Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม

เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม

Published by noppamats1150, 2020-12-14 15:28:04

Description: เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 3 เทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการทาธุรกรรม โดยไม่ตอ้ งผา่ นบุคคลที่สาม

ความหมายของบลอ็ กเชน( Blockchain) บลอ็ กเชนเปรียบเสมือนเครือข่ายการเกบ็ ขอ้ มูลแบบหน่ึง ท่ีทุกคนสามารถเขา้ ถึงและไดร้ ับขอ้ มูล เดียวกนั เราจึงรู้ว่าใครมีสิทธิและเป็นเจา้ ของขอ้ มูลเหล่าน้ีจริงๆ โดยขอ้ มูลเหล่าน้ีจะถูกเก็บอยใู่ นแต่ละบลอ็ ก (block)ท่ีเชื่อมโยงกนั บนเครือข่ายเหมือนกบั ห่วงโซ่ (Chain)น่ีจึงเป็นเหตุผลหน่ึง ท่ีทาใหเ้ ราเรียกรูปแบบการ เกบ็ และแชร์ขอ้ มูลแบบน้ีวา่ Blockchainนอกจากน้ี เม่ือธุรกรรมต่างๆ ถูกบนั ทึกในบลอ็ กเหล่าน้ีแลว้ เราจะไม่ สามารถเขา้ ไปเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลใดๆ ได้ เพราะทุกคนต่างกม็ ีสาเนาหรือประวตั ิการทาธุรกรรมท้งั หมดอยกู่ บั ตวั จึงเป็ นเร่ืองที่เป็ นไปไม่ไดเ้ ลย ท่ีใครจะมาปลอมแปลงขอ้ มูล โดยปราศจากการรับรู้จากผูค้ นส่วนใหญ่ เทคโนโลยที ่ีช่วยเปลี่ยนโฉมหนา้ ของการทาธุรกิจ

ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Blockchain) blockchain เป็นเทคโนโลยที ี่จะมาเปลี่ยนวธิ ีการทาธุรกรรมทุกชนิด และเป็นแพลตฟอร์มใน การทาธุรกรรมแบบ peer-to-peer ที่มีการบนั ทึกขอ้ มูลรายการธุรกรรมท้งั หมดแบบกระจายศูนย์ ซ่ึง Blockchain ได้ถูกการพฒั นาเป็ นคร้ังแรกในภาคการเงิน เพื่อใช้เป็ นพ้ืนฐานสาหรับเงินดิจิทลั (cryptocurrency) ซ่ึงการพฒั นาแอพพลิเคชน่ั Blockchain สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ช่วงใหญ่ๆ ตาม ข้นั ตอนของการพฒั นา ไดแ้ ก่ Blockchain1.0, Blockchain2.0, และ Blockchain3.0 โดย \"Blockchain 1.0\" หรือการพฒั นาในระยะท่ี 1.0 ประกอบดว้ ยสกลุ เงินแบบเสมือน (เงินดิจิทลั ) เช่น Bitcoin ซ่ึงสามารถใชแ้ ทนสกุลเงินจริงได้ เช่นยโู รหรือดอลลาร์ และในวนั น้ี Bitcoin ถูกนามาใชใ้ น แอพพลิเคชน่ั ของ Blockchain และท่ีเป็นที่รู้จกั กนั ดีท่ีสุดของคนทว่ั ไป และกาลงั จะถูกนามาใชม้ ากข้ึน

การพฒั นา Blockchain ในระยะต่อมา หรือ \"Blockchain 2.0\" คือการใชร้ ูปแบบ smart contract โดย \"smart contract\" หมายถึง กระบวนการทางดิจิทลั ที่กาหนดข้นั ตอนการทาธุรกรรมโดยอตั โนมตั ิไว้ ล่วงหนา้ โดยไม่ตอ้ งอาศยั ตวั กลาง อย่างเช่น ธนาคาร ซ่ึงการสร้าง smart contract ท่ีเป็ นระบบ อตั โนมตั ิอยา่ งเตม็ รูปแบบ โดยคู่สัญญาท้งั สองฝ่ ายจะมีการตกลงกนั ก่อนหนา้ น้ี ถึงข้นั ตอน กลไกใน การทารายการธุรกรรมดงั กล่าว ซ่ึงการพฒั นาน้ีส่งผลกระทบต่อรูปแบบธุรกิจแบบด้งั เดิมของธนาคาร บริษทั และนักพฒั นา อาจตดั สินใจสร้างแอพพลิเคช่ันของตนบน Blockchain สาธารณะ หรือ Blockchain ส่วนตวั โดยใน Blockchain แบบสาธารณะน้นั ระบบจะไม่มีการเปิ ดเผยตวั ตนของ ผเู้ ขา้ ร่วม ตวั อยา่ งของสกลุ เงินที่ใชใ้ น Blockchain ไดแ้ ก่ Bitcoin และ Ethereum เป็นตน้ ส่วน Blockchain ในยคุ ถดั ไป ท่ีเรียกวา่ \"Blockchain 3.0\" โดย Blockchain 3.0 คือการพฒั นาแนวคิด เกี่ยวกบั smart contract เพื่อสร้างกระบวนการแบบกระจายศูนยท์ ี่เป็นอิสระ ที่ตอ้ งมีการกาหนดกฎ การทาธุรกรรมของกลุ่มกนั เองและดาเนินการดว้ ยความเป็นอิสระ ในรูปแบบธุรกรรมอตั โนมตั ิ จึงทาให้ Blockchain 3.0 สามารถขบั เคลื่อนองคก์ รดิจิทลั เตม็ รูปแบบท่ีไม่จาเป็นตอ้ งมีพนกั งานใน การช่วยทาธุรกรรมเลยในอนาคต

หลกั การทางานของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนBlockchain ประกอบไปดว้ ย 4 ข้นั ตอนหลกั ๆ คือ ข้นั ตอนที่ 1 Create คือ Block ท่ีบรรจุคาสงั่ ขอทารายการธุรกรรม ข้นั ตอนที่ 2 Broadcast คือ Block ใหม่น้ีใหก้ บั ทุก Node ในระบบและบนั ทึกรายการธุรกรรมลง Ledger ข้นั ตอนที่ 3 Validation คือ Node อ่ืนๆ ในระบบยนื ยนั และตรวจสอบขอ้ มูลของ Block น้นั วา่ ถูกตอ้ ง ตามเง่ือนไข ข้นั ตอนท่ี 4 Add to chain คือ นา Block ดงั กล่าวมาเรียงต่อจาก Block ก่อนหนา้ น้ี

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน Blockchain ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบหลกั 1.Block 3.Consensus 2.Chain 4.Validation

1.Block คือ ชุดขอ้ มูล แบ่งออกเป็น 2ส่วน คือ ส่วนของ Block Header เพอื่ ใชบ้ อกใหผ้ อู้ ื่น ทราบวา่ ภายในบรรจุขอ้ มูลอะไรไวแ้ ละส่วน ที่ใส่เขา้ ไปใน Block Data ที่เรียกวา่ Item เพือ่ ใชใ้ นการบรรจุขอ้ มูล ต่างๆ เช่น ขอ้ มูลจานวนเงิน ขอ้ มูลการโอน เงิน

2.Chain คือ วธิ ีการจดจาขอ้ มูลทุกๆ ธุรกรรมของผทู้ ี่ มีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั ทุกๆ ฝ่ายในระบบและ บนั ทึกขอ้ มูลพร้อมจดั ทาสาเนาแจกจ่าย ใหก้ บั ทุกคนในระบบ

3.Consensus คือ การกาหนดขอ้ ตกลงและความเห็นชอบร่วมกนั ระหวา่ งสมาชิกในเครือข่ายบลอ็ กเชน โดยสมาชิก ตอ้ งยอมรับกฎระเบียบร่วมกนั ดว้ ยกลไกในการควบคุมขอ้ มูลในทุก Node ผา่ นอลั กอริทึมต่างๆ เพอื่ ใหข้ อ้ มูลมีความเท่ียงตรงและเป็นชุดเดียวกนั

4.Validation คือ การตรวจสอบความถูกตอ้ งแบบทบทวนท้งั ระบบและทุก Node ในระบบบลอ็ กเชน (Blockchain)เพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ จะไม่มี ขอ้ ผดิ พลาดเกิดข้ึนไม่วา่ จะมาจากส่วนใดกต็ าม ซ่ึงกค็ ือส่วนหน่ึง ของ Consevsus ที่เรียกวา่ Proof-of-work มีจุดประสงคอ์ ยู่ 3 ประการคือ 1.วธิ ีการยอมรับ/ปฏิเสธ รายการในBlockน้นั ๆ 2.วธิ ีการตรวจสอบที่ทุกคนในระบบยอมรับร่วมกนั 3.วธิ ีการสอบความถูกตอ้ งของแต่ละ Block

ประเภทของบลอ็ กเชน(Blockchain) ในปัจจุบนั ไดม้ ีการแบ่ง Blockchain ออกเป็น 3 ประเภท น้นั คือ Public, Private, Consortium ซ่ึงแต่ละอนั จะเหมาะสมกบั การใชง้ าน ต่างกนั ไปครับผม ดงั น้ี 1.Public Blockchain Blockchain ประเภทน้ีเป็น Blockchain ปกติท่ีเรารู้จกั กนั ดีอาทิ Bitcoin, Ethereum ซ่ึงเป็น Blockchain ที่ใช้ งานจริงกบั คนทุกคนทวั่ โลก ขอ้ ดีของ Public Blockchain แบบน้ีคือ ทางองคก์ รไม่จาเป็นตอ้ งลงทุนค่าเคร่ือง ไมเ้ ครื่องมือในราคาสูง อาทิถา้ เราใช้ Ethereum มาเป็นที่รับและส่งขอ้ มูล จากน้นั กเ็ กบ็ ขอ้ มูลไวเ้ รียกข้ึนมาดู เรากไ็ ม่ตอ้ งลงทุนซ้ือ Harddisk และเครื่อง Server ต้งั แต่แรก เราเพียงแค่จ่ายค่าการรับส่งและเกบ็ ขอ้ มูลตาม การใชง้ านจริงเท่าน้นั • ขอ้ ดีของ Public Blockchain ยงั มีอีกมากมายอาทิ การส่งขอ้ มูลไปใหห้ น่วยงานผรู้ ับปลายทางเรากไ็ ม่ตอ้ ง มาสร้างช่องทางส่งขอ้ มูลกนั หรือในตอนน้ีเรานิยมทา Web Service API คุยกนั องคก์ รผสู้ ่งขอ้ มูลเพยี งแค่ ใส่ขอ้ มูลลงไปใน Blockchain และจ่าหนา้ ซองขอ้ มูลถึงองคก์ รผรู้ ับเท่าน้นั ผรู้ ับกไ็ ดร้ ับขอ้ มูลไปโดยทนั ที • ขอ้ เสียของ Public Blockchain กม็ ีครับ เช่น ขอ้ มูลท่ีเราใส่เขา้ ไปบนโลก Public Blockchain น้นั จะ กลายเป็นวา่ ขอ้ มูลน้นั โดนเปิ ดเผยแก่สาธารณะชน เรากต็ อ้ งมาคิดวธิ ีการในการห่อขอ้ มูลของเราเองก่อน อีกทีซ่ึงทาใหเ้ กิดความยงุ่ ยากวนุ่ วายตามมาไดเ้ ช่นกนั

2.Private Blockchain Blockchain ประเภทน้ีเป็นไปตามช่ือเลยครับน้นั คือ การสร้างวง Blockchain ข้ึนมาเองเลยภายในองคก์ รใชง้ านกนั เอง อาจจะเป็นบริษทั ในเครือเท่าน้นั ที่มีสิทธิเขา้ ถึง Blockchain วงน้ีได้ เป็นอะไรท่ีตรงขา้ มกบั Public Blockchain ไปเลย อยา่ งสิ้นเชิง อยา่ งน้ีกจ็ ะลดปัญหาการเปิ ดเผยขอ้ มูลที่เราเจอในวง Public Blockchain ได้ แต่กแ็ ลกมาดว้ ยการที่องคก์ รตอ้ ง ลงทุนในการสร้างระบบ Infrastructure ข้ึนมาใหร้ องรับการทางานภายในองคก์ ร • ขอ้ ดีของ Private Blockchain คือการที่เราสามารถปรับกฎเกณฑต์ ่างๆของ Blockchain Network ของเราใหท้ างานได้ ดงั ใจสง่ั ไม่ตอ้ งออกแบบระบบใหเ้ ป็นไปตามกฎของโลกเหมือนการที่เราไปอิงอยบู่ น Public Blockchain • ขอ้ เสียของ Private Blockchain จะไม่มีการกระจายอานาจในการตรวจสอบทาใหผ้ ยู้ นื ยนั ความถูกตอ้ งของ Transation(Miner) ถูกจากดั

3. Consortium Blockchain Blockchain ประเภทที่ 3 น้ีคือการรวมกนั ของ 2 แนวคิดแรกเขา้ ดว้ ยกนั เป็นการผสาน Public – Private เขา้ ดว้ ยกนั และเหมือนจะเป็นการรวมขอ้ ดีเขา้ มาดว้ ยกนั ซ่ึงแนวคิดกนั กาลงั ไดร้ ับความนิยม อยา่ งสูงในปัจจุบนั น้นั คือการที่องคก์ รต่างๆ ที่มีลกั ษณะธุรกิจเหมือนกนั และตอ้ งรับส่งแลกเปลี่ยน ขอ้ มูลกนั อยแู่ ลว้ มารวมกนั ต้งั สิ่งท่ีเรียกวา่ Consortium Blockchain • ขอ้ ดีที่เห็นไดช้ ดั คือ องคก์ รจะไม่ตอ้ งกงั วลวา่ ขอ้ มูลสาคญั ขององคก์ รและลกู คา้ จะกลายเป็น ขอ้ มลู สาธารณะ • ขอ้ เสีย คือ ขาดความคล่องตวั ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขการใชง้ านต่าง ๆ เพราะทุการ เปล่ียนแปลงตอ้ งผา่ นมติเห็นชอบขององคก์ รสมาชิกท่ีใชง้ านร่วมกนั ก่อน

รูปแบบของเครืองข่ายบลอ็ กเชน(Blockchain) (1) Non-permissioned public ledgers (หรือ Permissionless Ledgers) เป็นบลอ็ กเชน ที่ไม่มีผใู้ ดมีสิทธ์ิอนุญาตใหบ้ ุคคลอ่ืน ๆ สามารถอ่านขอ้ มูล หรือส่งรายการธุรกรรม (Transaction) ขอ้ มูลไดแ้ ต่เป็นบลอ็ กเชนที่เปิ ดใหท้ ุกคน สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการ ซ่ึงประกอบดว้ ย การกาหนดวา่ บลอ็ กไหนถูกเพมิ่ เขา้ ไปใน บลอ็ กเชน (Blockchain) ยกตวั อยา่ งเช่น กลุ่มของสกลุ เงินดิจิทลั (Cryptocurrency) อยา่ งบิทคอยน์ (Bitcoin) และ Ethereum ท่ีมองภาพกวา้ งกวา่ บิทคอยน์ (Bitcoin) โดยไม่จากดั อยแู่ ค่สกลุ เงิน แต่ เป็นระบบประมวลผลแบบไร้ศูนยก์ ลาง (2) Permissioned public ledgers เป็นบญั ชีแยกประเภท (Distributed Ledger) ท่ีมีการคดั เลือกผทู้ ี่เขา้ มา เกี่ยวขอ้ งไวก้ ่อน โดยเครือข่ายน้นั อาจจะมีเจา้ ของ อยแู่ ลว้ ซ่ึงเหมาะกบั แอปพลิเคชนั ที่ตอ้ งการความรวดเร็ว และมีความโปร่งใส ตวั อยา่ งเช่น Ripple เป็นระบบแลกเปล่ียนหน่วยเงินและการโอนเงินขา้ มประเทศ

(3) Permissioned private ledgers เป็น Private Blockchain อยา่ ง เตม็ รูปแบบท้งั การเขา้ ถึงขอ้ มูล และการส่งคาขอดาเนินรายการธุรกรรม (Submit Transaction) โดย เครือข่ายบลอ็ กเชน (Blockchain Network) ถูกจากดั ใหก้ บั กลุ่มที่ถูกกาหนดไวก้ ่อน ตวั อยา่ งเช่น Bankchain ซ่ึงเป็นระบบ Clearing และ Settlement ที่ทางานบน Blockchain

คุณลกั ษณะพ้ืนฐานที่สาคญั ของเทค โนโลยบี ลอ็ กเชน(Blockchain) การจดั เกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบของ Block โดย เชื่อมต่อแต่ละ Block ดว้ ย Hash Function และกระจายใหท้ ุก Node เกบ็ ทาใหเ้ กิด คุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของบลอ็ กเชน 3 ประการ คือ

1.ความถูกตอ้ งเที่ยงตรงของขอ้ มูล Data Integrityเนื่องจากการเชื่อมโยง Block ปัจจุบนั และ Block ก่อนหนา้ ดว้ ยHash Function กระจายใหท้ ุก Node เกบ็ ทาใหข้ อ้ มูลท่ีถูกบนั ทึกลงใน บลอ็ กเชน แลว้ ไม่สามารถแกไ้ ขได้ ดงั น้นั หากพยายามแกไ้ ขขอ้ มูลที่ถูกบนั ทึกลงในบลอ็ ก แลว้ ทราบทนั ที เนื่องจากขอ้ มูลใน Nodeดงั กล่าวจะมีขอ้ มูลท่ีต่างออกไป Node อ่ืนๆ ในระบบและ ไม่สามารถสร้าง Consensus กบั Node อื่นไดท้ าใหถ้ ูกแยกออกจาก Chain หลกั ไปในท่ีสุด 2.ความโปร่งใสในการเขา้ ถึงขอ้ มูล Data Transparency เน่ืองจากทุก Node ในระบบบลอ็ กเชนจะเกบ็ ขอ้ มูลเดียวกนั ท้งั หมด โดยไม่มี Node ใด Node หน่ึงเป็นตวั กลางท่ีมีอานาจแต่เพยี งผเู้ ดียวในการเกบ็ ขอ้ มูล 3.ความสามารถในการทางานไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองของระบบ Availability เน่ืองจากทุก Node ในระบบบลอ็ กเชนจะเกบ็ ขอ้ มูลเดียวกนั ท้งั หมดจึงสามารถทางาน ทดแทนกนั ไดเ้ มื่อมี Node ที่ไม่สามารถบริการไดข้ ณะน้นั โดยระบบจะทาการคดั ลอกสาเนา ขอ้ มูลใหเ้ ป็นขอ้ มูลชุดเดียวกนั เม่ือ Node กลบั ข้ึนมาใหบ้ ริการไดอ้ ีกคร้ัง

ประโยชน์ของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (Blockchain) ทุกธุรกรรมในระบบดิจิทลั จะไดร้ ับการเกบ็ บนั ทึกอยา่ งปลอดภยั ในห่วงโซ่ (เชน) ที่เช่ือมต่อกนั ดว้ ย กุญแจดิจิทลั ท่ีมีการเขา้ รหสั ไวส้ าหรับใชแ้ สดงความถูกตอ้ งเม่ือไดร้ ับการตรวจสอบจากเครือข่าย การสร้างสาเนา การแกไ้ ข หรือการลบธุรกรรมจะไดร้ ับการป้องกนั โดยเชนซ่ึงมีอยใู่ นคอมพิวเตอร์ของแต่ละคนบนเครือข่าย ยง่ิ บลอ็ กเชนยาวมากเท่าไรและเครือข่ายกวา้ งไกลมากเพียงใด คียด์ ิจิทลั กย็ ง่ิ มีความซบั ซอ้ นมากข้ึน ดงั น้นั บลอ็ กเชน จึงมีความปลอดภยั มากยงิ่ ข้ึนไปอีก สาหรับ ขอ้ ดีทางธุรกิจการใชร้ ะบบคา้ ขายแลกเปล่ียนแบบใหม่น้ีสามารถสร้างประโยชน์ใหก้ บั ธุรกิจไดอ้ ยา่ ง มากมาย แต่ส่วนใหญ่แลว้ จะมุ่งเนน้ ไปท่ีความสามารถอยา่ งนอ้ ย 1 ใน 6อยา่ งดงั น้ี ขอ้ ดีที่ 1 ประสิทธิภาพ การทาธุรกรรมระหวา่ งบุคคลหรือกลมุ่ ที่เกี่ยวขอ้ งสามารถเสร็จสมบูรณ์ ไดโ้ ดยตรงและไม่ ตอ้ งมีคนกลาง ท้งั ยงั สามารถใชข้ อ้ มูลในรูปแบบดิจิทลั จึงทาใหก้ ารดาเนินธุรกรรมเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว นอกจากน้ี ยงั สามารถใช้ ‘สญั ญาอจั ฉริยะ’ (Smart Contract) เพอ่ื ผลกั ดนั ใหก้ ารดาเนินการดา้ นการคา้ เป็นไปตามเกณฑท์ ่ี กาหนดไวใ้ นสัญญาดงั กล่าว ขอ้ ดีที่ 2 ความพร้อมท่ีจะใหต้ รวจสอบบญั ชี เนื่องจากธุรกรรมแต่ละรายการไดร้ ับการเกบ็ บนั ทึกอยา่ งต่อเนื่องและ ไม่มีกาหนด ดงั น้นั จึงสามารถดาเนินการตรวจสอบไดต้ ลอดท้งั วงจรชีวติ ของสินทรัพย์ ส่ิงน้ีจะยงิ่ มีความสาคญั อยา่ งมากหากขอ้ มูลตน้ ฉบบั เป็นสิ่งจาเป็นที่ตอ้ งใชใ้ นการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของสินทรัพย์

ขอ้ ดีที่ 3 ความสามารถดา้ นการติดตาม การติดตามสินคา้ ในซพั พลายเชนจะไดร้ ับประโยชน์หากตอ้ งการติดตาม ตรวจสอบวา่ ตอนน้ีชิ้นส่วนต่างๆ อยทู่ ี่ใดบา้ ง โดยขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ชิ้นส่วนดงั กล่าวจะถูกส่งไปยงั หรือไดร้ ับจาก เจา้ ของใหม่เพื่อดาเนินการในดา้ นอ่ืนๆ ต่อไป ขอ้ ดีที่ 4 ความโปร่งใส ในบางคร้ังการขาดความโปร่งใสทางการคา้ อาจนาไปสู่ความล่าชา้ ในการดาเนินธุรกิจและ สามารถทาลายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั ได้ ซ่ึงการใหร้ ายละเอียดของการทาธุรกรรมอยา่ งชดั เจนจะช่วยเพ่ิมความ น่าเช่ือถือใหก้ บั กระบวนการคา้ ขาย ท้งั ยงั ช่วยเสริมสร้างความสมั พนั ธ์ใหม้ น่ั คงยง่ิ ข้ึนตามระดบั ความโปร่งใสท่ีมีอยดู่ ว้ ย ขอ้ ดีท่ี 5 ความปลอดภยั ธุรกรรมแต่ละรายการจะไดร้ ับการตรวจสอบภายในเครือข่ายโดยใชก้ ารเขา้ รหสั ลบั ที่ซบั ซอ้ น และไดร้ ับการตรวจสอบอยา่ งอิสระ ดงั น้นั จึงสามารถมน่ั ใจในความถูกตอ้ งของขอ้ มูลได้ และขอ้ มูลที่น่าเช่ือถือดงั กล่าว เป็นหน่ึงในพ้ืนฐานสาคญั ของการใชป้ ระโยชน์จากแนวทางอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงค์ ซ่ึงเป็นกระบวนการทางานเช่ือมโยง สินทรัพยท์ ี่ใชง้ านอยผู่ า่ นระบบอินเทอร์เน็ตท่ีมีการควบคุมในระบบปิ ด ขอ้ ดีท่ี 6 ความเห็น ดว้ ยความสามารถในการติดตามสินทรัพยค์ รอบคลุมท้งั วงจรชีวติ ผอู้ อกแบบและผผู้ ลิตสินทรัพยจ์ ึง สามารถปรับรูปแบบการบริหารจดั การสินทรัพยต์ ลอดวงจรชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน โดย อาศยั ขอ้ มูลในดา้ นต่างๆ ไมวา่ จะเป็นการจดั ส่ง การติดต้งั การบารุงรักษา และการร้ือถอน

การนาเสนอบลอ็ กเชน (Blockchain)ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น กระบวนการห่วงโซ่อุปทาน การจดั การห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมอาหาร (Food Supply Chain Management) เป็น การจดั การกบั กิจกรรมต่างๆ ท้งั กระบวนการของธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารเชิงบูรณาการ กล่าวคือ เป็นการเชื่อมโยงกระบวนการ เช่น ผคู้ า้ ส่ง ผผู้ ลิต ผแู้ ปรรูปข้นั ตน้ ผแู้ ปรรูปข้นั สุดทา้ ย การขนส่ง ผบู้ ริโภค ผคู้ า้ ปลีก โดยกระบวนการต่างๆ เชื่อมโยงกนั ดว้ ยการใชข้ อ้ มูลท่ีสามารถเปิ ดเผยไดร้ ่วมกนั ระบบการคมนาคมขนส่งท่ีมีประสิทธิภาพ การอานวย ความสะดวกจากภาครัฐ เป็นตน้ ระบบ EDI (Electric Data Interchange) เป็นอีกหน่ึงเครื่องมือ ที่ทาใหท้ ้งั โซ่อุปทานเกิดความสาเร็จ

บลอ็ กเชนเขา้ มามีบทบาทในอุตสาหกรรมอาหาร ปัจจุบนั บริษทั อุตสาหกรรมอาหารยกั ษ์ ใหญ่และซุปเปอร์มาเกต็ ในยโุ รป เช่น เนสทเ์ ล่ คาร์ฟูร์ สตาร์บคั ไดร้ ิเริ่มนาเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนมา ใช้ เพื่อใหผ้ บู้ ริโภคสามารถติดตามการผลิตต้งั แต่โรงงาน ท่ีต้งั ของคลงั สินคา้ ตลอดจนสามารถคน้ หา ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เกษตรกรไดอ้ ีกดว้ ย

นางสาวนพมาศ มีผล 1สบช1 รหัสนักศึกษา63302010013