Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุลสาร BM ฉบับที่ 5

จุลสาร BM ฉบับที่ 5

Published by lavenderk9, 2020-10-05 21:56:12

Description: จุลสาร BM ฉบับที่ 5

Search

Read the Text Version

Building Management-BM Vol. 5 : October 2020 Building Management News Dhanarak Asset Development Co., Ltd. : Building Management ภาพประกอบ : พระพทุ ธปฏมิ าค่าคงิ พระประธานในพระวิหารหลวง วดั สวนดอก จ.เชียงใหม่

Building Management-BM Vol. 5 : October 2020 Building Management News Dhanarak Asset Development Co., Ltd. : Building Management “ ปัญหา คือ การฝกึ ฝน มงุ่ หวงั ตง้ั ใจทาใหส้ าเรจ็ นางสาวธนชั พร ทวีพรสนิ ” เจ้าหนา้ ทช่ี านาญการ สวัสดีสมาชิกจุลสารทุกท่านค่ะ ฉบับน้ี ซึ่งงานพิธีถวายผ้าพระกฐินในปัจจุบันถือว่าเป็น เป็นฉบับท่ี 5 ประจาเดือน ตุลาคม 2563 ซึ่งเป็น ทานพเิ ศษ กาหนดเวลาปีหน่ึงทอดถวายได้เพียง ช่วงเดือนออกพรรษาและงานบุญต่าง ๆ ครั้งเดียว นับว่าได้กุศลแรง ท้ังนี้ จึงขอเชิญชวน นับตง้ั แต่สมยั โบราณกาล งานบุญประเพณีสาคัญ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กร และผู้มีจิต ของพุทธศาสนิกชนไทยที่ถือสืบทอดกันมาคือ ศรัทธาร่วมกันบริจาคตามกาลังศรัทธาร่วมกับ การร่วมกันถวายผ้าไตรจีวร และเครื่องบริวาร ธพส. ท้ังน้ีจึงขออนุโมทธาในกุศลเจตนาให้แก่ สังฆทานแด่พระภิกษุสงฆ์ ทุกทา่ นท่ีร่วมงานบญุ ในคร้งั น้ี ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา จุลสารฉบับนี้ ธพส. ขอเสนอความ วชิราลงกรณบ์ ดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลท่ี 10) เป็นมาประเพณีการทอดกฐิน และส่งต่อความ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าพระ ห่วงใย เคล็ดลับการดูแลสุขภาพ คอลัมน์ กฐิน ประจาปี 2563 ให้ บริษัท ธนารักษ์พัฒนา THINK เสนอความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานอาคาร สินทรัพย์ จากัด (ธพส.) นาไปถวาย ณ วัดสวนดอก ย่ังยืน เพื่อเป็นแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร พระอารามหลวง ตาบลสุเทพ อาเภอเมือง และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผอู้ ยอู่ าศัย และสุดท้าย เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในวันศุกร์ที่ 23 ภาพกจิ กรรมฝา่ ยบรหิ ารอาคารคะ่ ตุลาคม 2563 ตรงกับวันขึ้น 7 ค่า เดือน 12 เวลา 13.30 น. นางสาวธนัชพร ทวีพรสนิ (2) เจา้ หน้าทชี่ านาญการ



เรือ่ งน่ารู้ของ “ประเพณกี ารทอดกฐนิ ” “ บุญกฐิน” เป็นบุญถวายผ้าไตรจีวรแด่พระสงฆ์ ในการทอดกฐนิ น้ัน มีกฐิน 3 ประเภท ซึ่งจาพรรษาแล้ว เริ่มตั้งแต่แรม 1 ค่า เดือน 11 ถึง ก. จุลกฐิน (กฐนิ แลน่ ) คือ กฐนิ ทม่ี กี าร วันเพ็ญ 15 ค่า เดือน 12 เป็นเขตทอดกฐินตามหลัก พระวนิ ัย เตรยี มและการทอดกฐนิ เสรจ็ ภายใน 24 ชัว่ โมง ข. มหากฐนิ ค. กฐินตกค้าง คาว่า \"กฐนิ ตกคา้ ง\" คือวดั ซ่งึ พระสงฆจ์ าพรรษาและปวารณาแล้ว ไม่มใี คร จองกฐนิ มู ล เ ห ตุ มี ก า ร ท า บุ ญ ก ฐิ น ซึ่ ง มี เ รื่ อ ง เ ล่ า ว่ า พิธีทาบุญทอดกฐิน เจ้าภาพจะมีการจอง พระภิ กษุชาวเมืองปาฐา 30 รูป จะไ ปเฝ้า วัดและกาหนดวันทอดล่วงหน้า เตรียมผ้าไตร พระพุทธเจ้าที่พระเชตวันมหาวิหาร แต่จวนใกล้ จีวร พร้อมอัฐบริขาร ตลอดบริวารอื่น ๆ และ กาหนดเข้าพรรษาเสียก่อน จึงหยุดจาพรรษาท่ีเมือง เครอื่ งไทยทาน ก่อนนากฐินไปทอดมักมีการคบ สาเกต พอออกพรรษาแล้วก็รีบพากันไปเฝ้า งัน วันรงุ่ ขนึ้ กเ็ คลอื่ นขบวนไปสูว่ ัดท่ีทอด เมอื่ นา พระพุทธเจ้า ท้ัง ๆ ท่ีผ้าสบงจีวรเป้ือนเปรอะ องค์กฐินไปถึงวัดจะมีการแห่เวียนประทักษิณ เนื่องจากระยะทางไกลและฝน ผ้าสบงจีวรจึงเปียก รอบวัดหรือรอบพระอุโบสถสามรอบ จึงนาผ้า น้าและเปื้อนโคลน จะหาผ้าผลัดเปล่ียนก็ไม่มี กฐนิ และเครอ่ื งประกอบอนื่ ๆ ไปถวายพระสงฆ์ พระพุทธเจ้าทรงเห็นความลาบากของพระภิกษุ ที่โบสถ์หรอื ศาลาการเปรียญ เม่ือทาพิธีถวายผ้า เช่นกนั จึงมีพุทธบัญญัติให้พระภิกษุแสวงหาผ้าและ กฐินและบริวารแด่พระสงฆ์ พระสงฆ์ทาพิธีรับ รับผา้ กฐินไดต้ ามกาหนด แล้วเป็นเสร็จพิธีสามัคคี (3)

กฐนิ หลวง กฐินต้น เป็นผ้าพระกฐินพระราชทานท่ี กฐินหลวง เป็นผ้าพระกฐินพระราชทานที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ พระราช ดาเนนิ ไปพระราชทานยงั วดั ราษฎร์เป็นการส่วน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราช พระองค์ ดาเนินไปพระราชทานด้วยพระองค์เอง หรือ โปรดเกล้าให้พระบรมวงศานุวงศ์ช้ันผู้ใหญ่เสด็จ กฐินพระราชทาน ไปพระราชทานแทน ก ฐิน พระ ราชทาน เป็นผ้าพระ ก ฐิ น กฐินหลวงน้ีจัดเครื่องพระราชทานด้วยพระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์ และบางคร้ังมีการจัดพิธีแห่ พระราชทานท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เครื่องกฐินพระราชทานอย่างใหญ่ โดยกระบวน ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าพระ พยุหยาตราชลมารค หรือกระบวนพยุหยาตรา กฐิน และเครื่องกฐินแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้า สถลมารถ แล้วแต่พระราชประสงค์ (ในปัจจุบัน ราชบริพาร ส่วนราชการ หน่วยงาน สมาคม คงการเสด็จพระราชดาเนินทรงถวายผ้าพระกฐิน หรือเอกชน ให้ไปทอดยงั พระอารามหลวงต่าง ๆ อย่างพิธีใหญ่น้ัน คงเหลือเพียงโดยกระบวนพยุ ทั่วราชอาณาจักร (ในปัจจุบันกรมการศาสนา หยาตราชลมารคเท่านัน้ ) รับผดิ ชอบจัดผ้าพระกฐินและเคร่อื งกฐนิ ถวาย) (4) กฐนิ หลวงในปจั จบุ ันมเี พียง 16 วดั เทา่ นนั้ ไดแ้ ก่ ในกรุงเทพมหานคร • วดั มหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิราชวรมหาวิหาร • วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร • วัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร • วัดสุทัศน์เทพวรารามราชวรมหาวิหาร • วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร • วดั ราชประดษิ ฐสถติ มหาสีมารามราชวรวหิ าร • วดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมารามราชวรวหิ าร • วัดบวรนเิ วศราชวรวหิ าร • วัดราชาธวิ าสราชวรวิหาร • วดั เบญจมบพติ รดุสิตวนารามราชวรวหิ าร • วัดมกุฏกษตั รยิ ารามราชวรวหิ าร • วดั เทพศริ นิ ทราวาส ราชวรวิหาร ตา่ งจังหวดั • วัดพระปฐมเจดีย์ • วัดสวุ รรณดาราราม • วดั นิเวศธรรมประวตั ิ • วดั พระศรรี ตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร (พษิ ณุโลก)

กฐินราษฎร์ ในปัจจุบัน การถวายผา้ กฐนิ โดยทวั่ ไปในประเทศไทย ไดใ้ หค้ วามสาคัญผ้ากฐินซ่งึ เปน็ สว่ นสาคัญทสี่ ดุ ในการ “กรานกฐนิ ” (กรานกฐนิ เป็นสานวนในพระวินัย (ตามศัพท์ หมายถึง เอาผา้ ทจี่ ะเย็บเปน็ จวี รเข้าขึงไวท้ ี่ไมส้ ะดงึ ) โดย เนื้อความแล้วสามารถเข้าใจได้ดังน้ีคือ พระภิกษุที่จะ กรานกฐนิ ต้องเปน็ ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยได้รับการ อนุมัติจากสงฆ์ว่า เป็นผู้สมควรได้รับผ้า แต่เดิมท่านมี ผ้านุ่งผนื เกา่ อยู่ กจ็ ะต้องสละผ้าผนื เกา่ ) กฐินราษฎร์ คือ กฐินท่ีราษฏรหรือประชาชน ท่ัวไปท่ีมีจิตศรัทธาจัดถวายผ้ากฐิน และเครื่อง กฐินไปถวายยังวัดราษฎร์ต่าง ๆ โดยอาจแบ่ง ออกเป็นจุลกฐิน และมหากฐิน (กฐินสามัคคี) ใน ปัจจุบันกฐินราษฎร์ หรือเรียกกันโดยท่ัวไปว่า กฐินสามัคคีผู้เป็นประธานหรือเจ้าภาพในการ ทอดกฐินจะให้ความสาคัญกับการรวบรวม (เรี่ยไร) เงิน และส่ิงของเพ่ือเข้าประกอบเป็น บริวารกฐินมากกว่า เพราะวัดสามารถนาส่ิง เหล่าน้ีไปใช้ประโยชน์ทานุบารุงพระพุทธศาสนา ได้ และเน่ืองจากการถวายผ้ากฐินเป็นกาลทาน จึงทาให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นงานสาคัญ ประจาปขี องวัดตา่ ง ๆ โดยท่ัวไปในประเทศไทย (5)

ธพส. หว่ งใย ใสใ่ จสุขภาพ ในปัจจุบันเราทุกคนต้องเผชิญกับสถานการณ์ความตึงเครียดมากมาย ท้ังด้านเศรษฐกิจ การทางาน และครอบครวั ซึง่ อาจสง่ ผลกระทบทางด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราโดยไม่รู้ตัว ดังนั้น การท่ีเราจะมี สุขภาพจิตทด่ี ีได้ ต้องมรี ากฐานมาจากการมีสขุ ภาพกายทีด่ กี ่อน รแู้ ลว้ จะรออะไร? มาดูแลสุขภาพตามน้กี ันคะ่  นอนหลับให้เพียงพอ การนอนหลับเพียงพอจะทาให้สดชื่น ตอนนอนหลับนี่แหละที่ร่างกายและจิตใจได้ซ่อมแซม ขับพิษ และฟน้ื ฟูตัวเอง แต่อย่าถึงกับนอนทั้งวัน เพราะถ้านอนเยอะ เกินไปก็อันตรายพอ ๆ กับนอนไม่พอ  รับประทานอาหารให้ครบหมู่ อาหารดีมีประโยชน์ ก็คือ ต้องมีคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ผักผลไม้และไขมันในปริมาณ ท่ีเหมาะสม ถ้าเป็นคาร์โบไฮเดรต ให้เลือกโฮลเกรนหรือ ธัญพืชเต็มเมล็ด ส่วนแหล่งโปรตีนที่ดีคือเนื้อสัตว์ไขมันต่า ปลา ไข่ และถ่ัว นอกจากน้ีพยายามกินผักผลไม้ให้ได้ อย่างน้อย 5 - 9 servings (หน่วยบริโภค) ต่อวัน ไขมันดี ที่แนะนา เช่น น้ามนั ปลา น้ามนั มะกอก และน้ามันมะพร้าว  ด่ืมน้าเยอะๆ น้าก็เปรียบเหมือนเช้ือเพลิงท่ีทาให้ร่างกาย คุณกระฉับกระเฉงตลอดวัน พยายามด่ืมน้าให้ได้ 8 แก้ว (แก้วละ 8 ออนซ์) ต่อวัน จะช่วยเติมพลัง และความสดชื่น ถา้ ดม่ื นา้ ไม่พอระวังสิวบุก ปวดหัวและเกดิ ภาวะขาดนา้  อ อ ก ก้ า ลั ง ก า ย ทุ ก วั น มี ก า ร วิ จั ย กั น ม า แ ล้ ว ว่ า ถ้ า ออกกาลังกายเป็นประจา จะทาให้สดชื่นข้ึนเพราะต่อม pituitary (ต่ อ ม ใ ต้ ส ม อ ง ) แ ล ะ ไ ฮ โ ป ท า ล า มั ส (hypothalamus) หลั่งสารเอนดอร์ฟินออกมาตอนที่คุณ ออกกาลังกาย เลยรู้สึกดีมีความสุข การเดินนี่แหละวิธี ออกกาลังกายที่ง่ายท่สี ุด  ตรวจสขุ ภาพประจ้าปีเป็นประจ้า การตรวจสุขภาพจะต้อง ตรวจอะไรบ้างและตรวจถ่ีขนาดไหนนั้นข้ึนอยู่กับอายุ สุขภาพโดยรวม ประวัติครอบครัว และรูปแบบการใช้ชีวิต ของแต่ละบุคคล โดยท่ัวไปแล้วโปรแกรมตรวจสุขภาพ เบ้ืองต้นจะแบ่งตามเพศและอายุ โดยแพทย์แนะนาให้ตรวจ ทุก 1 ปี สาหรับผู้ท่ีมีปัจจัยเส่ียงต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษอาจ จาเป็นต้องมีการตรวจเพ่ิมเตมิ และตรวจบ่อยข้ึน “มาดแู ลสขุ ภาพกนั ตัง้ แตว่ นั น้ี เพือ่ ชวี ิตทดี่ ีและมคี วามสขุ ” (6)

EP.4 October 2020 สวัสดีครับ สาหรับวนั นกี้ จ็ ะมาตอ่ กนั ในเร่อื ง มาตรฐานอาคารย่ังยนื จากรายงานของ Brundtland หรอื คณะกรรมาธิการโลกวา่ ด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา โดยในปี 1987 ในหัวข้อ “Our Common Future” ได้เสนอแนะไว้ว่า ความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากรจะต้องเพียงพอกับความต้องการในปัจจุบัน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ ความเพียงพอของการใช้ทรัพยากรของคนรุ่นถัดไป หลังจากน้ัน คาว่า “ยั่งยืน” ก็ถูกใช้อย่างแพร่หลายและกว้างขวาง ในหลายอุตสาหกรรมไมเ่ ว้นแมแ้ ต่วงการกอ่ สรา้ ง สาหรบั อาคารย่ังยืน น้ัน ตั้งแต่ในช่วงการออกแบบ การก่อสร้างหรือในระยะดาเนินการ ต้องลดหรือ กาจัดผลกระทบในด้านลบทั้งหมด หรือแม้กระทั่งต้องสร้างผลกระทบด้านบวกต่อทั้งสภาพอากาศและสภาพแวดล้อม การอนรุ ักษ์ทรัพยากรและเพ่ิมคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยอย่างต่อเน่ืองที่ทาให้เกิดการก่อสร้างที่ยั่งยืน คาตอบนั้นไม่ได้ ทาได้งา่ ย ๆ เลย ซ่งึ นนั่ ก็อธบิ ายไดว้ ่า ทาไมในช่วง 30 ปีท่ีผ่านมา มาตรฐานอาคารยั่งยืนหลายอย่างจึงถือกาเนิดขึ้น ขอ อนุญาตยกตวั อยา่ งใหด้ ู 5 มาตรฐาน ดังนี้ 1. DGNB (Deutsche Gesellschaft für Nachhaltiges Bauen) จากประเทศ : เยอรมนั มาตรฐาน : การกอ่ สร้างใหม่ การออกแบบตกแตง่ เพือ่ การคา้ การปรับปรงุ สภาพอาคาร อาคารเกา่ และเขตพืน้ ทเี่ มอื ง DGNB กอ่ ตงั้ เมือ่ ปี 2007 โดยสภาย่ังยืนของเยอรมนั แนวคดิ คือภาพรวมของความยัง่ ยืน มงุ่ เนน้ ในหวั ข้อ สภาพแวดลอ้ ม คน การพาณชิ ย์อยา่ งเทา่ ๆ กัน นอกจากน้ี ยงั เน้นไปทเ่ี รอื่ งคุณภาพทางเทคนคิ และการมสี ่วนร่วมของ ขน้ั ตอนทางสถาปัตยกรรม โดยท่คี วามยืดหยุ่นของมาตรฐานนี้สามาถทาให้ปรับใช้ไดก้ ับสภาพตึกในหลาย ๆ แบบ 2. LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) จากประเทศ : สหรฐั อเมรกิ า มาตรฐาน : การก่อสร้างใหม่ การออกแบบตกแตง่ เพื่อการคา้ การปรับปรงุ สภาพอาคาร อาคารเกา่ และเขตพนื้ ทเ่ี มอื ง LEED ก่อต้งั โดยสภาอาคารเขียวของอเมรกิ า เป็นหน่ึงในระบบการรบั รองท่ใี หญท่ ่ีสุดและมีการใชง้ าน แพร่หลายทวั่ โลก มาตรฐานน้มี ่งุ เน้นไปทม่ี ิติความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อมและสงั คม โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เรื่องน้า ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การลดการปล่อย CO2 การส่งเสริมสภาพอากาศภายในท่มี ีคุณภาพและน่าสบาย และการ นาวสั ดุกลบั มาใช้ใหม่ (7)

3. WELL จากประเทศ : สหรัฐอเมริกา มาตรฐาน : การก่อสร้างใหม่ การออกแบบตกแตง่ การปรบั ปรุงสภาพอาคาร อาคารเก่าและเขตพน้ื ท่ีเมอื ง การวดั สภาพความเป็นอยู่และสุขภาพของผู้ใช้อาคาร มุ่งเน้นไปท่ีมิติของความยั่งยืนทางสังคม มาตรฐานน้ีจะมีกรอบแนวคิดสาหรับการวิเคราะห์ให้กับผู้ทา Project เพื่อสร้างกลยุทธ์การดาเนินการแบบต่าง ๆ มาตรฐานนอ้ี อกแบบให้ใสใ่ จสุขภาพของมนษุ ยแ์ ละความเป็นอยู่ เป็นศนู ย์กลางของการก่อสรา้ งและการดาเนนิ การ 4. BREEAM (Building Research Establishment Environmental Assessment Method) จากประเทศ : สหราชอาณาจกั ร มาตรฐาน : การก่อสร้างใหม่ การออกแบบตกแตง่ การปรับปรุงสภาพอาคาร อาคารเก่าและเขตพน้ื ท่เี มอื ง BREEAM เปน็ ระบบรบั รองมาตรฐานแรกของโลกทีท่ าการประเมนิ ความยัง่ ยืนของอาคาร และยังคง เปน็ หน่ึงในระบบที่ได้รับความนยิ มอยู่ มาตรฐานนีม้ ุ่งเนน้ ไปท่สี ขุ ภาพและความเป็นอยู่ นวตั กรรม การใชพ้ ้นื ดิน วัสดุ การบริหารจัดการ มลภาวะ การเดินทางขนสง่ และของเสยี ทีเ่ กิดขึ้น 5. TREES มาตรฐานอาคารเขยี วไทย จากประเทศ : ไทย มาตรฐาน : การกอ่ สรา้ งใหม่ เปลอื กอาคาร อาคารเก่า TREES เปน็ มาตรฐานอาคารเขยี วของไทย โดยมกี ารประเมนิ ในหวั ข้อดังต่อไปน้ี การบรหิ ารจัดการอาคาร ผังบริเวณและภมู ิทศั น์ การประหยดั น้า พลงั งานและบรรยากาศ วสั ดทุ รพั ยากรในการกอ่ สรา้ ง คณุ ภาพของสภาพแวดล้อมในอาคาร การปอ้ งกนั ผลกระทบ ส่งิ แวดลอ้ มและนวตั กรรม สาหรบั เร่ืองราวของมาตรฐานอาคารยั่งยืนประเภทตา่ ง ๆ ท้ังในประเทศไทยและทั่วโลก มาตรฐานเหลา่ นี้เป็นตัวเปลยี่ น (Transform) งาน ด้านการก่อสรา้ งให้เปน็ งาน ท่มี ผี ลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มทล่ี ดลง ผา่ นการมปี ระสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลังงานทด่ี ขี ึ้น วสั ดุที่ดขี ้นึ ทางเลือกมกี าร ตรึกตรองมากขึ้น นอกจากน้ี ระบบการรับรองก็มีส่วนช่วยในการเปลี่ยนแปลงค่านิยมทางการตลาดและ คา่ นยิ มของลูกค้าทีจ่ ะพิจารณาเลือกให้อาคารสานักงานของตนเป็นอาคารแหง่ ความย่ังยืน แลว้ พบกันใหม่ฉบบั หน้า ขอบคณุ และสวสั ดีครบั  Admin โอห์ม สว่ นจัดการความรแู้ ละนวัตกรรม Knowledge Management and Innovation Section (8)

ภาพกิจกรรมฝ่ายบริหารอาคาร ธพส. รว่ มโครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมฯ เมอื่ วันท่ี 13 กันยายน 2563 ผู้แทน ธพส. รว่ มกบั สานกั ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม จดั โครงการ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมในองค์กรตาม หลักธรรมาภิบาล (สง่ เสริมคุณธรรมด้านจติ สาธารณะ แกบ่ คุ ลากร) คร้งั ท่ี 2 ด้วยการรว่ มมอื ทาสีปรบั ปรุงทัศนียภาพบรเิ วณลานจอดรถ อาคารเอ ธพส. รว่ มกิจกรรมจิตอาสา “เราทาความดดี ว้ ยหวั ใจ” เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2563 ผู้แทน ธพส. ร่วมกับ กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 ทากิจกรรมจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ดาเนินการทาความสะอาดขัดล้างพื้น บรเิ วณศาลพระพรหม (9)

“พบกนั ใหมฉ่ บับหนา้ ” ภาพประกอบ : พระเจดียว์ ดั สวนดอก จ.เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook