข. กฤษณาสอนนอ้ งคําฉนั ท์ ค. อิเหนาคาํ ฉนั ท์ ง. ลิลติ เพชรมงกุฎ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๑ ๖. สาเหตขุ องวรรณคดหี ลงั กรุงศรีอยธุ ยามคี วามทรดุ โทรมมากเพราะเหตใุ ด ก. ขาดกวเี อก ข. ผูน้ ําไมส่ ง่ เสริม ค. ประชาชนไม่เห็นความสาํ คญั ง. กรงุ ศรีอยธุ ยาเสยี แกพ่ มา่ พ.ศ. ๒๓๑๐ ๗. จุดมุง่ หมายของการแต่งโคลงยอพระเกียรตพิ ระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี คืออะไร ก. เพอ่ื เผยแพร่ผลงานสาํ คญั ข. เพอื่ ใหเ้ ป็นทรี่ ูจ้ กั ของคนต่างชาติ ค. เพื่อสรรเสรญิ พระเจ้ากรุงธนบุรี ง. เพือ่ ให้ประชาชนทราบพระราชกรณียกิจ ๘. ข้อใดไมไ่ ด้กลา่ วถึงในพระราชกรณียกิจของพระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี ก. การรบ ข. การปกครอง ค. การศาสนา ง. การศึกษาของประชาชน ๙. ความมุ่งหมายในการแต่งนริ าศกวางตงุ้ คืออะไร ก. เพื่อบนั ทกึ ารเดินทางไปจนี ข. เพื่อเผยแพร่การเดนิ ทางให้คนจนี ทราบ ค. เพอื่ ตดิ ต่อการคา้ ขายกบั เพ่ือนบ้าน ง. เพือ่ สง่ เสรมิ และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ๑๐.พระมหานุภาพ ใหป้ ระชาชนรุ่นหลังเห็นคุณค่าของวรรณคดีในด้านใด ก. การค้าขาย-การลงทุนกบั จีน ข. การเดินทางไปตา่ งประเทศ ค. จดหมายเหตุ-บันทกึ เหตกุ ารณ์ ง. การพดู ภาษาจนี กับชาวจีน

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๒ เร่ืองท่ี ๔ วรรณคดีสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราชถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.๒๓๒๕ – ๒๔๖๘) มีวรรณคดีท่ี สาํ คญั ได้ ยกตัวอยา่ งมาใหเ้ รยี นรูบ้ างเรอื่ ง ดงั นี้ ๑. รัชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีวรรณคดีเรื่อง นิราศรบ พม่าที่ท่าดินแดง รามเกียรติ์ กฎหมายตราสามดวง ราชาธิราช สมบัติอมรินทร์คํากลอน สามก๊ก เปน็ ตน้ ๒. รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีวรรณคดี เร่ืองขุนช้างขุนแผน อเิ หนา สวัสดิรักษา สภุ าษิตสอนสตรี เปน็ ตน้ ๓. รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หัว มีวรรณคดี เรอื่ ง โคลงโลกนิติ เป็นตน้ ๔. รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีวรรณคดี เร่ือง นิราศลอนดอนของ หม่อมราโชทยั เป็นตน้ ๕. รัชกาลท่ี ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีวรรณคดี เรื่อง พระราชพิธีสิบ สองเดอื น ไกลบ้าน ของรชั กาลท่ี ๕ เปน็ ตน้ ๖. รชั กาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีวรรณคดี เรื่อง โคลงกลอนของครู เทพ หัวใจนักรบ เป็นต้น

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๓ นริ าศรบพมา่ ทที่ ่าดินแดง ผู้แต่ง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ความเป็นมา ทรงพระราชนิพนธ์เสด็จกรีฑาทัพไปตีพม่าที่ท่าดินแดง ปลายน้ําไทรโยค จงั หวดั กาญจนบุรี เปน็ นิราศเรื่องแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงนิพนธ์ได้ไพเราะไม่เยิ่นเย้อ มีความ เปรียบเทยี บดี นบั เป็นนิราศเรอ่ื งแรกแหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ที่ทรงคณุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์ของไทย รูปแบบการแต่ง แต่งเป็นกลอนเพลงยาวในลกั ษณะนริ าศ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการแตง่ คือ ๑. เพ่ือเปน็ การบนั ทกึ เหตกุ ารณ์สําคัญไวเ้ ป็นหลักฐาน ๒. เพอ่ื แกค้ วามรําคาญและความเหนือ่ ยอ่อนในการเดนิ ทางไกลไปรบกบั พมา่ โดยทางเรอื ๓. เพื่อเป็นกําลังใจแก่กวีท้ังปวงจะได้มีกําลังใจในการแต่งกวีให้ดีให้มีช่ือเสียง เพราะขนาดพระมหากษตั รยิ ก์ ็ยงั ทรงหาเวลาพระราชนพิ นธ์บทกวี สาระสําคญั เริม่ ต้นเปน็ การราํ พงึ รําพันถึงคนรัก อันได้แก่ พระมเหสีและพระสนม จากนั้นมี การพรรณนาถึงสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีผ่านมาพบเห็นในการเสด็จทางชลมารคหรือทางนํ้า ตามทาง สถลมารคหรือทางบก เมื่อไปถึงกาญจนบุรี ทรงตั้งค่ายอยู่ที่ด่านท่าขนอน ทรงบรรยายถึงการรบกับ พมา่ จนได้รบั ชยั ชนะ คณุ ค่าของวรรณคดี ๑. ไดท้ ราบว่าทรงประกาศพระราชปณิธานไว้และทรงกระทาํ ได้สําเร็จ คอื “ต้งั ใจจะอปุ ถมั ภก ยอยกพระพุทธศาสนา จะป้องกนั ขอบขณั ฑสีมา รกั ษาประชาชนและมนตรี” ๒. ในทางอักษรศาสตร์ เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดงเป็นนิราศเรื่องแรกแห่งกรุง รัตนโกสนิ ทร์ ใช้ถ้อยคําส้นั กะทัดรดั ง่ายแก่การเข้าใจ ๓. ในทางประวตั ศิ าสตร์ เปน็ การบนั ทึกการรบกบั พมา่ ที่ใช้เวลาเพยี ง ๓ วันเท่านั้น ไทยก็ สามารถเอาชัยชนะได้ ๔. ในทางศาสนา ช้ีให้เห็นวา่ พระมหากษัตริย์มีความเลอื่ มใสในพระพทุ ธศาสนามาก จะมี ประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติและประชาชนตอ่ ไป ๕. ทําใหผ้ ู้อา่ นเหน็ ภาพสภาพการรบไทยกับพมา่ เชน่ “ใหท้ หารเข้าหักโหมโรมรนั สามวันพวกพม่าก็พงั พา่ ย แตกยบั กระจัดพลัดพราย ทงิ้ ค่ายคอยน้อยใหญ่ไมต่ ่อตี ใหต้ ดิ ตามไปจนแม่กษัตรา เหล่าพมา่ รีบรัดลัดหนี บ้างกต็ ายก่ายกองในปถั พี ด้วยเดชะบารมีทที่ ํามา”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๔ รามเกยี รต์ิ ผแู้ ต่ง พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ความเป็นมา รามเกียรต์ิ เป็นนิทานโบราณจากเร่ืองรามายณะของอินเดีย เป็นเรื่องท่ีเช่ือ กันว่าเป็นเรื่องจริงท่ีเกิดขึ้นในอดีต แล้วเล่าสืบต่อกันมา ถือกันว่าเป็นเรื่องท่ีมีคติธรรมเล่ากันว่า ฤาษี วาลมีกิ เป็นผู้แต่งเร่ืองรามายณะในสมัยท่ีพระรามยังมีชีวิตอยู่ (เช่ือกันว่าพระรามมีอายุถึง ๑๐,๐๐๐ ปี) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและนักปราชญ์ราชบัณฑิตหลายคนช่วยกันแต่ง ทา่ นผใู้ ดแต่งตอนใดไมป่ รากฏหลักฐานบง่ บอกไว้ แตง่ เสร็จแลว้ เมอื่ พ.ศ.๒๓๔๐ รูปแบบการแตง่ แตง่ เปน็ กลอนบทละคร โดยมตี อนต้นเปน็ รา่ ยคนั่ ๑ บท วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อให้เรื่องรามเกียรต์ิมีเนื้อหาสมบูรณ์ ใช้เป็นบทละครสําหรับ เล่นละครใน เพ่ือปลุกใจประชาชนให้มีความกล้าหาญรักประเทศชาติบ้านเมือง เพื่อให้ความบันเทิง เริงรืน่ กบั ประชาชน และเปน็ คติสอนใจใหเ้ หน็ ว่าธรรมะย่อมชนะอธรรม สาระสําคัญ เริ่มต้นเป็นเรื่องของหิรันตยักษ์ม้วนแผ่นดิน พระนารายณ์เสด็จอวตารลงมา ปราบยุคเข็ญในโลกมนุษย์ ต่อมากล่าวถึงกําเนิดมนุษย์ ฝ่ายพระรามกําเนิดอสูร ต้นสกุลทศกัณฐ์ กําเนิดวานรทหารพระราม ต่อไปเป็นเร่ืองสงครามระหว่างพระรามกับยักษ์ พระรามไม่พอใจนางสีดา ที่วาดภาพของทศกัณฐ์ ด้วยความหึงหวงมากจึงบันดาลโทสะส่ังให้พระลักษณ์นํานางสีดาไปประหาร แต่พระลักษณ์ปล่อยตัวไป ภายหลังพระนางสีดาได้ประสูติพระโอรส พระรามไปรับและคืนดีกับ พระนางสดี า สดุ ทา้ ยพระรามได้เป็นกษตั ริยค์ รองกรุงศรีอยุธยา ตัวอยา่ ง ตอนกําเนดิ พระรามตามเทวบัญชาของพระอศิ วร เจา้ ไปเถิดเกดิ เปน็ กษัตริย์ สุรยิ วงศจ์ ักรพรรดิมหาศาล ทรงนามพระรามอวตาร ในสถานกรงุ ศรีอยุธยา จักรเปน็ พระพรตยศยง ถดั องค์พระนารายณ์เชษฐา ฝ่ายสงั ขบ์ ัลลงั กน์ าคา เปน็ พระลกั ษณอ์ นชุ าฤทธริ อน อันซ่งึ คฑาวราวุธ เปน็ พระสตั รดุ ชาญสมร องคพ์ ระลักษณ์มบี งั อร ไปเกิดในนครลงกา คณุ คา่ ของวรรณคดี ๑. คุณค่าด้านคุณธรรม แก่นของเร่ืองเป็นเร่ืองที่แสดงการต่อสู้ระหว่างฝ่ายธรรมะกับ ฝา่ ยอธรรม ในทส่ี ดุ ฝ่ายธรรมะตอ้ งชนะเสมอ ตัวเอกในเรื่องเปน็ บคุ คลท่ีมีคณุ ธรรมเป็นคนในอดุ มคติ ๒. คุณค่าด้านการบันเทิง รามเกียรติ์เป็นบทพากย์หนังใหญ่ บทภาคโขน บทละครใน อนั ถือว่าเปน็ ละครชน้ั สูงในการให้ความบันเทิง

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๕ ๓. คุณค่าด้านจิตกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป์ เก่ียวกับเร่ืองรามเกียรต์ิมีเป็นอันมาก เช่น จติ รกรรมฝาผนังตามวดั ต่าง ๆ เทวรูป และการแสดงระบํา รํา ฟอ้ น ฯลฯ ๔. คุณค่าด้านวรรณคดี เป็นแม่บทของวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ จํานวนมาก รวมท้ัง บทร้อยกรอง สุภาษติ สํานวน ช่อื ต่าง ๆ

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๖ กฏหมายตราสามดวง ผู้แตง่ รชั กาลที่ ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชและอาลกั ษณ์ ลกู ขุนราชบณั ฑิต ความเปน็ มา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ทรงให้ชาํ ระสะสางเสียใหม่ เพราะกฎหมายบางฉบับดูขัดกัน จึงมีพระดํารัสให้ราชบัณฑิต อาลักษณ์ ตุลาการ ช่วยกันชําระสะสาง เสียใหม่ เม่ือร่างเสร็จให้เขียนลงในสมุด ๓ เล่ม และโปรดให้ประทับตราไว้เป็นสําคัญ ๓ ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (ตราประจําตําแหน่ง สมุหนายก อัครมหาเสนาบดี ฝ่ายพลเรือน ปัจจุบันเป็น กระทรวงมหาดไทย) ตราคชสีห์ (ตราประจําตําแหน่งสมุหกลาโหม อัครมหาเสนาบดี ฝ่ายทหาร ในปัจจุบัน) ตราบัวแก้ว (ตราประจําตําแหน่งโกษาธิบดี เสนาบดีกระทรวงการคลัง) จึงเรียกกฎหมาย ท้ัง ๓ เล่มรวมกันว่า “กฎหมายตราสามดวง” ซึ่งกฎหมายน้ีเดิมชุดหนึ่งมึ ๔๑ เล่ม รวม ๓ ชุด เป็น ๑๒๓ เล่ม ปจั จุบนั นเ้ี หลอื เพียง ๗๙ เล่ม อยู่ท่กี ระทรวงยตุ ิธรรมและหอสมดุ แหง่ ชาติ รูปแบบการแต่ง แต่งเป็นร้อยแก้ว วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อรวบรวมของเก่ามิให้สูญ หายและเพ่ือใช้เป็นกฎหมายที่ถูกต้องเป็นธรรม บทบัญญัติที่นํามารวมไว้ในกฎหมายตราสามดวง มี ท้ังหมด ๒๘ เร่ือง เร่ิมจากหมวด พระธรรมศาสตร์หลักอินทรภาษ กฎหมายมณเทียรบาล พระ ธรรมนญู ไปจนถึงพระราชกําหนดเก่า พระราชกาํ หนดใหม่ พระอัยการพรหมศักด์ิ ฯลฯ ตัวอยา่ ง ความบางตอนจากหมวดลกั ษณ์ อนิ ทรภาษ “คัมภัร์ อันมีนามอันชื่อว่า อินทรภาษ ฯลฯ ตามถ้อยคําของอาจารย์ นําสืบมาอันจะทําให้ เป็นคุณแก่บุคคลผู้พิพากษา ... คัมภีร์ลักษณะหลักอินทรภาษนี้เน้ือความตามอธิบาย อันโบราณ จารย์รจนาลิขิตไว้... บุคคลใดจะเป็นผู้พิพากษา ตัดสินคดีการแห่งมนุษย์นิกรท้ังหลายพึงกระทํา สันดานให้นิราศปราศจากอคติทั้ง ๔ คือ ฉันทาคติ โทษคติ ภยาคติ โมหคติ ท้ัง ๔ ประการน้ีเป็น ทุจริตธรรม” คุณค่าของวรรณคดี ๑. คุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม กฎหมายตราสามดวงทําให้เราทราบชีวิต ความเป็นอยู่ของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นว่า ยังเต็มไปด้วยความเชื่อถือในด้านไสยศาสตร์ จะเห็นได้ จากการมีกฎหมายฝังรูปฝังรอย กฎหมายดํานํ้า ลุยเพลิง ได้รู้ความเป็นมาของกฎหมายไทยว่า เรามี ววิ ฒั นาการมาอย่างไร ๒. การใช้สํานวนภาษา การแต่งประโยค เข้าประโยคของกฎหมายสมัยนั้น รู้จักศัพท์เก่า ๆ การถอดรอ้ ยแก้วจากคาถาที่ปรากฏในคมั ภรี ์พระธรรมศาสตร์ เป็นตน้ ๓. การปกครอง ไดเ้ ปน็ หลักในการปกครองบา้ นเมืองมาได้ระยะหนงึ่

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๗ ราชาธริ าช ผแู้ ตง่ เจ้าพระยาพระคลงั (หน) ความเป็นมา รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่งจากพงศวดารมอญ เม่ือ พ.ศ.๒๓๒๘ โดยแถลงความมุ่งหมายไว้ที่บานแผนก กล่าวถึงเหตุการณ์สงครามระหว่างมอญกับ พม่า ซึ่งมอญเป็นฝ่ายชนะเสมอ อาจมีพระราชประสงค์แฝงอยู่ คือเป็นการปลุกใจและสอนใจทหาร หาญของพระองค์ เพราะในสมัยน้นั พระเจ้าปะดงุ กษตั รยิ พ์ ม่ายกทัพตีไทยหลายคร้ัง ครั้งที่สําคัญที่สุด ได้แก่ ศึก ๙ ทัพ ในปี พ.ศ.๒๓๒๘ หลังจากสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เพียง ๓ ปี เพื่อแสดงว่า พม่า ไม่ใช่ชาติที่เก่งกาจอะไร เพราะในอดีตเคยแพท้ ัพมอญมาแล้ว รูปแบบการแต่ง แต่งเป็นร้อยแก้ว แต่งได้ดีมีความไพเราะ ประโยคกะทัดรัด แต่ยาวกว่า สามกก๊ มีศัพทบ์ าลสี นั สกฤตปนอยู่มาก ท้องเร่ืองมีกลอุบายทางยุทธวิธี ให้ความรู้ทางยุทธศาสตร์และ กลศกึ รวมทั้งการต่อสูก้ ันด้วยปญั ญา สาํ นวนการเขยี น ตัวอยา่ ง เชน่ “อนั สตรีรูปงามไม่ดเี ท่าสตรที ่ีนาํ้ ใจงาม อันสตรีรูปงามอุปมาดังดอกสายหยุด ตรงคันธรส ประทินอยู่แต่เวลาเชา้ ครนั้ สายแสงสรุ ิยส์ อ่ งกลา้ แลว้ ก็สิ้นกลน่ิ หอม” สาระสําคัญ กล่าวถึงเมืองเมาะตะมะ กล่าวถึงกษัตริย์มะกะโท ท่ีเป็นคนมอญ เข้ามา ทํางานเป็นคนเลี้ยงช้างให้พระร่วง จนได้เป็นขุนวังแล้วได้ลักพาพระธิดาไปสร้างหลักปักฐานตั้งตัวเป็น เจ้าเมืองที่เมาะตะมะ กาลเวลาผ่านไปพอสมควรเกิดความสํานึกผิด จึงแต่งทูตมาขอขมา พระร่วงไม่ ทรงถอื โทษ แต่ไดพ้ ระราชทานอภัยให้ และพระราชทานพระนามใหว้ า่ พระเจา้ ฟ้ารวั่ เป็นตน้ ตวั อย่าง “ราชาธิราช” มะกะโทนําเบยี้ พระราชทานไปซื้อเมล็ดพันธ์ุผกั กาด มะกะโทคิดแล้วจึงเอาเบี้ยไปซื้อพันธ์ุผักกาด เจ้าของพันธุ์ผักกาดกล่าว เบี้ยของเจ้า เบ้ียเดียวนี้เรามิรู้จะตวงผักกาดให้ มะกะโทจึงว่าเบ้ียของเราเบ้ียเดียวน้ีเราเอาแต่พอติดน้ิวเดียว เจ้าของพันธผุ์ ักกาดจึงวา่ เอาเถอะ มะกะโทจึงเอานิว้ มอื ชบุ เขฬะ แล้วจ้ิมลงในกระทายพันธุ์ผักกาด นั้น ฝ่ายเจ้าของพันธุ์ผักกาดจึงสรรเสริญแต่ในใจว่า บุตรรามัญผู้นี้มีปัญญาฉลาดนัก นานไปจะได้ เป็นผู้ดีมั่นคง ฝ่ายมะกะโทได้เมล็ดพันธ์ุผักกาดแล้ว จึงมาขุดดินกระทําท่ีด้วยมูลช้าง จึงปลูกเมล็ด พันธ์ผุ ักกาดไว้ อุตสา่ หบ์ าํ รุงรดนํ้ากง็ อกงาม อํามาตยท์ นิ มณีกรอดทลู อาสาพระเจ้าราชาธริ าช อันตัวขา้ พเจ้าก็เปน็ ชายชาติทหาร ถงึ กายแก่แตใ่ จหนุม่ ไดร้ บั อาสาพระเจ้าอยู่หวั แล้ว ไม่เสียดายร่างกายแลชีวิต ได้ออกวาจาเป็นสองแล้ว ครั้นจะกลับคืนเอาเสียแต่หน่ึง คนท้ังปวงจะ หัวเราะได้ว่าแก่โกงมิใช่แก่เก่ง บางว่าแก่แดด มิใช่แก่กับตน ข้าพเจ้าสําแดงฝีมือให้ปรากฏไว้ มิให้ หนมุ่ ๆ ดหู ม่นิ ไดค้ ณุแมค้พา่ ขลาอดงพวรลรัง้ ณปรคะดกี ารใด ก็ขอฝากแต่ชือ่ แกไ่ วใ้ นแผน่ ดนิ หนุ่ม ๆ ภายหลังเกดิ มา จะไดเ้ หน็ วา่ แก่เก่งแกก่ บั ตนนี้เขาซื่อสตั ย์อาสาเจา้ ถึงขนาด

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๘ คุณค่าของวรรณคดี ๑. ในทางอกั ษรศาสตร์ มถี ้อยคาํ สาํ นวนไพเราะ น่มิ นวล นา่ ฟงั ๒. ในทางการทหาร แสดงให้เห็นถึงยุทธวิธีในการทําสงคราม ซึ่งจะต้องอาศัยไหวพริบ ปฏภิ าณ สติปญั ญา หาใชใ่ ชแ้ ตก่ าํ ลังเข้าห้ําหนั่ กันเท่าน้ัน ๓. คติเตือนใจในด้านต่าง ๆ เช่น ความประหยัดอย่างฉลาด กรณีมะกะโท นําเบี้ย พระราชทานไปซอื้ พันธผ์ุ ักกาด เปน็ ต้น

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๘๙ สมบตั อิ มรนิ ทรค์ าํ กลอน ผู้แต่ง เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ความเปน็ มา สมบัติอมรินทรค์ ํากลอน เป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เรียบเรียงข้ึนดว้ ยความประณตี งดงามตามแบบฉบับของวรรณคดีไทยและงานศิลปะไทย ซึ่งนิยมความ งามตามแบบอุดมคติ เน้ือเรื่องได้พรรณนาความวิจิตรอลังการของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์วิมานปราสาท และทิพยสมบัติของพระอินทร์โดยละเอียดคล้ายคลึงกับในไตรภูมิพระร่วง เพราะได้เค้าโครงมาจาก อรรถกถาธรรมบท เช่นเดียวกัน สํานวนโวหาร เข้าใจว่าแต่งก่อนหนังสือกากีกลอนสุภาพ จึงนับว่า เป็นนทิ านคาํ กลอนเรื่องแรกของประวตั ศิ าสตร์วรรณคดไี ทย รูปแบบการแต่ง ประพนั ธด์ ว้ ยคํากลอนเพลงยาว จํานวน ๓๗๐ คําหลอน บรรยายถึงความ งดงามของปราสาทราชฐานของพระอินทร์อย่าละเอียดลออยิ่งกว่าวรรณคดีเรื่องใด พระอินทร์ท่ี ปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทย มกั จะทาํ หนา้ ทดี่ แู ลทุกข์สขุ ของมนษุ ย์ เปน็ ผู้บําบัดทกุ ข์ วรรณคดีไทยเกือบ ทุกเรื่องมักจะกล่าวถึงพระอินทร์ พระอินทร์ในพุทธศาสนา ไม่เป็นตําแหน่งประจําอยู่ตลอดไปเหมือน พระอินทร์ตามลัทธิพราหมณ์ แต่ใครทําบญุ บาํ เพ็ญบญุ บารมมี กั ไดไ้ ปเกิดเปน็ พระอินทร์ หนังสือสมบัติอมรินทร์คํากลอนน้ี เดิมอยู่ในสมุดข่อย เมื่อหอพระสมุดวชิรญาณ ซึ่งทําหน้าที่ ชําระวรรณคดีเก่า ๆ พบสมุดเล่มน้ีเข้า จึงได้นํามาตีพิมพ์มี ๓๗๐ คํากลอน อีก ๘๐ คํากลอน มีผู้อื่น แต่งเตมิ ขึน้ ภายหลัง เรื่องย่อ กล่าวถึง ความงามของสรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้น เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ได้เร่ิม พรรณนาโดยวิธีให้เห็นลักษณะการต้ังอยู่ของสรวงสวรรค์ว่าลอยเด่นอยู่ในท้องฟ้า ด้วยภาพ “เอาสูง พืน้ หมื่นแสนพระเมรุมาศ เปน็ อาสน์ทองรองดาวดึงสา” อันหมายถึง สรวงสวรรค์น้ันวางอยู่บนยอด เขาพระสุเมรทุ ่ีเรียงรายถึงแสนลูกด้วยกัน ส่วนปราสาทเวชยันต์ท่ีสถิตของพระอินทร์นั้น เป็นปราสาท ๗ ช้ัน พรรณนาถึงท้องพระลานทอง การบรรยายพระเจดีย์จุฬามณี ปาริกชาติ แท่นทิพอาสน์สระ โบกขรณี อุทยานนันทวัน ฯลฯ ความงามของสรวงสวรรค์ของพระอินทร์ ที่เจ้าพระยาพระคลัง (หน) นิพนธ์น้ีใจความคล้ายคลึงกับไตรภูมิพระร่วง เพราะเอาเค้าความมาจากอรรถกถาธรรมบทเหมือนกัน ต่างแต่ในไตรภูมิพระร่วงเป็นความเรียง นอกจากน้ันยังมีตอนเร่ิมเรื่องของพระอินทร์ตามนางสุชาดา ความวา่ นางสุชาดาเคยเป็นชายาเอกของพระอินทร์ เม่ือพระอินทร์ได้มาครองดาวดึงส์ นางไม่ได้กลับ ชาติมาเกิดเป็นชายาพระอินทร์อีก เพราะนางประกอบกรรม จึงไปเกิดเป็นราชธิดาของอสูร ชื่อเวปจิตตา ต่อมาพระบิดาได้ประกอบพิธีสยุมพรนางและเชิญอสูรหนุ่ม ๆ ให้มาเลือกคู่ พระอินทร์จึงแปลงมา ในงานนี้ นางกเ็ กิดความรักและตามพระอนิ ทรม์ า จงึ ได้กลบั มาเป็นชายาเอกของพระอนิ ทรอ์ ย่างเดิม

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๙๐ ตวั อย่างการพรรณนาถงึ พระเจดียจ์ ุฬามณี ตอนหนึง่ วา่ “ประดบั ด้วยราชวัติฉัตรแกว้ พรายแพร้วลายทรงบรรจงสวรรค์ ระบายหอ้ ยพลอยนิลสวุ รรณพรรณ เจด็ ช้ันเรียวรดั สันทัดงาม ด่งั ฉตั รเศวตรพรหเมศครรไลหงส์ เม่อื กนั้ ทรงพุทธาภเิ ษกสนาม ยิงดวงจนั ทรพ์ นั แสงสมัยยาม อร่ามทองแกมแกว้ อลงกรณ์ พรรณนาถึงไม้ปาริกชาติ ตอนหนึ่งว่า “มพี ระยาไม้ปาริกชาติ ประจาํ เชิงเมรุมาศมไหศวรรย์ สูงร้อยโยชน์ย่ิงไมห้ ิมวนั ต์ ทรงสคุ นั ธท์ พิ รสขจายจร ส่วนแทน่ ทิพอาสน์น้นั กม็ พี รรณนาไวว้ ่า “บณั ฑุกัมพลอาสนศ์ ิลาทิพ กาํ หนดสบิ ห้าโยชน์โดยหนา กวา้ งสองหมน่ื โยชน์เจษฏา เปน็ มหาบลั ลงั ก์แก้วอาํ ไพ ยาวหกหมืน่ โยชน์แดงกาํ่ ดงั่ น้าํ ปัทมราชอนั สุกใส เจริญสวัสดโ์ิ สมนสั แก่หสั นยั น์ ช่มุ ฤทัยไปด้วยรสสมุ าลี คุณค่าของวรรณคดี ให้ผู้อ่านทําความดีตามข้อธรรมที่ทําให้มฆมานพ ไปเกิดเป็น พระอนิ ทร์ เรียกวา่ วัตตบท ๗ ได้แก่ ๑. เลย้ี งดบู ิดามารดา ๒. ออ่ นนอ้ มต่อผใู้ หญ่ในสกลุ ๓. พูดออ่ นหวาน พูดผูกไมตรี ๔. ไม่พดู ย่วั ยุให้เขาแตกรา้ วกนั ๕. ไม่ตระหนี่ มีความเออื้ เฟื้อเผ่ือแผ่ ๖. ขม่ ความโกรธท่เี กิดขนึ้ การบรรยายกลอนทาํ ใหผ้ อู้ า่ นเหน็ ภาพพจน์ ดงั การพรรณนาถงึ ท้องพระลานทอง ตอนหนงึ่ วา่ “ชานชลาหน้าหลังพระลานมาศ ศลิ าลาดแลควา้ งเล่หท์ างสินธุ์ ออ่ นละไมใยทพิ โกมนิ มลทนิ มิไดส้ ุมอยรู่ มุ ราย มีลมหน่ึงหอมหวนประมวลพัด ระบดั ดวงปทุมมากรองถวาย เป็นสงิ หราชผาดเผ่นผยองกาย คชาส่ายงารําสําเรงิ เริง”

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๙๑ นอกจากนย้ี งั มีพรรณนาถึงสระโบกขรณี ซึง่ “กว้างยาวร้อยโยชน์จัตุรัส ให้โสมนัสในท่าสินธุสนาน แม้นจิตว่าจะลงไปสรงธาร ก็บันดาลพุ่งฟุ้งมายังองค์” และมีบรรยายความงามออกไปอีกมาก ส่วน อุทยานนันทวันน้ัน ก็มีไม้ดอกไม้ผลเหลือจะคณานับ รวมความว่าแต่ละตอนท่ีพรรณนา ทําให้เกิด ภาพพจน์ที่งดงามสุดจะบรรยาย ทําให้เห็นว่าท่านผู้ประพันธ์นั้นนอกจากจะบรรยายไปตาม รายละเอียดท่ีมอี ย่ใู นอรรถกถาธรรมบทของเดิมแล้ว ก็อาจจะได้ความประทับใจ จากความงดงามของ สวนท่ีนยิ มตกแต่งกันอยู่ในขณะนน้ั เช่น เขตพระราชฐานหรือตามบ้านผูม้ บี รรดาศกั ดิ์ เป็นต้น

ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี | ๙๒ สามก๊ก ผ้แู ตง่ เจ้าพระยาพระคลงั (หน) ความเป็นมา รัชกาลที่ ๑ โปรดให้เจ้าพระยาพระคลัง (หน) อํานวยการแปล โรงพิมพ์หมอบรัดเล พิมพ์คร้ังแรกในรัชกาลท่ี ๔ พ.ศ.๒๔๐๘ กิมเส่ียถ่าย ได้เขียนคําลงท้ายไว้ในคําอธิบายว่า “เรื่อง สามก๊กเป็นเร่ืองดีจริง นกั ปราชญ์ได้อ่านกช็ อบใจ ผ้แู ต่งมีความรู้มาก ทั้งฉลาดเรียงความ......” สามก๊ก ฉบับภาษาไทยใช้คําสามัญง่าย ๆ ไม่มีศัพท์ยาก สามก๊กเป็นพงศวดารจีน ที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมา ในแงข่ องวรรณกรรม แปลเป็นไทยเมื่อ พ.ศ.๒๓๔๕ รูปแบบการแต่ง แต่งเป็นร้อยแก้ว สามก๊กฉบับภาษาไทยใช้คําสามัญง่าย ๆ ไม่มีศัพท์ยาก ใชป้ ระโยคสนั้ ๆ กะทัดรัดได้ความชดั เจนแจ่มแจง้ บทอปุ มาอุปไมยลึกซ้ึงคมคาย วรรณคดีสโมสรสมัย ร.๖ ยกย่องเป็นยอดความเรียงประเภทนิทาน การแปลจึงต้องมีพนักงานสองฝ่ายช่วยกันทํา คือ ผู้ ชํานาญภาษาจีนแปลความให้เสมือนจด แล้วผู้ชํานาญภาษาไทยเอาความนั้น เรียบเรียงแต่งเป็น ภาษาไทยให้ไพเราะอีกชั้นหนงึ่ ในบรรดาหนังสือพงศวดารจีนที่แปลเป็นภาษาไทย นับถือกันว่าสามก๊ก ดีกว่าเรื่องอ่ืน เพราะใช้ถอ้ ยคําและเรยี บเรยี งขอ้ ความสมํ่าเสมอ อ่านเขา้ ใจงา่ ย สาระสําคัญ ในสมยั ของพระเจา้ เหี้ยนเต้ ไดม้ ีผู้สําเร็จราชการแผ่นดินคนหนึ่งหลงอํานาจ จน หาทางบีบบังคับพระเจ้าเห้ียนเต้ด้วยประการต่าง ๆ ตั้งตนเป็นใหญ่ โจโฉยกกําลังมาปราบ ต่อมาเกิด ก๊กต่าง ๆ ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่มากมาย เพราะบ้านเมืองมีปัญหา อย่างน้อยท่ีสุดมีอยู่สามก๊กใหญ่ ๆ คือ นอกจากก๊กโจแล้วก็มีซุนกวน และก๊กเล่าป่ี เรียกว่า สามก๊ก ก๊กเหล่าน้ีได้ต่อสู้กันอย่างยาวนาน โดย อาศยั ยทุ ธวธิ ีท่ีตา่ งคดิ คน้ กันมา ชนดิ ทีเ่ รยี กวา่ ต้องอาศัยภมู ปิ ัญญาทางการทหารขน้ั สูง จึงจะคิดได้ ตัวอย่างการใช้ภาษาเรือ่ ง สามกก๊ ตอน โจโฉชวนกวนอูไปรบั ราชการ โจโฉจึงออกจากพระราชวังกลับมาบ้าน แล้วปรึกษาเทียหยกว่าตังสินกับพวกห้าคนซึ่งคิดร้าย เรานั้นก็ฆ่าเสียแล้ว ยังแต่เล่าป่ีกับม้าเท้ง เราจะคิดประการใดจึงจะได้ตัวมาฆ่าเสีย เทียหยกจึงว่าม้าเท้ง ไปอยู่เมืองเสเหลียงนั้นมีทหารเป็นอันมาก ถ้าท่านจะยกกองทัพไปตีเอาเอาบัดนี้เมืองเราก็เป็นกังวลอยู่ ขอให้ท่านเร่งแต่งผู้มีสติปัญญาไปเกลี้ยกล่อมหาตัวม้าเท้งกลับเข้ามา อย่าให้ทันม้าเท้งรู้ว่าท่านจับตัว ตังสินกับพวกเพื่อนฆ่าเสีย ข้าพเจ้าเห็นว่าม้าเท้งไม่แจ้งเนื้อความท้ังนี้ก็จะเข้ามา จึงจับฆ่าเสียก็จะได้ โดยง่าย อันเล่าปี่นั้นไปอยู่เมืองชีจิ๋ว ซ่องสุมทหารจะคอยรับกองทัพท่าน บัดน้ี ทหารอ้วนเสี้ยวกับ ทหารเราก็ยังต้ังรอกันอยู่ ณ ตําบลกัวต่อ เห็นเล่าปี่จะให้หนังสือไปคิดกับอ้วนเสี้ยวเป็นอันหน่ึงอัน เดียวกัน ถ้าท่านยกกองทัพไปรบเล่าป่ี ดีร้ายอ้วนเส้ียวจะยกมาตีเมืองฮูโต๋เป็นมั่นคง ผู้ใดซ่ึงจะ ต้านทานอว้ นเส้ยี วไดน้ น้ั ขัดสน โจโฉจงึ ตอบว่า เล่าป่ีนั้นเป็นคนมีสติปัญญา ถ้าละไว้ช้าก็จะมีกําลังมาก ขน้ึ อุปมาเหมอื นลูกนกอนั ขนปีกยงั ขน้ึ ไมพ่ รอ้ ม แม้เราจะนง่ิ ไว้ใหอ้ ยูใ่ นรงั ฉะน้ี ถ้าขนขน้ึ พรอ้ มแลว้ ก็จะ บินไปทางไกลได้ ซึ่งจะจับตัวน้ันเห็นจะได้ความขัดสน อ้วนเสี้ยวน้ันมีทหารมากก็จริง แต่สติปัญญาน้อย ถึงจะคิดประการใด เรากไ็ ม่กลวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook