Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอนวิชาเคมี.1

สื่อการเรียนการสอนวิชาเคมี.1

Published by rungruedeemarikho, 2019-07-01 04:21:24

Description: สื่อการเรียนการสอนวิชาเคมี.1

Search

Read the Text Version

สื่อการเรียนการสอนวิชาเคมี เรื่อง ปริมาณสารสมั พนั ธ์ จดั ทาโดย นางสาว รุ่งฤดี มะริโค ชนั้ ปวส.1 แผนกคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ เสนอ คณุ ครู นริศรา ทองยศ วิทยาลยั เทคโนโลยีและการจดั การหนองสองห้อง

ปริมาณสารสัมพนั ธ์ มวลอะตอม ปริมาณสารสัมพันธ์ (stoichiometry) มาจากภาษากรีก 2 คา คือ stoicheion แปลว่า ธาตุ และ metron แปลว่า การวัด ปริมาณสารสมั พนั ธ์ เป็นคาศพั ท์ที่ใช้ระบคุ วามสมั พนั ธ์เชิงปริมาณขององค์ประกอบของ สารและปฏกิ ิริยา หรือ สมการเคมีที่เก่ียวข้อง ซง่ึ มีความสาคญั อย่างยง่ิ เพราะใช้คาดคะเนหรือ คานวณปริมาณขอองสารที่ต้องใช้เป็นสารตงั้ ต้น (reactant) เพื่อให้ได้ปริมาณสาร ผลิตภณั ฑ์ (product) ตามต้องการ หรือใช้บอกว่าสารตงั้ ต้นจะทาปฏกิ ิริยาหมดหรือมีเหลือ และปฏิกิริยาจะได้ผลผลติ อย่างมากที่สดุ เทา่ ใด ดงั นนั้ ปริมาณสารสมั พนั ธ์จงึ หมายถงึ การวดั ปริมาณของสารตา่ ง ๆ โดยเฉพาะปริมาณของสารท่ีเกี่ยวข้องกบั การเกิดปฏกิ ิริยาเคมีทงั้ ของ สารตงั้ ต้นและสารผลติ ภณั ฑ์ตลอดจนปริมาณของพลงั งานของสารท่ีเปลี่ยนแปลงในปฏกิ ิริยา เคมี การวดั ธาตใุ นท่ีนี ้เริ่มจากการหามวลของธาตุ ซง่ึ เราทราบแล้วว่าธาตมุ ีอนภุ าคมลู ฐาน 3 อนภุ าค คือ โปรตอน อิเล็กตรอน และนวิ ตรอน โดยธาตทุ งั้ 3 มีมวล ดงั นี ้ โปรตอน (p) มีมวลประมาณ 1.6726 X 10-24 g นิวตรอน (n) มีมวลประมาณ 1.6749 X 10-24 g อิเล็กตรอน (e) มีมวลประมาณ 9.1096 X 10-28 g

จะเหน็ ว่า อิเล็กตรอน มีมวลน้อยที่สดุ ในการคานวณจงึ ไม่นาไปคดิ มวลของธาตุ มวลของธาตุ จงึ คดิ เพยี ง โปรตอน และ นิวตรอน ซง่ึ อนภุ าคทงั้ สองอยใู่ นนิวเคลียส ในการคานวณปริมาณสารสมั พนั ธ์ต้องอาศยั ข้อมลู จากตารางธาตุ เพอื่ จะได้ทราบว่าธาตทุ ่ีมา รวมกนั เป็นสารประกอบนนั้ มีมวลเท่าใด เราทราบได้จาก เลขมวล หรือ มวลอะตอม ของธาตุ แต่มวลอะตอม ไมใ่ ช่มวลที่แท้จริง เราต้องนา มวลของอนภุ าคไปคณู ด้วยจานวนอนภุ าคที่มีผล ตอ่ นา้ หนกั ซงึ่ ก็คือ เลขมวล X 1.66 X 10-24 g มวลอะตอม (องั กฤษ: Atomic mass) คือมวลของอะตอมหรือไอโซโทปอย่างหนง่ึ ของธาตุ ใด ๆ มีหน่วยเป็ น หนว่ ยมวลอะตอมหรือเอเอม็ ยู (Atomic Mass Unit - AMU) โดย 1 เอเอ็มยู มีคา่ 1.66 x 10-24 กรัม โดยนา้ หนกั นีเ้ทียบมาจาก ไฮโดรเจนอะตอม 1 อะตอม หรือ 1/12 ของคาร์บอน-12 1 อะตอม หรือ 1/16 ของออกซเิ จนอะตอม 1 อะตอม กฎต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเปลี่ยนแปลง 1. กฎทรงมวล อองตวน โลรอง ลาววั ซิเอ ได้ตงั้ กฎทรงมวลซงึ่ สรุปได้วา่ “มวลของสารทงั้ หมดก่อนทาปฏกิ ิริยา ย่อมเทา่ กบั มวลของสารทงั้ หมดหลงั ทาปฏกิ ิริยา” กฎนีจ้ ะใช้ได้กบั ปฏิกิริยาเคมีในระบบปิด ใช้ ไม่ได้กบั ปฏกิ ิริยาเคมีนิวเคลียร์ เช่น เทียนไขในภาชนะปิดใบหนงึ่ มวลของสารทงั้ หมดก่อนทา ปฏกิ ิริยาเทา่ กบั มวลของเทียนไขกบั ภาชนะ เม่ือจดุ เทียนไขในภาชนะปิดนี ้แล้วทาการชง่ั มวล ใหม่ มวลจะเท่าเดิม ระบบปิด 2. กฎสัดส่วนคงท่ี โจเซฟ เพราสต์ ได้ตงั้ กฎสดั ส่วนคงท่ีซง่ึ สรุปได้วา่ “ในสารประกอบหนงึ่ ๆ ธาตตุ ่าง ๆ ท่ีเป็น องค์ประกอบรวมตวั กนั ด้วยอตั ราสว่ นโดยนา้ หนกั ที่คงท่ีเสมอ” โดยไม่คานงึ ถึงวา่ สารประกอบ นนั้ จะมีกาเนิดหรือเตรียมได้โดยวธิ ีใด

มวลอะตอม อะตอมเป็นอนภุ าคที่เลก็ ที่สดุ ของธาตทุ ี่สามารถทาปฏิกิริยาเคมีได้ มีรัศมีของอะตอมยาว ประมาณ 10 -10 เมตร อะตอมท่ีเบาที่สดุ มีมวลประมาณ 1.6 x 10 -24 กรัม อะตอมที่ หนกั ที่สดุ มีมวลประมาณ 250 เทา่ ซง่ึ มีคา่ น้อยมาก (เป็นผลคณู ของ 10 -24) มวลอะตอม เหลา่ นีจ้ ะต้องรวมกนั ตอ่ ไปเป็นมวลโมเลกลุ ซง่ึ ทาให้ย่งุ ยากในการคานวณ จึงนิยมใช้มวล เปรียบเทียบท่ีเรียกว่า มวลอะตอมหรือนา้ หนกั อะตอม มวลอะตอม คือ มวลเปรียบเทียบท่ีบอกให้ทราบว่ามวลของธาตุ 1 อะตอมหนกั เป็นกี่เท่าของ มวลของธาตมุ าตรฐาน 1 อะตอม มวลของธาตุ 1 อะตอม คือ มวลที่แท้จริงของอะตอมนนั้ ๆ 1 อะตอม มวลของธาตมุ าตรฐาน 1 อะตอม คือ มวลของธาตทุ ่ีถกู ใช้เป็นตวั เปรียบเทียบ ซงึ่ ทกุ อะตอม ต้องมีคา่ เทา่ กนั หมด จงึ เรียกวา่ มวลมาตรฐาน มีคา่ เท่ากบั 1.66 x 10 -24 กรัม หรือ 1 amu (atomic mass unit) ถ้ามวลอะตอมของ C = 12 จากสตู รการหามวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ C 1 อะตอม = 12 x 1.66 x 10 -24 กรัม ถ้าใช้มวลของธาตุ C 1 อะตอมเป็นค่ามาตรฐานจะได้สตู ร นอกจากนีม้ วลอะตอมยงั คานวณได้จากมวลเฉล่ียของบรรดาไอโซโทปท่ีมีในธรรมชาติ ลกั ษณะสาคญั ของมวลอะตอม มีดงั นี ้ 1. มวลอะตอมของธาตไุ มม่ ีหน่วย 2. มวลอะตอมเป็นคา่ เปรียบเทียบ สว่ นมวลของธาตุ 1 อะตอมเป็นมวลท่ีแท้จริง มีหน่วยเป็น กรัม 3. มวลของธาตมุ าตรฐาน 1 อะตอม ที่ใช้เป็นตวั ถกู เปรียบเทียบของมวลอะตอมมีคา่ เท่ากนั หมดในทกุ ๆ ธาตุ

4. คานวณได้จากสตู รเม่ือทราบมวลของธาตนุ นั้ 1 อะตอม และคานวณได้จากไอโซโทปของ ธาตนุ นั้ ๆ มวลโมเลกุล เนื่องจากโมเลกลุ มีขนาดเลก็ มากเช่นเดียวกบั อะตอม ดงั นนั้ มวลของโมเลกลุ จงึ นิยมบอกเป็น ค่าเปรียบเทียบเชน่ กนั ลักษณะสาคัญของมวลโมเลกุล 1. มวลโมเลกลุ ไม่มีหนว่ ย เพราะเป็ นค่าเปรียบเทียบกบั ค่ามาตรฐาน 2. มวลของสาร 1 โมเลกลุ คือมวลท่ีแท้จริงของโมเลกลุ นนั้ ๆ 1 โมเลกลุ 3. มวลโมเลกลุ คานวณได้จากมวลอะตอมรวมกนั เพราะโมเลกลุ เกิดจากอะตอมรวมกนั หรือได้ จากมวลของสาร 1 โมเลกลุ เปรียบเทียบคา่ มาตรฐาน 4. มวลมาตรฐานท่ีถกู เปรียบเทียบต้องมีค่าเทา่ กนั หมดในทกุ ๆ โมเลกลุ โมล โมล คือ หนว่ ยของปริมาณสารหนว่ ยหนงึ่ ที่มีความหมายเช่นเดียวกบั กรัมโมเลกลุ กรัมอะตอม หรือกรัมไอออน มีวธิ ีหาได้ 4 แบบ ดงั ตอ่ ไปนี ้

1.จานวนอนภุ าคตอ่ โมลของสารสสารทกุ ชนิด 1 โมลมีจานวน 6.023 x 10 23 อนภุ าค (6.023 x 10 23 คือเลขอาโวกาโดร)อนภุ าค คือ อะตอมโมเลกลุ ไอออน อิเลก็ ตรอน เป็นต้น 2.จานวนโมลกบั มวลของสาร โมล = มวลสาร / มวลอะตอมหรือมวลโมเลกลุ มวลโมเลกลุ หรือมวลอะตอม = มวล( กรัม) ดงั นนั้ มวลหรือนา้ หนกั ของสาร 1 โมล คือมวลโมเลกลุ หรือมวลอะตอม ตวั อยา่ ง เช่น O 2 1 โมล หนกั 32 กรัม จงหามวลโมเลกลุ ของก๊าซออกซเิ จน เม่ือกาหนดให้มวลอะตอมของ O = 16 3. ปริมาตรต่อโมลของก๊าซ ก๊าซทกุ ชนดิ 1 โมล มี 22.4 ลกู บาศก์เซนติเมตรท่ี STP คือท่ีอณุ หภมู แิ ละความดนั มาตรฐาน ( ท่ี 0 องศาเซลเซียส 1 บรรยากาศ หรือ 273 เคลวนิ 760 มิลลิเมตรของ ปรอท) ตวั อย่าง เช่น ไอนา้ 1 โมล มีปริมาตร 22.4 ลกู บาศก์เดซเิ มตร ที่ STP ความสมั พนั ธ์ระหว่างจานวนโมล อนภุ าค มวล และปริมาตรสาร 1 โมลจะมีมวลเป็นกรัม เทา่ กบั มวลอะตอมและมีจานวนอนภุ าคเท่ากบั 6.023 x 23 อนภุ าค และถ้าสารนนั้ เป็น ก๊าซที่ STP จะมีปริมาตรเทา่ กบั 22.4 ลกู บาศก์เดซเิ มตร

4. กฎของอาโวกาโดร โมลของก๊าซหาได้จากกฎของอาโวกาโดร กฎของอาโวกาโดรสรุปว่า“ภายใต้เง่ือนไขเดียวกนั ( อณุ หภมู ิและความดนั ) ก๊าซทกุ ชนดิ ท่ีมีปริมาตรเทา่ กนั จะมีจานวนโมเลกลุ และจานวนโมล เท่ากนั เชน่ ก๊าซออกซิเจน 1 ลกู บาศก์เดซเิ มตร จะมีจานวน โมลและโมเลกลุ เท่ากบั ก๊าซ ไฮโดรเจน 1 ลกู บาศก์เดซเิ มตร ท่ีอณุ หภมู แิ ละความดนั เดียวกนั และยงั เท่ากบั จานวนโมลและ โมเลกลุ ชองก๊าซอ่ืน ๆ ท่ีมีปริมาตรเทา่ กนั ภายใต้อณุ หภมู แิ ละความดนั เดียวกนั ตวั อย่าง ท่ีสภาวะมาตรฐาน ก๊าซออกซเิ จน 1 ลกู บาศก์เดซเิ มตร หนกั 1.43 กรัม และก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ 1 ลกู บาศก์เดซเิ มตร หนกั 1.25 กรัม จงหามวลโมเลกลุ ของก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ วิธีทา จากกฎของอาโวกาโดร ก๊าซออกซเิ จนและก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์มีปริมาตรเท่ากนั ที่ สภาวะมาตรฐานเหมือนกนั มีจานวนโมลและโมเลกลุ เท่ากนั จานวนโมลของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ = จานวนโมลของก๊าซออกซเิ จน 1.25 / a = 1.43 / 16 a = 28 ดงั นนั้ มวลโมเลกลุ ของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ = 28 ตอบ สตู รเคมีและสมการเคมี จานวนโมลหาได้จากกฎของเกย์- ลสู แซกและกฎของอาโวกาโดร การหาจานวนโมลโดยวิธีนี ้ เป็นการหาจานวนโมลของสมการเคมี กฎของเกย์- ลสู แซกสรุปว่า “ปริมาตรของก๊าซท่ีทา ปฏิกิริยากนั และที่ได้จากปฏิกิริยาจะเป็นอตั ราส่วนลงตวั น้อย ๆ ที่อณุ หภมู แิ ละความดนั เดียวกนั ” ลกั ษณะสาคญั ของกฎของเกย์- ลสู แซกและกฎของอาโวกาโดร

1. จานวนโมลและโมเลกลุ ของสมการเคมีจะมีคา่ เท่ากบั ปริมาตรของก๊าซที่เข้าทาปฏกิ ิริยา พอดีกนั นนั่ เอง 2. จานวนโมลเหลา่ นีค้ ือตวั เลขท่ีใช้ในการดลุ สมการเคมี เชน่ 4NH 3(g) +3O 2(g) 2N 2(g)+6H 2O(g) 3. จากปริมาตรของก๊าซที่ทาปฏกิ ิริยาพอดีกนั และท่ีได้จากปฏิกิริยาที่อณุ หภมู แิ ละความดนั เดียวกนั สามารถนาไปใช้หาสตู รโมเลกลุ ของก๊าซได้ โดยอาศยั หลกั การดลุ สมการเคมี ตวั อยา่ ง ก๊าซ X 15 ลกู บาศก์เซนติเมตร ทาปฏกิ ิริยาพอดีกบั ก๊าซ Y 45 ลกู บาศก์เซนติเมตร เกิดก๊าซ Z เพยี งอย่างเดียว 30 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ปริมาตรของก๊าซทงั้ หมดวดั ท่ีอณุ หภมู ิ และความดนั เดียวกนั จงหาสตู รโมเลกลุ ของก๊าซ Z การหาสตู รเอมพริ ิคลั ของสาร สตู รเอมพริ ิคลั เป็นสตู รที่แสดงอตั ราส่วนอย่างต่าของธาตอุ งค์ประกอบ เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์มีสตู รโมเลกลุ เป็น H 2O 2 อตั ราสว่ นอย่างต่าของจานวนอะตอม H : O เทา่ กบั 1 : 1 สตู รเอมพริ ิคลั จงึ เป็น HO กลโู คสมีสตู รโมเลกลุ เป็น C 6H 12O 6 อตั ราสว่ นอย่างต่า ของจานวนอะตอม C : H : O เทา่ กบั 1 : 2 : 1 สตู รเอมพริ ิคลั จงึ เป็น CH 2O การหาสตู รเอมพริ ิคลั มีหลกั ดงั นี ้ 1. ต้องทราบวา่ สารที่จะหาสตู รเอมพริ ิคลั ประกอบด้วยธาตใุ ดบ้าง 2. ต้องทราบมวลอะตอมของแตล่ ะธาตใุ นสารที่จะหาสตู รเอาพริ ิคลั 3. ต้องทราบมวลของแตล่ ะธาตใุ นสารท่ีจะหาสตู ร

4. ให้ข้อมลู จากข้อ 1, 2 และ 3 หาอตั ราสว่ นโดยโมล ด้วยการนามวลของแต่ละธาตหุ ารด้วย มวลอะตอมของมนั มาเข้าอตั ราสว่ น 5. สาหรับการปัดจดุ ทศนิยมของตวั เลขในการหาอตั ราส่วนโดยโมล โดยทาตวั เลขใดตวั เลข หนงึ่ ให้เป็ น 1 แล้วจงึ ปัดจดุ ทศนยิ มด้วยวิธีปัด 0.1 – 0.2 ทงิ ้ ถ้าเป็ น 0.8 – 0.9 ปัดขนึ ้ อีก 1 ถ้าเป็น 0.0 – 0.7 ปัดไม่ได้ต้องหาตวั เลขท่ีต่าท่ีสดุ มาคณู ตวั เลขของอตั ราส่วนโดย โมลให้มีคา่ ใกล้กบั ที่ จะปัดจดุ ทศนยิ มได้ แล้วปัดจดุ ทศนิยมตวั เลขให้เป็นจานวนเตม็ อนงึ่ การ ปัดจดุ ทศนยิ ม ถ้าตวั เลขปัดจดุ ทศนยิ มไม่ได้ ตวั เลขทกุ ตวั ของอตั ราส่วนโดยโมลนนั้ ก็จะไม่ปัด จดุ ทศนยิ ม หาตวั เลขมาคณู ให้ได้ตวั เลขที่จะปัดจดุ ทศนยิ มได้อตั ราส่วนโดยโมลท่ีเป็นจานวน เต็มได้สตู รเอมพริ ิคลั สารกาหนดปริมาณและร้อยละของผลได้ของสารผลิตภณั ฑ์ สารกาหนดปริมาณ ( Limiting Reagent) สารท่ีเข้าทาปฏิกิริยามีปริมาณไมพ่ อดีกนั ปฏิกิริยาท่ีเกิดขนึ ้ จะสิน้ สดุ เมื่อสารใดสารหนงึ่ หมด สาร ที่หมดก่อนจะเป็นตวั กาหนดปริมาณของผลติ ภณั ฑ์ของสารผลติ ภณั ฑ์ท่ีเกิดขนึ ้ เรียกวา่ สารกาหนดปริมาณ ( Limiting Reagent) สารกาหนดปริมาณในการเกิดปฏิกิริยาเป็ นการคานวณสารจากสมการของปฏิกิริยาที่โจทย์ บอกข้อมลู เก่ียวกบั สารตงั้ ต้นมาให้มากกว่าหนง่ึ ชนดิ ลกั ษณะโจทย์มี 2 แบบ คือ 1. โจทย์บอกข้อมลู ของสารตงั้ ต้นมาให้มากกว่าหนงึ่ ชนิด แตไ่ มบ่ อกข้อมลู เกี่ยวกบั สาร ผลิตภณั ฑ์ ในการคานวณต้องพจิ ารณา ว่าสารใดถกู ใช้ทาปฏิกิริยาหมด แล้วจงึ ใช้สารนนั้ เป็ น หลกั ในการคานวณสง่ิ ที่ต้องการจากสมการได้ 2. โจทย์บอกข้อมลู ของสารตงั้ ต้นมาให้มากกว่าหนง่ึ ชนิด และบอกข้อมลู ของสารผลิตภณั ฑ์ ชนิด ใดชนดิ หนง่ึ มาให้ด้วย ในการคานวณให้ใช้ข้อมลู จากสารผลติ ภณั ฑ์เป็นเกณฑ์ในการ เทียบหาส่งิ ท่ีต้องการจากสมการเคมี

ร้อยละของผลได้ของสารผลิตภณั ฑ์ ในการคานวณหาปริมาณของผลติ ภณั ฑ์จากสมการเคมีนนั้ ค่าที่ได้เรียกวา่ ผลได้ตามทฤษฎี ( Theoretical yield) แต่ในทางปฏบิ ตั จิ ะได้ผลิตภณั ฑ์น้อยกว่าตามทฤษฎี แต่จะได้มาก หรือน้อยแค่ไหน ก็ขนึ ้ อย่กู บั วธิ ีการและสารเคมีท่ีใช้ เรียกผลที่ได้วา่ นี ้ผลได้จริง ( Actual yield) สาหรับการรายงานผล การทดลองนนั้ จะเปรียบเทียบค่าท่ีได้ตามทฤษฎีในรูปร้อยละ ซง่ึ จะได้ความสมั พนั ธ์ดงั นี ้ สารละลาย ( Solution) คือ สารเนือ้ เดียวท่ีมีสารตงั้ แต่ 2 ชนิดขนึ ้ ไปมารวมกนั ประกอบด้วยตวั ทาละลายและตวั ถกู ละลาย ถ้าตวั ถกู สารละลายและตวั ทาละลายมีสถานะ เดียวกนั สารละลายที่มีปริมาณมากกวา่ เป็นตวั ทาละลาย แต่ถ้าสารทงั้ สองมีสถานะแตกตา่ งกนั สารท่ีมีสถานะเดียวกนั กบั สารละลายเป็นตวั ทาละลาย หน่วยของสารละลาย เป็ นค่าท่ีแสดงถึงปริมาณของตวั ละลายที่ละลายอยใู่ นตวั ทาละลายหรือ ในสารละลายนนั้ วดั ในรูปความเข้มข้นปริมาณตวั ถกู ละลายตอ่ ปริมาณสารละลาย ( ยกเว้น หนว่ ยโมลตอ่ กิโลกรัม) 1. ร้อยละ 1.1 ร้อยละโดยมวล ( มวล / มวล) คือ ปริมาณมวลของตวั ถกู ละลายในมวลของสารละลาย 100 หนว่ ยมวล 1.2 ร้อยละโดยปริมาตร ( ปริมาตร / ปริมาตร) คือ ปริมาตรของตวั ถกู ละลายในสารละลาย ปริมาตร 100 หนว่ ยปริมาตร นิยมใช้กบั สารละลายที่เป็นของเหลว เชน่ สารละลายแอลกอฮอล์

เข้มข้นร้อยละ 20 โดยปริมาตร หมายความวา่ สารละลายนี ้100 ลกู บาศก์เซนตเิ มตรจะมี แอลกอฮอล์ละลายอยู่ 20 ลกู บาศก์เซนติเมตร 1.3 ร้อยละมวลตอ่ ปริมาตร คือ ปริมาณของตวั ถกู ละลายในปริมาตรของสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร โดยทวั่ ไปถ้ามวลของตวั ถกู ละลายมีหน่วยเป็นกรัม ปริมาตรของสารละลายจะมี หน่วยเป็นลกู บาศก์เซนติเมตร และถ้ามวลของตวั ถกู ละลายมีหน่วยเป็นกิโลกรัม ปริมาตรของ สารละลายจะมีหน่วยเป็ นลกู บาศก์เดซเิ มตรหรือลติ ร หน่วยมวลและหน่วยปริมาตรต้องให้ สอดคล้องกนั ด้วย 2. โมลาริตี หรือโมลต่อลกู บาศก์เดซเิ มตร ( mol/dm 3 หรือ mol/l) เป็นหน่วยที่บอก จานวนโมลของตวั ถกู ละลายในสารละลาย 1 ลกู บาศก์เดซเิ มตร หน่วยความเข้มข้นเป็นโมลตอ่ ลกู บาศก์เดซเิ มตรอาจเรียกย่อได้เป็นโมลาร์ (Molar) ใช้สญั ลกั ษณ์ M 3. โมแลลิตี หรือ โมลต่อกิโลกรัม (mol/kg) เป็นหนว่ ยที่บอกจานวนโมลของตวั ถกู ละลายท่ีละลาย ในตวั ทาละลาย 1 กิโลกรัม จงึ มีหน่วยเป็น mol/kg หรือเรียกว่า โมแลล ( Molal) ใช้สญั ลกั ษณ์ m 4. เศษส่วนโมล ( Mole fractions) คือ สดั สว่ นจานวนโมลของสารองค์ประกอบหนง่ึ ต่อ จานวนโมลรวม ของสารทกุ ชนดิ ในสารละลาย ใช้สญั ลกั ษณ์ X เช่น สารละลายชนดิ หนง่ึ ประกอบด้วยสาร A a mol, B b mol และ C c mol จะได้เศษส่วนโมลของสาร A, B และ C ดงั นี ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook