Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Membership guide

Membership guide

Published by Tanawan Patthanasracoo, 2021-12-30 03:46:15

Description: Membership guide

Search

Read the Text Version

กองทนุ บำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 1

สารบัญ 01 เกีย่ วกับ กบข. 3 02 การลงทุนของ กบข. 8 03 การบรหิ ารความเสยี่ ง 11 04 การก�ำ กบั ดแู ลกิจการ 22 05 เงินออมที่สมาชิกมีใน กบข. 28 06 สทิ ธกิ ารรับเงินจาก กบข. 39 07 บรกิ ารออมเพมิ่ 54 08 แผนทางเลอื กการลงทนุ 59 09 บริการออมต่อ 65 10 สวสั ดกิ ารสมาชกิ กบข. 69 11 ใบแจ้งยอดเงนิ สมาชกิ 74 12 บรกิ ารทนั ใจ (GPF Service) 79 13 ชอ่ งทางการสอบถามและตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสาร กบข. 84 2 กองทนุ บำ�เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

01 เกีย่ วกบั กบข. รจู้ ัก กบข. กองทุนบำ�เหนจ็ บ�ำ นาญข้าราชการ (กบข.) เป็นหนว่ ยงานของรัฐ ที่เป็นนิติบุคคลจัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญ ขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื 1. เปน็ หลกั ประกนั การจา่ ยบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญและใหป้ ระโยชนต์ อบแทน การรับราชการแก่ข้าราชการเมอ่ื ออกจากราชการ 2. ส่งเสรมิ การออมทรัพย์ของสมาชกิ 3. จดั สวัสดิการและสิทธปิ ระโยชน์อื่นใหแ้ ก่สมาชิก กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ 3

หน้าทห่ี ลักของ กบข. หนา้ ทห่ี ลักของ กบข. มี 2 ด้าน คือ 1. ด้านลงทุน : กบข. มีหน้าท่บี รหิ ารเงนิ ออมของข้าราชการที่ เป็นสมาชิก โดยนำ�เงินที่รับจากสมาชิกและส่วนราชการต้นสังกัดของ สมาชิกไปลงทุนภายใต้วัตถุประสงค์และนโยบายการลงทุนตามท่ีกฎหมาย กำ�หนด เพื่อสร้างผลตอบแทนเฉลี่ยระยะยาวที่เหมาะสมและภายใต้การ บริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งผลตอบแทนดังกล่าวจะต้องสูงกว่า เงินเฟ้อเฉล่ยี ในระยะเวลาเดียวกนั 2. ดา้ นสมาชิก : กบข. มีหน้าท่บี ริหารจัดการเกีย่ วกบั การรบั จา่ ย เงินและการจัดสรรผลประโยชน์ให้แก่สมาชิกและส่วนราชการต้นสังกัด ทำ�การประชาสัมพันธ์เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับ การบริหารเงินลงทุนและกิจการของ กบข. การจัดสวัสดิการและสิทธิ ประโยชนต์ า่ งๆ ใหแ้ ก่สมาชกิ สมาชิก กบข. ขา้ ราชการท่เี ขา้ รับราชการตง้ั แตว่ ันที่ 27 มีนาคม 2540 ทกุ คนตอ้ ง เปน็ สมาชิก กบข. ตามทีพ่ ระราชบัญญตั ิกองทุนบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 กำ�หนด ส่วนข้าราชการท่เี ขา้ รบั ราชการกอ่ นวนั ที่ 27 มีนาคม 2540 มีสทิ ธเิ ลือกเป็นสมาชกิ ตามความสมคั รใจ 4 กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ

ปัจจุบนั สมาชกิ กบข. ประกอบด้วยขา้ ราชการ 12 ประเภท ดงั ต่อไปนี้ 1. ข้าราชการพลเรือน 2. ขา้ ราชการฝา่ ยตุลาการ 3. ข้าราชการฝ่ายอัยการ 4. ขา้ ราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศกึ ษา 5. ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 6. ขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ 7. ขา้ ราชการต�ำ รวจ 8. ข้าราชการทหาร 9. ขา้ ราชการสำ�นักงานศาลรฐั ธรรมนูญ 10. ข้าราชการศาลปกครอง 11. ขา้ ราชการส�ำ นักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ 12. ขา้ ราชการส�ำ นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ เมอื่ ปี 2549 ได้มีการแกไ้ ขพระราชบญั ญตั ิกองทนุ บำ�เหน็จบ�ำ นาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2539 เพื่อให้ครอบคลุมสิทธิของผู้ที่เคยเป็นข้าราชการ สมาชกิ กบข. ใน 2 กรณี ดังตอ่ ไปน้ี กรณที ี่ 1 สมาชิก กบข. ที่โอนย้ายไปปฏิบตั ิงานที่องค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่ินตามทมี่ กี ฎหมายหรอื มติคณะรัฐมนตรี ให้คงเปน็ สมาชกิ กบข. ต่อไปได้ กรณที ี่ 2 สมาชกิ กบข. ซงึ่ รับราชการอยูใ่ นมหาวิทยาลัยทแี่ ปร สภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐและมีความประสงค์เป็นสมาชิก กบข. ต่อไป แมม้ หาวิทยาลัยจะไม่เป็นส่วนราชการแลว้ ก็ตาม กองทนุ บำ�เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ 5

การบรหิ ารจดั การของ กบข. กบข. มคี ณะกรรมการกองทนุ บำ�เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ (คณะ กรรมการ กบข.) ท�ำ หน้าท่ีกำ�หนดนโยบาย และออกระเบยี บ ขอ้ บังคบั ประกาศ และคำ�สงั่ ในการบริหารกิจการของกองทนุ รวมทั้งมีอำ�นาจหนา้ ท่ี ก�ำ กบั ดูแลการจดั การกองทนุ ตลอดจนกำ�หนดนโยบายการลงทนุ ตามหลกั เกณฑ์ท่กี �ำ หนดในกฎกระทรวงต่างๆ โดยคณะกรรมการ กบข. มีจ�ำ นวน ทั้งสน้ิ 25 คน ประกอบดว้ ย 1. กรรมการผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ จำ�นวน 9 คน ประกอบ ดว้ ยปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ และมกี รรมการโดย ตำ�แหน่งอกี 8 คน ได้แก่ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งบประมาณ เลขาธิการคณะ กรรมการกฤษฎีกา เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อำ�นวยการ ส�ำ นักงานเศรษฐกจิ การคลัง อธิบดกี รมบัญชกี ลาง ผ้วู า่ การธนาคารแหง่ ประเทศไทย และเลขาธกิ ารส�ำ นกั งานคณะกรรมการกำ�กบั หลักทรัพยแ์ ละ ตลาดหลักทรพั ย์ 2. กรรมการผู้แทนสมาชกิ จ�ำ นวน 12 คน ซงึ่ เปน็ ตัวแทนจาก ข้าราชการสมาชกิ แต่ละประเภท 3. กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ จ�ำ นวน 3 คน ซง่ึ ได้รับการแตง่ ตง้ั โดย กรรมการผู้แทนหน่วยงานภาครฐั และกรรมการผแู้ ทนสมาชิก 4. เลขาธิการคณะกรรมการ กบข. เป็นกรรมการและเลขานกุ าร ของคณะกรรมการ กบข. ซง่ึ ไดร้ บั การสรรหาและแตง่ ตง้ั โดยคณะกรรมการ กบข. นอกจากนี้ กบข. ยงั มีคณะอนุกรรมการต่างๆ ประกอบดว้ ย 1. คณะอนุกรรมการทีก่ �ำ หนดโดยพระราชบญั ญตั ิกองทุนบำ�เหน็จ บำ�นาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 จ�ำ นวน 2 คณะ คือ คณะอนุกรรมการ จดั การลงทนุ และคณะอนุกรรมการสมาชกิ สัมพันธ์ 6 กองทุนบำ�เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

2. คณะอนกุ รรมการทีค่ ณะกรรมการ กบข. แตง่ ต้งั เพือ่ ปฏิบัติ หน้าทเ่ี ฉพาะดา้ นตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการ กบข. จำ�นวน 5 คณะ ประกอบด้วย คณะอนุกรรมการตรวจสอบ คณะอนกุ รรมการ กฎหมาย คณะอนกุ รรมการบรหิ ารความเสย่ี ง คณะอนกุ รรมการธรรมาภบิ าล และคณะอนุกรรมการประเมนิ ผลงานและพิจารณาคา่ ตอบแทน ทง้ั น้ี สมาชกิ สามารถตดิ ตามรายชือ่ คณะกรรมการ กบข. และคณะ อนุกรรมการชดุ ปัจจุบันทางเว็บไซต์ กบข. www.gpf.or.th กบข. มกี ระบวนการตดั สนิ ใจและการก�ำ กบั ควบคมุ ดแู ลกจิ การตาม กฎหมาย และมีกรอบและกลไกการควบคมุ ภายในอืน่ ๆ อาทิ การจัดสำ�รบั การลงทนุ โดยม่งุ หวังผลระยะยาว เพ่อื ใหส้ อดคล้อง กับลักษณะของกิจการ ซงึ่ เปน็ กองทนุ ระยะยาวเพ่อื การเกษยี ณอายุ การกระจายความเสย่ี ง ซ่งึ ด�ำ เนนิ การในหลายมิติ ทัง้ ความเส่ยี ง ดา้ นตลาด ความเส่ยี งด้านเครดิต และความเสย่ี งด้านสภาพคลอ่ ง การตรวจสอบและถ่วงดุล ซึ่งกำ�หนดให้สมดุลในระหว่างคณะ กรรมการ กบข. ที่ประกอบด้วยผู้แทนของหน่วยงานภาครัฐที่เป็นผู้ดูแล ผลประโยชน์ของรฐั ผู้แทนของสมาชิกที่จะตอ้ งน�ำ สง่ เงนิ ให้ กบข. บริหาร จดั การให้เกิดประโยชน์ ผ้แู ทนบุคคลภายนอกท่เี ปน็ ผทู้ รงคุณวุฒิ และผู้ แทนจาก กบข. การตรวจสอบ ซึง่ ก�ำ หนดให้สำ�นักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน (สตง.) เป็นผู้สอบบัญชีของ กบข. โดยคณะกรรมการ กบข. ได้แต่งตั้งคณะ อนุกรรมการชุดต่างๆ ขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อช่วยในการตรวจสอบและ ก�ำ กบั ดแู ลกจิ การของ กบข. ดา้ นตา่ งๆ ดว้ ย เชน่ คณะอนกุ รรมการตรวจสอบ คณะอนกุ รรมการบริหารความเส่ยี ง และคณะอนกุ รรมการธรรมาภิบาล กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ 7

02 การลงทนุ ของ กบข. กบข. มีเป้าหมายการลงทุน ใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนท่ชี นะเงนิ เฟอ้ เพอื่ รักษาค่าเงินออมและสร้างความเพียงพอของเงินให้กับสมาชิกไว้ใช้ในวัย เกษียณ โดยนโยบายการลงทุนของ กบข. เน้นความสมดลุ ระหว่าง “ความ ปลอดภยั ของเงนิ ต้น” กับ “ผลตอบแทนจากการลงทนุ ” ภายใต้ “ความ เสย่ี งท่ียอมรบั ได”้ กบข. ใหค้ วามสำ�คัญกับการควบคุมความเส่ียงในการลงทุน ผ่าน วธิ กี ารต่อไปน้ี 1. การวางเปา้ หมายและนโยบายในการจดั สรรเงนิ ลงทนุ อยา่ งรอบคอบ กบข. เน้นกระจายการลงทุนไปในสินทรัพย์ต่างๆ ทั้งสินทรัพย์ ที่มีความมั่นคงเพื่อรักษาความปลอดภัยของเงินต้น และสินทรัพย์ที่มี ความเสี่ยงเพื่อสร้างผลตอบแทนระยะยาวให้ชนะเงินเฟ้อ ทั้งนี้สัดส่วน 8 กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ

การลงทุนปัจจุบันของ กบข. ตามกรอบพระราชบัญญัติกองทุนบำ�เหน็จ บำ�นาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 และกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง ประกอบด้วย แผนการจดั สรรการลงทุนระยะยาว (Strategic Asset Allocation: SAA) ประจำ�ปี 2560 (หน่วย : ร้อยละ) ประเภทสนิ ทรพั ย์ สัดส่วน ตราสารทุนไทย (Thai Public Equity) 8.50 ตราสารทุนโลก (Global Public Equity) 11.10 ตราสารหนภ้ี าครัฐไทย (Thai Government Bonds) 43.25 ตราสารหนภ้ี าคเอกชนไทย (Thai Corporate Bonds) 16.50 ตราสารหนโ้ี ลก (Global Corporate Bonds) 2.65 อสังหารมิ ทรพั ยไ์ ทย (Thai Real Estate) 4.50 อสังหาริมทรพั ยโ์ ลก (Global Real Estate) 3.00 โครงสรา้ งพน้ื ฐาน (Infrastructure) 2.50 สนิ ค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) 1.00 นติ บิ คุ คลเอกชนไทย (Thai Private Equity) 1.00 นติ ิบุคคลเอกชนโลก (Global Private Equity) 2.00 สินทรัพย์ที่เนน้ ผลตอบแทนทดี่ ใี นทกุ ภาวะเศรษฐกจิ 4.00 (Absolute Return Funds) รวม 100.00 กองทุนบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ 9

2. การก�ำ หนดตวั เทยี บวดั ผลการลงทุน แผนภูมิแสดงอัตราผลประโยชน์สุทธิของเงินกองทุนส่วนสมาชิก เทียบกับอตั ราดอกเบี้ยเงนิ ฝากประจำ� 12 เดือน และอัตราเงินเฟ้อ 3. การวางกรอบการก�ำ กบั ควบคมุ ความเสย่ี งดา้ นการลงทุน กบข. ให้ความสำ�คัญกับระบบบริหารจัดการบูรณาการเชิงรุก (Proactive Integrated Management) ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพท่ัวทงั้ องค์กร โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดระบบ Governance Risk Compliance หรือ GRC ที่ดี ซึ่งหมายถึงการเป็นองค์กรที่มีการกำ�กับดูแลที่ดี (Good Governance) มีการบริหารความเสยี่ งท่ีมีประสิทธภิ าพ (Effective Risk Management) และมกี ารปฏิบัตงิ านตามระเบียบกฎเกณฑอ์ ยา่ งถูกตอ้ ง และเหมาะสม (Regulatory & Policy Compliance) 10 กองทุนบ�ำ เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ

03 การบรหิ ารความเสีย่ ง กบข. ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการมรี ะบบบรหิ ารจดั การบรู ณาการ เชิงรุก (Proactive Integrated Management) ท่มี ปี ระสิทธภิ าพทัว่ ทั้งองค์กร เพื่อนำ�พาองค์กรให้สามารถบรรลุเป้าหมายท่ามกลางปัจจัย แวดลอ้ มทางธรุ กิจทีเ่ ปลย่ี นแปลงผนั ผวนเช่นทกุ วันนี้ รวมถึงการสรา้ งมูลค่า เพมิ่ ใหก้ บั องค์กรยิ่ง ๆ ขึน้ ไป โดยบูรณาการด้านการก�ำ กบั ดแู ลทดี่ ี (Good Governance) เขา้ กบั การบรหิ ารความเสย่ี งที่มีประสิทธิภาพ (Effective Risk Management) และการก�ำ กบั การปฏิบัตงิ านตามระเบยี บกฎเกณฑ์ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม (Regulatory & Policy Compliance) มีการ ประสานนโยบาย การทำ�งาน การวิเคราะหข์ อ้ มูลอย่างเปน็ ระบบสอดคลอ้ ง กันทง้ั สามดา้ น ด้วยการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้าเสริมประสทิ ธภิ าพการ ทำ�งาน กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 11

โครงสรา้ งการก�ำ กบั ดแู ลกับระบบการบริหารความเส่ียงของ กบข. คณะกรรมการ กบข. อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนกุ รรมการ ธรรมาภิบาล บรหิ ารความเสยี่ ง ตรวจสอบ เลขาธกิ าร ฝา่ ยตรวจสอบภายใน คณะผู้บริหาร ระดบั สงู ฝา่ ยธรรมาภบิ าล กลมุ่ งาน กลมุ่ งาน/ฝา่ ยงาน บริหารความเสย่ี ง เจา้ ของความเสยี่ ง กบข. มีโครงสร้างและวัฒนธรรมองค์กรที่ให้ความสำ�คัญและส่ง เสริมการบรหิ ารความเสี่ยงเชิงบรู ณาการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การบรหิ าร งานของ กบข. เป็นไปในรูปแบบของคณะกรรมการที่รับผิดชอบกำ�หนด นโยบายและกรอบการบรหิ ารองคก์ ร โดยมคี ณะอนกุ รรมการธรรมมาภบิ าล คณะอนุกรรมการบรหิ ารความเส่ยี ง และคณะอนุกรรมการตรวจสอบ ซ่ึง ประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการบริหารความเส่ียงและการตรวจสอบ ช่วยให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการและส�ำ นักงาน ซงึ่ ถือ เป็นกลไกสนบั สนุนการท�ำ งานของ กบข. ให้มีประสิทธภิ าพ มัน่ ใจไดว้ ่า ครอบคลุมความเสี่ยงและประเด็นสำ�คญั ที่เกยี่ วข้องไวอ้ ย่างครบถ้วน 12 กองทุนบ�ำ เหน็จบำ�นาญข้าราชการ

นอกจากนี้ กบข. มุง่ สร้างวฒั นธรรมองคก์ รทปี่ ลกู ฝังให้ ผบู้ ริหาร และฝ่ายงานในฐานะเจ้าของความเส่ียงเข้าใจและตระหนักถึงความสำ�คัญ ของการบริหารความเสี่ยง และมีบทบาทในการบริหารความเสี่ยงใน กระบวนการทำ�งานของตนเอง (Risk Owner as Risk Manager) วฒั นธรรม องคก์ รเช่นน้ี สง่ ผลใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารความเสยี่ ง เน่ืองจาก เจ้าของความเส่ยี งคอื ผู้ที่อยใู่ กล้ชิดงานในฐานะผปู้ ฏิบัติ ย่อมสามารถเขา้ ใจ ปจั จัยเสย่ี ง สาเหตุตา่ งๆ ที่จะทำ�ใหง้ านไมบ่ รรลุวตั ถุประสงค์ จึงย่อมเปน็ ผู้ ทีส่ ามารถปอ้ งกนั และบรหิ ารจดั การความเส่ยี งไดด้ ีทส่ี ดุ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงได้กำ�หนดกรอบกระบวนการ บรหิ ารความเส่ียงเปน็ แนวปฏบิ ตั สิ �ำ หรับ กบข. มกี ารก�ำ หนดให้หนว่ ยงาน เจา้ ของความเสย่ี งตอ้ งประเมนิ ความเสย่ี งและการควบคมุ ภายใน (Risk and Control Self-Assessment) ตามแนวทางวเิ คราะห์เหตนุ ำ�สคู่ วามเสย่ี ง (Root Causes) อย่างต่อเนอื่ งสมํ่าเสมอ เพอ่ื ให้มีการกำ�หนดมาตรการ บริหารจัดการความเส่ยี งอยา่ งรอบคอบและท่วั ถึง เพ่ือใหม้ ัน่ ใจวา่ กบข. มี การบรหิ ารจดั การความเสย่ี งในระดบั ทย่ี อมรบั ได้ และมกี ารก�ำ หนดแนวทาง การปอ้ งกันความเสี่ยงท่อี าจเกิดจากสาเหตตุ า่ งๆ ทห่ี ลากหลาย นอกจากน้ี เพ่ือเปน็ การก�ำ กับดแู ลและควบคุมการบรหิ ารจัดการ ความเสยี่ งขององค์กร กบข. ยงั มกี ารกำ�หนดมาตรการทเ่ี อ้อื ใหเ้ กิดความถูก ตอ้ งของการตรวจวัด การควบคุม และการรายงานความเสี่ยงอยา่ งต่อเนอ่ื ง ภายใต้ก�ำ หนดเวลาทีเ่ หมาะสม โดยมกี ลุม่ งานบรหิ ารความเสี่ยงทำ�หนา้ ท่ี เสนอ ติดตามความก้าวหน้าและพัฒนาการด้านการบริหารความเสี่ยงมา ประยุกต์ใช้ในองค์กรอย่างทั่วถึงให้ได้มาตรฐานที่ดี และมีฝ่ายตรวจสอบ ภายในช่วยประเมินและสอบยันระบบการควบคุมภายในและการบริหาร ความเส่ยี งอยา่ งสมา่ํ เสมออีกชั้นหนง่ึ ด้วย กองทุนบ�ำ เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ 13

ความเส่ยี งของ กบข. กบข. ไดจ้ ัดท�ำ แม่บทการบรหิ ารความเสย่ี งของ กบข. ข้ึน เพอื่ เปน็ หลักในการพฒั นาระบบบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาความเสย่ี งหลัก 5 ประเภทไดแ้ ก่ 1. ความเสยี่ งดา้ นยุทธศาสตร์ 2. ความเส่ียงดา้ นการลงทุน 3. ความเส่ยี งดา้ นชื่อเสียงและภาพลกั ษณ์องคก์ ร 4. ความเสีย่ งด้านปฏิบัติการ 5. ความเสีย่ งด้านการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ 1. ความเส่ยี งด้านยุทธศาสตร์ (Strategic Risk) ในการกำ�หนดกลยุทธ์การทำ�งานแต่ละปีของ กบข. นั้น มีการ ประเมินสภาพแวดลอ้ มทงั้ ภายในและภายนอก ประกอบกบั การวเิ คราะห์ จดุ แข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ อปุ สรรค (Threat) หรอื SWOT Analysis เพือ่ ท�ำ ความเข้าใจสถานการณ์ ทเ่ี ปน็ อยู่ โดยน�ำ จุดแข็งร่วมกบั โอกาสมาใชป้ ระโยชน์ พรอ้ มกับลดจดุ ออ่ น และปอ้ งกนั ไมใ่ ห้อปุ สรรคต่างๆ เขา้ มามผี ลต่อการท�ำ งานของ กบข. โดยมี กระบวนการประเมินความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์องค์กรอย่างเป็นระบบ ช่วยให้สามารถนำ�ผลวิเคราะห์เหล่านั้นมาพัฒนาเป็นแผนยุทธศาสตร์ องค์กรและกลยทุ ธใ์ นการทำ�งานในแต่ละปี เพือ่ วางแนวทางในการบรหิ าร จัดการกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการให้เป็นไปตามกรอบวิสัยทัศน์ ที่คณะกรรมการได้ให้นโบายและทิศทางการดำ�เนินงาน เพื่อการบรรลุ พันธกิจที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติกองทุน บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 โดยก�ำ หนดวสิ ัยทัศน์ (Vision) ท่ีจะเป็น “สถาบันหลักที่ 14 กองทนุ บ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ

สมาชิกไว้วางใจในการบริหารเงินออม เพื่อการเกษียณอายุราชการอย่าง มีความสุข” อกี ทั้งก�ำ หนดยทุ ธศาสตร์ 4 เรื่อง ซง่ึ ตอ้ งดำ�เนินการเพือ่ ให้ บรรลุวิสยั ทัศน์ ดงั กลา่ ว คอื ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : สร้างความมั่นคงในการเกษียณของสมาชิก ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : เสริมสร้างความเชื่อมนั่ และไวว้ างใจ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : พัฒนากระบวนการและเทคโนโลยีเพ่อื เพม่ิ ขดี ความ สามารถองค์กร ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 : พัฒนาบุคลากรสคู่ วามเป็นเลิศ และผกู พันกบั องค์กรสงู 2. ความเสยี่ งดา้ นการลงทุน ความเส่ยี งจากสภาพตลาด (Market Risk) โดย กบข. ได้ กำ�หนดกรอบนโยบาย ปรัชญาการลงทุน เปา้ หมาย ผลตอบแทน กรอบความเส่ียง และแนวทางการด�ำ เนนิ งานในการบรหิ าร จดั การกองทนุ ตา่ งๆ เพอ่ื ใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งด�ำ เนนิ การตามหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ อยา่ งรอบคอบและระมดั ระวัง ควบค่ไู ปกบั การใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยง ผูม้ ีวชิ าชีพในการบริหารและจดั การกองทนุ (Fiduciary Duty) และ จดั ท�ำ แผนการจดั สรรเงินลงทนุ ระยะยาว (Strategic Asset Allocation - SAA) กระจายความเสย่ี งไปยงั สนิ ทรพั ยต์ า่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมดลุ ของผลตอบแทน และความเสี่ยง ซึ่งเป็นไปตามแนวทางจัดสรรการลงทุนระยะยาวที่คำ�นึง ความสำ�คัญของบทบาทสินทรัพย์ท่ลี งทุนแต่ละประเภทต่อวัฏจักรเศรษฐกิจ (Role-based Strategic Asset Allocation) เพ่ือให้สามารถบริหารจดั การ กองทุนได้ยืดหยุ่นตามภาวะการลงทุนหลากหลายลักษณะ และสามารถ ตอบสนองตอ่ ภาวะทางเศรษฐกจิ ในชว่ งตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ี ยงั ได้นำ�เครอื่ งมอื การบริหารความเสย่ี งต่างๆ มารว่ มใชใ้ นการก�ำ หนดกรอบ ประเมินและตดิ ตามความเส่ียงอกี ดว้ ย กองทุนบำ�เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ 15

ความเส่ียงจากเครดติ (Credit Risk) กบข. ไดก้ ำ�หนดแนวทางบรหิ ารความเสี่ยงดา้ นเครดิตในประเดน็ ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของผู้ออกตราสาร และความเสี่ยงของตราสาร เฉพาะรายการ อีกทั้งมีการกำ�หนดกรอบความเสี่ยงด้านเครดิตในระดับ กองทุน และมีการประเมินความน่าเชื่อถือของคู่ค้าหรือผู้ออกตราสารที่ กบข. ลงทนุ และคู่ค้าท่ี กบข. ท�ำ ธุรกรรมการลงทุน นอกจากนนั้ กบข. ยังได้ทบทวนคมู่ อื เครดติ เพ่ือให้เหมาะสมเป็น ปจั จุบนั มากขึน้ มีการปรบั ปรุงหลักเกณฑ์ใหมใ่ นการกำ�หนดวงเงินส�ำ หรบั การท�ำ ธรุ กรรมใหย้ มื หลักทรัพยต์ ราสารทุนในประเทศ โดยน�ำ อันดับเครดิต และขนาดของคู่ค้ามาเป็นเกณฑ์ในการกำ�หนดวงเงิน โดยมีเป้าหมายเพื่อ ลดความเส่ียงด้านเครดิตที่เกิดจากการที่คู่ค้าหรือผู้ออกตราสารไม่สามารถ ปฏิบตั ิตามภาระผูกพนั ความเส่ียงจากสภาพคล่อง (Liquidity Risk) กบข. ได้จัดให้มีระบบซึ่งสามารถวัดความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และสามารถประเมินผลกระทบจากความเสี่ยงท่ีสอดคล้องกับปริมาณและ ความซับซอ้ นของธุรกรรม รวมถงึ มกี ารประเมนิ ความเสี่ยงดา้ นสภาพคล่อง ในการจ่ายคืนเงินแก่สมาชิกที่พ้นสมาชิกภาพ โดยเฉพาะช่วงที่สมาชิกถึง กำ�หนดเกษยี ณในเดอื นกันยายนของทกุ ปี กบข. มีการจัดท�ำ ประมาณการ กระแสเงินรับ และกระแสเงินจา่ ยคนื สมาชิก เพ่ือให้มน่ั ใจวา่ สมาชกิ จะได้ รับเงินคืนตามกำ�หนดเวลาและไม่กระทบต่อการลงทุนของสมาชิกที่ยังคง อยใู่ นกองทุน 16 กองทุนบ�ำ เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ

3. ความเสย่ี งดา้ นชอ่ื เสยี งและภาพลกั ษณอ์ งคก์ ร (Reputation Risk) ปัจจุบันมีการพูดถึงความเสี่ยงเรื่องช่ือเสียงและภาพลักษณ์ องค์กรมากขึ้น แม้ว่าจะมกี ารบรหิ ารความเสย่ี งตา่ งๆ อยา่ งครบถว้ นแล้ว องค์กรก็ยังต้องระมัดระวังในส่วนของการติดตามและรักษาชื่อเสียงและ ภาพลักษณ์ขององค์กรด้วย ซึ่งคณะอนุกรรมการหลายชุด ทั้งคณะ อนุกรรมการธรรมาภิบาล คณะอนุกรรมการตรวจสอบ และคณะ อนุกรรมการบริหารความเสย่ี ง ไดใ้ ห้ กบข. เนน้ เรอื่ งของจรรยาบรรณ และ หลักปฏบิ ัติของพนกั งาน การแจ้งเบาะแส และการรบั เรอ่ื งร้องเรยี นตา่ งๆ อกี ทัง้ ไดจ้ ดั ให้มรี ะเบยี บ ช่องทาง และกระบวนการจดั การในเร่อื งดังกล่าว แล้ว รวมถึงการติดตามขา่ วสารของ กบข. และการตอบสนองต่อข่าวสาร และชแ้ี จงแก่ผูม้ ีส่วนเกีย่ วข้องโดยสมํ่าเสมอ 4. ความเสยี่ งดา้ นปฏบิ ัติการ (Operation Risk) ในการบรหิ ารความเสี่ยงด้านปฏบิ ตั กิ ารนนั้ กบข. ไดก้ ำ�หนดให้มี การประเมินความเส่ียงและการควบคุมภายในอย่างครบถ้วนทุกฝ่ายงาน เป็นประจำ�ทุกปี ทั้งนี้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน วา่ ด้วยการก�ำ หนดมาตรฐานการควบคมุ ภายใน โดยมีการรายงานให้คณะ อนุกรรมการบรหิ ารความเสีย่ ง และคณะอนกุ รรมการตรวจสอบ ทราบและ พจิ ารณาผลการประเมินดังกลา่ วดว้ ย กบข. ไดก้ �ำ หนดตวั ชี้วดั ความเสี่ยง (Key Risk Indicators) สำ�คญั ระดบั องค์กรตามความเสี่ยงหลักทัง้ 5 ประเภท เพอื่ ใช้ในการประเมินระดับ ความเสย่ี ง และใชข้ อ้ มลู ดงั กลา่ วประกอบการประเมนิ โอกาสและผลกระทบ อนั เกดิ จากความเสย่ี งไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหผ้ บู้ รหิ ารสามารถตดิ ตาม สถานะความเส่ยี งในภาพรวมของ กบข. ไดต้ ลอดเวลา ทัง้ ความเสี่ยงดา้ น กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ 17

ยทุ ธศาสตร์ ความเสี่ยงจากการลงทนุ ความเสยี่ งจากการปฏบิ ัตงิ าน และ ความเสย่ี งจากการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ ทง้ั นย้ี งั ไดก้ �ำ หนดระดบั ความเสย่ี ง ท่ยี อมรบั ได้ (Risk Appetite) และระดบั ความเสี่ยงสูง (Risk Tolerance) ส�ำ หรบั แตล่ ะตวั ชว้ี ดั ความเสย่ี งขน้ึ เพอ่ื เปน็ ขน้ั ในการตอบสนองตอ่ ความเสย่ี ง น้นั ๆ อย่างทันทว่ งที และเหมาะสม การบรหิ ารความเสย่ี งด้านปฏบิ ตั ิการอีกสว่ นหนงึ่ ที่ กบข. ให้ความ ส�ำ คญั คอื แผนการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กจิ โดย กบข. ไดว้ างโครงสรา้ ง รากฐานทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความ พรอ้ มรองรบั การท�ำ งานภายใตส้ ถานการณต์ า่ งๆ มกี ารเตรยี มศนู ยป์ ฏบิ ตั งิ าน สำ�รอง กรณีเกิดเหตุวิกฤตไม่สามารถเข้าปฏิบัติงานในสำ�นักงานตามปกติ โดยในปัจจุบันมีระบบรองรับการปฏิบัติงานนอกสถานท่ีของพนักงานได้อีก ท้งั มีการเตรยี มการสอื่ สารไปยงั ทกุ ภาคสว่ น ท้ังการสือ่ สารภายในส�ำ นกั งาน การสอ่ื สารกับค่คู า้ และการสื่อสารกบั สมาชกิ ไวด้ ้วย 5. ความเส่ยี งด้านการปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ (Compliance Risk) กบข. มกี ารพฒั นาระบบงานก�ำ กบั การลงทนุ เพอ่ื ใชใ้ นการก�ำ กบั การ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านการลงทุน (Investment Compliance) เพอ่ื ให้ ม่นั ใจว่าการลงทุนของ กบข. เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ระเบยี บ และนโยบาย การลงทุนที่กำ�หนดไว้ นอกจากนี้ กบข. มีการจัดทำ�แนวปฏิบัติด้านการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance Program) เพื่อให้ทุกส่วนงานมี แนวทางการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันท้ัง องคก์ ร และมีการติดตามทบทวนกฎเกณฑ์และกระบวนการปฏิบัตงิ านให้ เป็นปัจจบุ ันอย่เู สมอ รวมถงึ การติดตามกำ�กบั ดูแล และจัดทำ�รายงานเสนอ คณะอนุกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส 18 กองทนุ บ�ำ เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ

โครงสรา้ งการตดั สนิ ใจลงทุน วางวตั ถปุ ระสงค์ หลักเกณฑ์ และกรอบการลงทนุ อนมุ ตั นิ โยบาย อนมุ ตั ิการดำ�เนนิ งานลงทุนระดบั นโยบาย ติดตามผลการดำ�เนนิ งาน คณะอนกุ รรมการจดั การลงทนุ กลน่ั กรอง/ใหค้ �ำ แนะนำ�ตอ่ คณะกรรมการอนมุ ัติการลงทุน ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย เสนอนโยบายกลยุทธ/์ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม กบั สถานการณ์ คัดเลอื ก/ด�ำ เนินการลงทุนให้ได้เง่ือนไขที่ดีทีส่ ุด โครงสร้างการตดั สินใจลงทนุ ของ กบข. มอี งคป์ ระกอบ 5 ระดับ ท่ีสะท้อนถึงแนวทางการกำ�หนดนโยบายและกลยุทธ์การลงทุนของ กบข. ที่จะต้องผ่านกระบวนการกลั่นกรองและการคัดสรรมาเป็นอย่างดี เพอ่ื ใหก้ องทนุ สามารถบรรลเุ ปา้ หมายการลงทนุ องคป์ ระกอบของโครงสรา้ ง ดังกล่าว ไดแ้ ก่ 1. พระราชบญั ญตั ิ กบข. และกฎกระทรวง : เป็นข้อก�ำ หนดของ กฎหมายเพ่อื ใช้กำ�หนดวตั ถุประสงคแ์ ละกรอบการลงทนุ 2. คณะกรรมการ กบข. : เป็นผู้ก�ำ หนดนโยบาย และก�ำ กับดูแล ดา้ นการจดั การกองทุนและการลงทนุ ต่าง ๆ ของกองทนุ 3. คณะอนกุ รรมการจัดการลงทนุ : เปน็ ผ้มู ีบทบาทส�ำ คัญในการ ใหค้ ำ�แนะนำ�ปรกึ ษา ติดตามดแู ลการด�ำ เนนิ งานดา้ นการลงทนุ ของกองทุน เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการและปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการ มอบหมาย กองทุนบำ�เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ 19

4. คณะจดั การกลยทุ ธก์ ารลงทนุ : เปน็ ผพู้ จิ ารณาวางแผนแนวทาง และปรับเปล่ียนกลยุทธ์การลงทุนเพ่ือให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและ สถานการณก์ ารลงทุน 5. ทีมงานและเจา้ หนา้ ท่ี : เปน็ ผูจ้ ัดการด้านลงทุนอยา่ งมืออาชพี โดยดำ�เนนิ การภายใต้กรอบ อ�ำ นาจหนา้ ที่ และนโยบายทไ่ี ด้รับมอบหมาย จากระดับ 1 – 4 ข้างตน้ การตรวจสอบ 1. การตรวจสอบโดยหนว่ ยงานภายใน ของ กบข. ประกอบดว้ ย 1.1 ฝ่ายตรวจสอบภายในเปน็ หน่วยงานท่ีมหี นา้ ทใ่ี นการตรวจสอบ กิจการภายในของ กบข. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบยี บ ประกาศ คำ�ส่งั และมตเิ กย่ี วกับการด�ำ เนนิ กจิ การของ กบข. 1.2 คณะอนุกรรมการชุดตา่ งๆ ใหท้ �ำ หน้าทก่ี ำ�กบั ดแู ลการดำ�เนิน งานของ กบข. ในลักษณะเฉพาะเจาะจง ได้แก่ คณะอนุกรรมการ ธรรมาภิบาล คณะอนุกรรมการบรหิ ารความเส่ยี ง คณะอนุกรรมการจัดการ ลงทนุ และคณะอนุกรรมการตรวจสอบ 2. การตรวจสอบโดยหน่วยงานภายนอก ของ กบข. ตามพระราชบัญญัติ กองทนุ บำ�เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 ประกอบดว้ ย 2.1 คณะกรรมการ กบข. : มาตรา 26 กำ�หนดใหค้ ณะกรรมการ กบข. เปน็ ผู้ออกข้อบังคับ ระเบยี บ ประกาศ คำ�สัง่ และมตเิ กย่ี วกบั การ ดำ�เนินกจิ การของ กบข. และ กบข. จะต้องด�ำ เนินกิจการใหเ้ ปน็ ไปตามน้ัน 2.2 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั : มาตรา 75 ก�ำ หนดให้ กบข. ตอ้ งรายงานการด�ำ เนนิ กจิ การใหท้ ราบอยา่ งนอ้ ยเดือนละ 1 ครั้ง และมาตรา 84 ให้อ�ำ นาจรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการคลังมีอำ�นาจแต่งตงั้ พนักงานเจ้าหน้าที่มาสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับการดำ�เนินกิจการของ กบข. ได้ 20 กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

2.3 สำ�นกั งานตรวจเงินแผ่นดนิ : มาตรา 78 กำ�หนดให้ส�ำ นกั งาน ตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีและรับรองบัญชีทุกประเภทของ กบข. เชน่ เดียวกบั ส่วนราชการต่างๆ 2.4 สมาชิก : มาตรา 74 ก�ำ หนดให้ กบข. ตอ้ งแจ้งยอดเงนิ ในบัญชี เงนิ รายบคุ คลของสมาชิกแตล่ ะรายใหส้ มาชิกทราบอย่างนอ้ ยปีละ 1 คร้งั 2.5 ท่ปี ระชมุ ใหญ่ผแู้ ทนสมาชกิ : มาตรา 81 ก�ำ หนดให้ กบข. ตอ้ ง รายงานผลการดำ�เนนิ งาน ฐานะการเงนิ และการรบั จ่ายเงนิ ของ กบข. ให้ ทป่ี ระชมุ ใหญ่ผูแ้ ทนสมาชิกทราบอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง ซึง่ ท่ีประชมุ ใหญผ่ ู้ แทนสมาชิกมีอำ�นาจแสดงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการดำ�เนิน งานของ กบข. ตอ่ คณะกรรมการ กบข. ได้ 2.6 คณะรัฐมนตรี : มาตรา 82 กำ�หนดให้ กบข. ต้องรายงานการ สอบบัญชี พร้อมท้ังข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั การดำ�เนนิ งานของ กบข. ตอ่ คณะรฐั มนตรี และประกาศใหป้ ระชาชนทราบในราชกจิ จานเุ บกษา ดว้ ย นอกจากทีก่ ล่าวแลว้ กบข. ถอื เปน็ หน่วยงานของรัฐท่เี ปน็ องคก์ าร มหาชนประเภทกองทุนซ่งึ มีกฎหมายจัดตง้ั ข้ึนโดยเฉพาะ ดงั นนั้ การปฏิบัติ หนา้ ทข่ี องเลขาธกิ ารคณะกรรมการ กบข. และพนกั งาน กบข. จึงอยูภ่ ายใต้ บังคับกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดเจ้าหน้าที่และกฎหมายว่าด้วย ความรับผดิ ของเจ้าหนา้ ทีอ่ งค์การของรัฐ ซ่ึงอาจมคี วามรบั ผิดทางวนิ ัย ทาง แพง่ และทางอาญา ได้เช่นเดียวกับข้าราชการของส่วนราชการ เจา้ หน้าที่ ขององค์การมหาชน และพนกั งานของรัฐวสิ าหกจิ นอกจากน้ี กบข. อาจ ถูกตรวจสอบจากส่วนราชการอื่นที่มีหน้าท่ีในการตรวจสอบกิจการของรัฐ ด้วย เชน่ สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (ปปช.) สำ�นกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ใน ภาครัฐ (ปปท.) ส�ำ นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดิน เปน็ ต้น กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 21

04 การก�ำ กับดูแลกิจการ การบริหารจัดการเงินลงทุนของกองทุนเงินออมเพื่อวัยเกษียณ ตอ้ งมกี ารก�ำ กบั ดแู ลกจิ การตามหลกั ธรรมาภบิ าล (Corporate Governance) ด้วยมาตรฐานระดับสูงเพื่อให้การทำ�หน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายให้ดูแลรักษา เงิน (Fiduciary Duty) เป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและสามารถธ�ำ รงรักษา ความเชอ่ื มั่นและความไวว้ างใจของสมาชกิ และสังคมโดยรวม กบข. ตระหนักในภาระหน้าที่และความรับผิดชอบอันสำ�คัญยิ่งนี้ จึงกำ�หนดนโยบาย โครงสร้าง กระบวนการทำ�งาน ระเบียบ ขอ้ บังคบั ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานที่สามารถปฏิบัติงานและบริหารกองทุนได้อย่างมือ อาชีพ รอบคอบ ระมัดระวงั ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ปราศจากความขัดแย้งทางผล ประโยชนแ์ ละมกี ารควบคุมการปฏิบตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามกรอบของกฎหมาย และระเบียบ ขอ้ บงั คับอย่างเคร่งครดั 22 กองทุนบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

กบข. ประกาศนโยบายการกำ�กบั ดูแลกจิ การ ซ่ึงกำ�หนดกรอบ อำ�นาจหนา้ ที่ ความรับผิดชอบ หลกั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณใหผ้ ู้มีส่วน เก่ียวข้องกับการบริหารงาน กบข. ตง้ั แตค่ ณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานรับทราบและยึดถือปฏิบัติ การบริหารงานต้องมี ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได ้ มีการเปิดเผยขอ้ มลู อย่างถูกตอ้ งและ ทันเหตุการณ์ตอ่ สมาชิกและสาธารณชน รวมทั้งใหค้ วามสำ�คัญแกส่ มาชกิ อย่างเทา่ เทยี มกัน และดแู ลผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี ใหไ้ ด้รบั การปฏิบตั ติ ามสิทธแิ ละ ขอ้ ตกลงอย่างเครง่ ครดั ในการบริหารเงินลงทุน กบข. จัดให้มีโครงสร้างการดำ�เนินงาน ทม่ี ีการตรวจสอบและถ่วงดลุ (Check & Balance) ในระดับส�ำ นักงานได้ แบ่งแยกหน้าที่การทำ�งานอย่างชัดเจน มีกลุ่มงานบริหารเงินลงทุนรับผิด ชอบบริหารเงนิ ลงทุนในหลกั ทรัพย์ประเภทตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นห้นุ ตราสาร หน้ี พนั ธบตั ร อสงั หารมิ ทรพั ย์ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ฯลฯ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ และมีกลุ่มงานปฏิบัติการและกลุ่มงานบริหารความเสี่ยงรับผิดชอบงาน ประเมินมูลค่าเงินลงทุนและบริหารความเสี่ยงของการลงทุน ตลอดจน ก�ำ กบั การปฏบิ ัติงานให้ถกู ต้องตามกฎระเบียบ (Compliance) และมีกลุ่ม งานบริหาร รับผิดชอบจัดทำ�บญั ชกี ารลงทนุ โดยมีฝ่ายตรวจสอบภายในซง่ึ มีความเป็นอสิ ระท�ำ การตรวจสอบอกี ชัน้ หนึ่ง ในระดบั คณะกรรมการ ได้ มอบหมายใหค้ ณะอนกุ รรมการ 3 คณะ ไดแ้ ก่ คณะอนกุ รรมการธรรมาภบิ าล คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะอนกุ รรมการตรวจสอบ ซ่ึง ประกอบด้วยผู้แทนจากคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความ เช่ียวชาญและประสบการณใ์ นการก�ำ กับดูแลกจิ การ การบรหิ ารความเสย่ี ง และการตรวจสอบ ท�ำ หนา้ ทก่ี ลน่ั กรองและเสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการ ตามแนวปฏิบัติท่ดี ีเพ่อื เสริมความแข็งแกร่งของการบริหารงานตามหลักการ กำ�กับดแู ลกจิ การ กองทนุ บ�ำ เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ 23

การปฏิบัติงานทุกด้านจะมีการควบคุมและป้องกันการทุจริตตาม นโยบายตอ่ ต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบของคณะกรรมการ กบข. ซง่ึ ประกาศอยา่ งชดั เจนทจ่ี ะไมย่ นิ ยอมใหม้ กี ารทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบเกิดข้ึน โดยเดด็ ขาด (Zero Tolerance) ไม่วา่ จะเป็นการกระท�ำ ของพนกั งาน คูค่ า้ หรือบคุ คลใดๆ กต็ าม รวมท้งั จะไม่ทำ�ธุรกรรมกับบุคคล บริษทั หรอื หนว่ ย งานใดท่สี อบสวนพบว่ามีการกระทำ�ทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ กบข. ได้จัดให้มีการอบรมส่งเสริมวัฒนธรรมการทำ�งานอย่างมี คุณธรรม และปลูกจิตสำ�นึกให้พนักงานทุกคนหลีกเลี่ยงการเข้ามีส่วน ร่วมสง่ เสริมหรอื สนับสนุนการกระท�ำ ทุจริต และประพฤตมิ ิชอบไม่ว่าโดย ทางตรงหรือทางอ้อม รวมทั้งได้กำ�หนดให้พนักงานทุกคนลงนามยอมรับ และตกลงยึดถือหลักจรรยาบรรณด้วยมาตรฐานข้ันสูงสุดเป็นประจำ�ทุกปี เพ่ือเป็นการกระตุ้นเตือนให้พนักงานระลึกอยู่เสมอถึงภาระหน้าท่ีและการ ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมในฐานะพนักงานกองทนุ หลกั จรรยาบรรณของพนกั งาน กบข. พนกั งาน กบข. จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตนอยา่ งซ่ือตรง มคี ุณธรรม (Integ- rity) และยึดม่ันในศักดศิ์ รี (Dignity) ขององคก์ รและของตนเอง โดยยึดถือ จรรยาบรรณและจริยธรรมตามมาตรฐานสากล ดังตอ่ ไปน้ี (1) ปฏิบตั หิ น้าท่ีดว้ ยความซ่อื สัตยส์ จุ ริต ยุติธรรม ซื่อตรง และมี คุณธรรม (Honesty, Fairness and Integrity) (2) ค�ำ นงึ ถงึ ประโยชนข์ องสมาชกิ เปน็ ส�ำ คญั (Members’ Interest) (3) ยดึ ม่ันในความเสมอภาคและไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ (Fairness and Impartiality) (4) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยทกั ษะความรอบรู้ เอาใจใส่ รอบคอบระมดั ระวงั และขยันหมัน่ เพียร (Skill, Care and Diligence) 24 กองทุนบำ�เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

(5) มุ่งเน้นการบริหารจัดการและการควบคุมการดำ�เนินงานที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Management and Control) (6) ปกป้องข้อมูลที่เป็นความลับที่ไม่พึงเปิดเผยอย่างเคร่งครัด (Confidentiality) (7) ยดึ มั่นในวินัยตามกฎหมาย ระเบยี บ และข้อบังคบั ของกองทนุ รวมท้งั มาตรฐานของผูป้ ระกอบวชิ าชพี ท่ีดี (Market Conduct) (8) สร้างความม่ันใจในความพรอ้ มของบุคลากรทมี่ ีความสามารถ และมคี วามรบั ผิดชอบต่อผลของการตัดสินใจในหน้าท่ี (Competent Staff Readiness and Accountability) (9) ป้องกันไม่ให้มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) (10) ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การตดิ ตอ่ สอ่ื สาร และการใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร ทช่ี ดั เจนโปรง่ ใสแกส่ มาชกิ (Communication with Members) นอกจากนี้ พนักงานจะต้องปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการทำ� ธุรกรรมซ้ือขายหลักทรัพย์ของพนักงานและมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูล ภายในเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหลักทรัพย์ เพื่อป้องกันการนำ�ข้อมูล ภายในที่ยังไม่เปิดเผยเป็นการทั่วไป และพนักงานรับทราบมาจากการ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ขี องตนไปใช้หาประโยชนส์ ่วนตนอันมิควรได้ และไม่เป็นธรรม แกบ่ ุคคลภายนอก (Insider Trading) หรือท�ำ การซอ้ื ขายในลักษณะท่ีขัด แยง้ ทางผลประโยชนก์ ับกองทนุ จนท�ำ ใหก้ องทนุ เสยี หาย เชน่ การซื้อขาย ตดั หน้ากองทุน (Front Running) หรอื ซื้อขายสวนทางกบั กองทุน (Against Portfolio) กองทุนบำ�เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ 25

สรุปสาระสำ�คัญของระเบียบเกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรมซื้อขาย หลักทรพั ย์ของพนกั งาน หา้ มพนักงานทบี่ รหิ ารเงนิ ลงทนุ ของกองทุนในหนุ้ ซ้ือขายหุ้นเพือ่ ตนเอง ห้ามพนักงานอ่ืนซ้ือขายหุ้นก่อนได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาและ ฝา่ ยก�ำ กบั กจิ กรรมองค์กร และในกรณที ีไ่ ดร้ ับอนญุ าตจะต้องท�ำ การซอื้ ขายผ่านบรษิ ทั หลักทรัพยท์ ่ี กบข. ก�ำ หนดเท่านน้ั พนกั งานตอ้ งจดั ท�ำ รายงานธรุ กรรมซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยจ์ ดั สง่ ให้ กบข. ทกุ ครง้ั พนักงานตอ้ งจัดทำ�รายงานสถานะการถอื ครองหลักทรัพย์ ณ สน้ิ ปี พร้อมกนั นัน้ ในฐานะทเ่ี ป็นนกั ลงทุนสถาบนั รายใหญข่ องประเทศ กบข. ได้ทำ�หน้าทน่ี กั ลงทนุ ทมี่ ีความรับผดิ ชอบในการผลกั ดนั ยกระดบั การ กำ�กับดแู ลกจิ การของบรษิ ัทตา่ งๆ ท่ี กบข. ลงทนุ ดว้ ย กลา่ วคือ กบข. วเิ คราะห์การด�ำ เนนิ งานดา้ นตา่ งๆ ของบรษิ ทั ควบคูไ่ ปกบั การวิเคราะห์ด้านการเงินเพื่อให้ทราบว่าบริษัทให้ความสำ�คัญกับปัจจัย สง่ิ แวดล้อม สงั คม และธรรมาภบิ าล (Environmental, Social and Governance : ESG) ดว้ ยหรอื ไม่ เนอื่ งจาก กบข. เชื่อมั่นวา่ บรษิ ทั ทไี่ ม่ ได้มุง่ หวงั ท่ีจะสรา้ งผลก�ำ ไรเพียงอยา่ งเดียว แต่ได้ให้ความสำ�คัญกับปัจจัย ESG หรือด�ำ เนินธุรกจิ อย่างรบั ผิดชอบต่อสังคม ผู้มีสว่ นได้เสียและชมุ ชนไป พร้อมๆ กัน โดยจะด�ำ เนินธรุ กิจดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจรติ และสามารถสร้าง ความเจรญิ เตบิ โตทย่ี ั่งยืนใหแ้ กต่ วั บริษัทเอง ผูถ้ อื ห้นุ และสรา้ งประโยชน์ให้ เกดิ แกส่ ังคมโดยรวม กบข. เข้ารว่ มประชุมกับผ้บู ริหารของบรษิ ทั ที่ กบข. ลงทนุ เพ่อื กระตุ้นให้บริษทั ด�ำ เนินงานโดยใหค้ วามสำ�คญั กับปัจจัย ESG และด�ำ เนิน ธรุ กจิ อย่างมีธรรมาภิบาล 26 กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

ในการประชุมผถู้ ือหนุ้ ของบริษทั ที่ กบข. ลงทุน กบข. จะเข้าร่วม ประชุมและออกเสียงลงคะแนนทุกคร้ังตามแนวทางการออกเสียงในการ ประชมุ ผถู้ ือหุ้น (Proxy Voting Guidelines) ซ่งึ กบข. จดั ทำ�ข้ึนตาม มาตรฐานสากล เพ่ือใหม้ ่ันใจวา่ บริษทั ที่ กบข. เลอื กลงทนุ มคี วามสามารถ ในการแขง่ ขนั มกี ารก�ำ กับดแู ลกจิ การตามหลักธรรมาภิบาล ให้ความเป็น ธรรมกบั ผถู้ อื ห้นุ ทกุ รายและสามารถเติบโตได้อย่างย่งั ยนื การก�ำ กับดูแลกิจการตามหลกั ธรรมาภบิ าล (Corporate Governance) ถือเปน็ หวั ใจส�ำ คญั ของ การบริหารจัดการองค์กรทดี่ ี โดยเฉพาะ กองทุนเงนิ ออมเพือ่ วัยเกษียณ กบข. ยึดมั่นหลักการนี้มาโดยตลอด เพ่ือน�ำ มาซึง่ ผลประโยชน์สงู สดุ ของสมาชกิ ทุกราย กองทุนบ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ 27

05 เงินออมทส่ี มาชกิ มีใน กบข. สมาชิก กบข. ทกุ คน จะมเี งนิ ออมในบัญชีของสมาชกิ เรม่ิ ตง้ั แต่ เปน็ สมาชกิ จนถงึ ปจั จบุ นั โดยเงนิ ออมทส่ี มาชกิ มใี น กบข. แบง่ ได้ ดงั น้ี 1. ส่วนที่รัฐเปน็ ผ้นู �ำ ส่ง ประเภทเงนิ ความหมาย สิทธไิ ด้รบั 1.1 เงินประเดิม เงินที่ภาครัฐนำ�ส่งให้ เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ เฉพาะสมาชิก กบข. ที่เป็น และเลือกรับบำ�นาญ ข้าราชการอยู่ก่อนวันที่ เท่านั้น 27 มีนาคม 2540 โดย นำ�ส่งเป็นเงินก้อนในวัน ที่สมัครเป็นสมาชิก กบข. ครั้งเดียวเท่านั้น เพื่อ ชดเชยเงินบำ�นาญที่ลดลง 28 กองทนุ บ�ำ เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ

ประเภทเงิน ความหมาย สทิ ธไิ ดร้ ับ 1.2 เงินชดเชย เงินที่ภาครัฐนำ�ส่งให้ เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ สมาชิกทุกเดือน ในอัตรา และเลือกรับบำ�นาญ ร้อยละ 2 ของเงินเดือน เท่านั้น สมาชิก เพื่อชดเชยเงิน บำ�นาญที่ลดลง 1.3 เงินสมทบ เงินที่ภาครัฐนำ�ส่งให้ เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ สมาชิก กบข. ที่สะสม ทุกกรณี เงินเข้ากองทุนทุกเดือน ในอัตราร้อยละ 3 ของ เงินเดือนสมาชิก 2. ส่วนทส่ี มาชกิ เปน็ ผ้นู �ำ สง่ ประเภทเงิน ความหมาย สทิ ธิได้รบั 2.1 เงินสะสม เงินที่สมาชิกนำ�ส่งทุกเดือน เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ ในอัตราร้อยละ 3 ของเงิน ทุกกรณี เดือนสมาชิก ซึ่งเงินเดือน ดังกล่าวไม่รวมกับเงินเพิ่ม พิเศษรายเดือนหรือเงินเพิ่ม อย่างอื่น 2.2 เงินสะสม เงินที่สมาชิกสมัครใจสะสม เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ ส่วนเพิ่ม เพิ่มจากอัตราที่กำ�หนด ทุกกรณี (ออมเพิ่ม) ไว้ในอัตราร้อยละ 1 - 12 ของเงินเดือนสมาชิก กองทนุ บ�ำ เหน็จบำ�นาญข้าราชการ 29

แผนภาพเส้นทางเงนิ ออมกบั กบข. สมาชิก: ภาครัฐ: เงนิ สะสม+รอ้ ยละ 3 เงินชดเชย+ร้อยละ 2 ออมเพิม่ ร้อยละ 1-12 เงินสมทบ รอ้ ยละ 3 (สมัครใจ) 1. หนว่ ยงานต้นสังกดั ของสมาชิก น�ำ สง่ เงินเขา้ บัญชี กบข. กบข. 2. น�ำ เงินเข้าบญั ชสี มาชกิ รายบคุ คล โดยแปลง จ�ำ นวนเงนิ ออมเป็นหน่วยลงทุน ซึ่งใช้มลู คา่ ต่อหนว่ ย ณ วนั ทีเ่ งนิ เขา้ บญั ชี กบข. ลงทนุ ตามแผนการลงทนุ รายบคุ คลของสมาชกิ 3. 1. แผนหลัก 2. แผนผสมหุ้นทวี 3. แผนตราสารหนี้ 4. แผนตลาดเงิน 5. แผนสมดุลตามอายุ 30 กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญข้าราชการ

เส้นทางเงนิ ออมกบั กบข. เสน้ ทางเงนิ ออมกบั กบข. เปน็ ภาพรวมของข้ันตอนนำ�ส่งเงินเข้า กองทนุ การแปลงเป็นหนว่ ยลงทุน การลงทุนตามแผนการลงทุนรายบุคคล ดงั น้ี 1. หน่วยงานนำ�สง่ เงินเข้าบัญชีสมาชิกท่ี กบข. สมาชกิ : เงินส+ะสม รอ้ ยละ 3 ภาครฐั : เงินช+ดเชย ร้อยละ 2 ออมเพม่ิ รอ้ ยละ 1-12 (สมคั รใจ) เงินสมทบ รอ้ ยละ 3 หน่วยงานตน้ สงั กดั ของสมาชกิ เชน่ 800 บาท น�ำ สง่ เงินเข้ากองทนุ กบข. ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2560 เงนิ ท่ีนำ�ส่งมีทั้งหมด 2 สว่ น ประกอบดว้ ย 1. เงนิ สว่ นสมาชิก คอื เงินสะสมในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงนิ เดอื น สมาชกิ 2. เงินสว่ นภาครัฐ คอื เงินชดเชยในอัตรารอ้ ยละ 2 ของเงินเดอื น สมาชิก และเงินสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของเงนิ เดอื นสมาชิก กองทุนบำ�เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ 31

ตัวอยา่ ง สมาชกิ เงินเดอื น 10,000 บาท จะมเี งนิ สะสมเขา้ กบข. ดังนี้ 1. เงนิ สว่ นสมาชิก 1.1 เงินสะสม ร้อยละ 3 ของเงินเดอื น ซ่ึงจะหักจากเงนิ เดือนสมาชิก ในกรณนี ี้ คือ 300 บาท 2. เงนิ ส่วนภาครฐั 2.1 เงนิ สมทบ ร้อยละ 3 ของเงินเดือน ซงึ่ จะสมทบโดย ภาครัฐ ในกรณีน้ี คอื 300 บาท 2.2 เงินชดเชย ร้อยละ 2 ของเงินเดือน ซึง่ ชดเชยสตู ร บำ�นาญทีล่ ดลงโดยภาครัฐ ในกรณีน้ี คือ 200 บาท กรณีตวั อยา่ งของสมาชกิ ทา่ นนี้ คอื จะมีเงนิ สะสมเขา้ บัญชี กบข. ทงั้ ส้นิ เดือนละ 800 บาท โดยเป็นเงนิ ทหี่ ักจากเงนิ เดือนสมาชกิ 300 บาท (เงินสะสม) และเงนิ ทร่ี ฐั นำ�ส่งให้ 500 บาท (เงินสมทบ และเงนิ ชดเชย) 2. แปลงจำ�นวนเงนิ ออมเป็นหนว่ ยลงทนุ (NAV) 800 บาท กบข. NAV = 22.5261 บาท/หนว่ ย 35.5144 เขา้ บัญชสี มาชกิ ณ วันท่ี 31 มกราคม 2560 หนว่ ยลงทุน 32 กองทุนบ�ำ เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ

กบข. แปลงจำ�นวนเงินออมเป็นหน่วยลงทุน ตามหลักเกณฑ์ ประกาศคณะกรรมการ กบข. เรอ่ื ง การจัดสรรผลประโยชนส์ ุทธเิ ขา้ บญั ชี เงนิ กองทนุ และหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารคิดมูลคา่ สินทรพั ยส์ ุทธิของกองทนุ สว่ น สมาชกิ เปน็ จ�ำ นวนหน่วยและมูลค่าต่อหนว่ ย (Unitization) เงินทน่ี �ำ ส่ง = จ�ำ นวนหน่วยลงทนุ มูลคา่ ตอ่ หน่วย (NAV/Unit) และวธิ กี ารค�ำ นวณมลู คา่ หนว่ ยลงทนุ คอื มลู คา่ สินทรพั ยส์ ทุ ธขิ องกองทุนสว่ นสมาชิก จ�ำ นวนหน่วย ของกองทนุ สว่ นสมาชิกทัง้ หมด ณ วนั ท่ีคำ�นวณมลู ค่าหน่วยลงทุนนนั้ เชน่ ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2560 กบข. ประกาศมลู คา่ ตอ่ หนว่ ย หรือ NAV/Unit ท่ี 22.5261 บาท / หนว่ ย กรณตี วั อย่างของสมาชิกท่านนี้ คอื เมือ่ นำ�สง่ เงินเข้ามา 800 บาท แปลงเปน็ หน่วยลงทนุ ไดเ้ ท่ากบั 35.5144 หน่วยลงทนุ (800 บาท ÷ 22.5261 บาท / หน่วย) กองทนุ บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ 33

3. ลงทนุ ตามแผนการลงทุนรายบคุ คล แผนหลกั เงินประเดมิ + เงินชดเชย เงนิ สะสม + เงนิ สมทบ + เงนิ ออมเพม่ิ (สมคั รใจ) สมาชกิ เลือกแผนลงทุนได้ 1 แผน จากแผนต่อไปน้ี 1. แผนหลัก 2. แผนผสมหุ้นทวี 3. แผนตราสารหนี้ 4. แผนตลาดเงนิ 5. แผนสมดลุ ตามอายุ กบข. จะนำ�เงินที่ส่งเข้ากองทุนไปลงทุนตามแผนการลงทุนราย บุคคล ซึ่งแผนการลงทนุ ปจั จุบนั มี 5 แผน ดงั น้ี 1) แผนหลกั 2) แผนผสมหุ้นทวี 3) แผนตราสารหนี้ 4) แผนตลาดเงนิ 5) แผนสมดลุ ตามอายุ * กรณสี มาชิกไม่ได้เลอื กแผนการลงทนุ กบข. จะน�ำ เงนิ ของสมาชิกไปลงทุนให้ ในแผนหลัก ** เงนิ ทสี่ มาชกิ สามารถเลือกแผนการลงทนุ ไดค้ ือ เงินสะสม เงนิ สะสมสว่ นเพิ่ม และเงนิ สมทบเท่านั้น 34 กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ

เขา้ ใจหนว่ ยลงทนุ ประเดน็ ที่ 1 : มูลคา่ ต่อหนว่ ย หรอื NAV/Unit มาจากไหน ? มูลคา่ ต่อหนว่ ย หรอื NAV/Unit คือ มลู ค่าของหน่วยการลงทุน 1 หนว่ ย ที่สมาชกิ มอี ยใู่ นแผนการลงทนุ นนั้ ๆ ซ่งึ มลู ค่าต่อหนว่ ยนีจ้ ะเปน็ เท่าใดขึ้นอยูก่ ับผลการดำ�เนินการงานของ กบข. ในแต่ละวนั โดยปัจจบุ ัน กบข. คำ�นวณมูลค่าต่อหน่วยทุกวัน ดังนั้น มูลค่าต่อหน่วยที่จะนำ�มา ค�ำ นวณหาหนว่ ยลงทนุ ของสมาชิกจึงเปลี่ยนไปทกุ วัน ประเดน็ ที่ 2 : จ�ำ นวนหนว่ ยลงทนุ ของสมาชิกคำ�นวณอย่างไร ? เงินออมสมาชิกทน่ี ำ�ส่งแตล่ ะเดอื นจะถูกแปลงเป็นหน่วยลงทุน ซงึ่ ค�ำ นวนตาม “มลู ค่าต่อหนว่ ย” (NAV/Unit) ในวันนนั้ การแปลงเงินออม ของสมาชิกเป็นจำ�นวนหน่วยจะคำ�นวณโดยนำ�จำ�นวนเงินออมของสมาชิก หารด้วยมูลค่าตอ่ หน่วย ณ วนั นั้น ดังน้ัน จำ�นวนหน่วยทจี่ ะบันทกึ ในบัญชี สมาชกิ จะไมเ่ ทา่ กนั ในแตล่ ะเดอื น ขน้ึ อยกู่ บั มลู คา่ ตอ่ หนว่ ย ณ วนั ทค่ี �ำ นวณ ตวั อย่าง กรณสี มาชิกนำ�ส่งเงินเดือนละ 800 บาท คำ�นวณจ�ำ นวน หนว่ ยตาม NAV เปรยี บเทยี บระหว่างวันท่ี 30 ธันวาคม 2559 และ 31 มกราคม 2560 ได้ดังน้ี วนั ที่น�ำ สง่ เงนิ จ�ำ นวนเงินน�ำ ส่ง มูลค่าตอ่ หน่วย จ�ำ นวนหนว่ ย (เงนิ ออม) (NAV/Unit) (จำ�นวนเงินนำ�ส่ง หาร มูลค่าต่อหน่วย) 30 ธนั วาคม 2559 800 บาท 22.4064 บาท/หนว่ ย 35.7041 บาท/หนว่ ย 31 มกราคม 2560 800 บาท 22.5261 บาท/หนว่ ย 35.5144 บาท/หนว่ ย จากตารางจะเหน็ ว่าแมเ้ งินออมที่ส่งเขา้ มามคี ่าเทา่ กัน แต่หากส่งมาใน เวลาทตี่ า่ งกันกจ็ ะทำ�ให้ไดจ้ �ำ นวนหน่วยลงทุนไม่เท่ากนั กองทนุ บำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 35

ประเด็นที่ 3 : จำ�นวนเงินออมที่สมาชิกส่งเข้ามาจะมีมูลค่าเปลี่ยนแปลง หรอื ไม่ มูลค่าเงินออมของสมาชกิ เปลี่ยนแปลงได้ เพราะมูลค่าตอ่ หน่วย จะมกี ารเปลย่ี นแปลงไปตามผลการด�ำ เนนิ งานของ กบข. ตวั อย่าง กรณสี มาชิกมีหนว่ ยลงทุน ณ 31 มกราคม 2560 จำ�นวน 1,000 หน่วยลงทนุ วนั ที่ จ�ำ นวนหนว่ ย มูลค่าตอ่ หน่วย จ�ำ นวนเงินออม 31 มกราคม 2560 1,000 หนว่ ยลงทนุ (NAV/Unit) จ�ำ นวนหน่วย คูณ 22.5261 บาท/หนว่ ย มูลค่าตอ่ หนว่ ย 22,526.10 บาท 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 1,000 หนว่ ยลงทนุ 22.6019 บาท/หนว่ ย 22,601.90 บาท จากตารางจะเห็นว่า จำ�นวนเงินออมของสมาชิกจะเพิ่มขึ้นตามมูลค่า ตอ่ หน่วย แมว้ า่ สมาชกิ จะไม่ไดส้ ่งเงินสะสมเขา้ มาเพิ่มเตมิ ก็ตาม หมายเหตุ: มูลค่า NAV/Unit ประกอบการอธิบาย เป็นมูลคา่ NAV/Unit จริง 36 กองทุนบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

ชอ่ งทางการตดิ ตามเงนิ ออมใน กบข. มี 4 ชอ่ งทาง คือ 1.ใบแจง้ ยอดเงินสมาชกิ ประจ�ำ ปีคอื เอกสารท ี่ ก บข. ส ่งใหส้ มาชกิ ราย บุคคลในเดอื นกมุ ภาพันธข์ องทุกปี เพอื่ ใหส้ มาชิกสามารถทราบยอดเงนิ ประเภท ตา่ งๆ ประจ�ำ ปขี องตนเอง โดยสมาชกิ สามารถตรวจสอบยอดเงนิ ออมจากชอ่ งรวม 2. บรกิ าร GPF Web Service คือ บรกิ ารออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ กบข. www.gpf.or.th เพอื่ ให้สมาชกิ กบข. สามารถทำ�รายการต่างๆ ด้วยตนเอง สมาชิกสามารถตรวจสอบยอดเงนิ ออมโดยเลือกเมนู“ตรวจสอบยอดเงนิ /ใบแจง้ ยอดสมาชกิ ” ซึง่ เปน็ ขอ้ มูลเงนิ ออม ณ วนั เวลาใดเวลาหนึ่ง กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 37

3. บรกิ าร GPF Mobile Application คือ บริการออนไลนผ์ า่ นทาง สมารท์ โฟนซ่งึ สมาชกิ สามารถเข้าใช้ไดโ้ ดยดาวนโ์ หลดแอปพลเิ คชนั ชือ่ “บริการ ทนั ใจ” ทง้ั สมาร์ทโฟนทเ่ี ป็นระบบ iOS และ Android เพือ่ ใชต้ รวจสอบยอดเงนิ ออมได้ 4. บรกิ าร GPF IVR Service คือ บรกิ ารผ่านระบบโทรศัพท์ตอบรบั อัตโนมตั ิ เพอ่ื ใหส้ มาชิกสามารถตรวจสอบยอดเงนิ ดว้ ยตนเอง โดยโทร. 1179 ตามด้วยเลขบัตรประชาชน 13 หลกั แลว้ จงึ กด 4 ซึง่ เปน็ ข้อมูลเงินออม ณ วัน เวลาใดเวลาหนง่ึ 38 กองทุนบ�ำ เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ

06 สิทธิการรับเงนิ จาก กบข. สิทธิการรับเงินจาก กบข. เกิดขึ้นเมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้น สุดลงเมื่อผู้นั้นออกจากราชการ เว้นแต่เป็นการสั่งให้ออกจากราชการไว้ ก่อนตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการน้ันๆ หรือการออกจากราชการ ของผู้ไปปฏิบัติงานตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกำ�หนดหลักเกณฑ์การ ส่ังให้ข้าราชการไปทำ�การ ซ่งึ ให้นับเวลาระหว่างน้ันเหมือนเตม็ เวลาราชการ ตามมาตรา 44 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 กองทุนบ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ 39

ตารางแสดงเหตแุ หง่ การสน้ิ สุดสมาชิกภาพ เหตุแหง่ การส้นิ สุดสมาชกิ ภาพ ความหมาย 1. เกษยี ณอายุราชการ สมาชกิ ทอ่ี อกจากราชการเมื่อมอี ายุครบ 2. เสยี ชีวติ 60 ปีบริบูรณ์ 3. ทุพพลภาพ สมาชิกท่ีเสยี ชีวติ ระหวา่ งรับราชการ สมาชกิ ที่ออกจากราชการ เพราะเจบ็ ป่วย 4. ทดแทน ทุพพลภาพ ซ่งึ แพทย์ทที่ างราชการรับรอง ไดต้ รวจและแสดงความเหน็ ว่า ไม่สามารถ 5. สูงอายุ ท่จี ะรบั ราชการในตำ�แหน่งหน้าทซ่ี ่งึ ปฏบิ ตั ิ 6. ลาออก อยูน่ ้ันตอ่ ไปได้ 7. ให้ออก สมาชกิ ที่ออกจากราชการ เพราะทาง 8. ปลดออก ราชการเลกิ หรอื ยบุ ต�ำ แหนง่ หรือมคี ำ�ส่งั 9. ไลอ่ อก ใหอ้ อกโดยไม่มีความผิด หรือทหารซึง่ ออกจากกองหนนุ เบย้ี หวัด สมาชิกที่ลาออกจากราชการเมอื่ มีอายคุ รบ 50 ปบี ริบูรณ์ สมาชกิ ทป่ี ระสงค์ลาออกจากราชการ โดย ส่วนราชการตน้ สังกดั อนมุ ัติ สมาชกิ ที่ออกจากราชการโดยส่วนราชการ ต้นสงั กดั ให้ออก สมาชกิ ทอ่ี อกจากราชการโดยสว่ นราชการ ตน้ สังกดั ใหอ้ อกจากโทษทางวินยั สมาชิกท่ีออกจากราชการโดยส่วนราชการ ต้นสงั กัดไลอ่ อก เนือ่ งจากมคี วามผดิ ทางวนิ ยั ร้ายแรง 40 กองทุนบำ�เหนจ็ บ�ำ นาญข้าราชการ

เหตแุ ห่งการส้ินสุดสมาชิกภาพ ความหมาย 10. โอนไปหน่วยงานของรัฐทไี่ ม่ใช่ สมาชกิ ที่โอนไปยงั หน่วยงานของรฐั ท่ีไมใ่ ช่ ข้าราชการตามมาตรา 3 แหง่ พระราช ประเภทข้าราชการ ตาม บญั ญตั กิ องทุนบ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ พระราชบญั ญตั กิ องทนุ บ�ำ เหนจ็ พ.ศ. 2539 บ�ำ นาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 11. ออกรบั เบย้ี หวดั สมาชกิ ที่เป็นขา้ ราชการทหาร (ชาย) ทย่ี งั ไม่พ้นเกณฑก์ องหนุนเมอ่ื ออกจากทหารกอง ประจำ�การ ภายใตเ้ งือ่ นไขและเงื่อนเวลาท่ี ขอ้ บงั คบั กระทรวงกลาโหมว่าด้วยเบ้ียหวัด พ.ศ. 2495 กำ�หนดไว้ สิทธิการรบั เงินคืน สมาชกิ กบข. เม่ือสนิ้ สดุ สมาชิกภาพจะได้รับเงิน 2 ส่วน ไดแ้ ก่ สว่ นท่ี 1 เงนิ บำ�เหนจ็ หรือเงนิ บ�ำ นาญรายเดือนจากกรมบัญชีกลาง สว่ นท่ี 2 เงิน กบข. รายละเอียดแตกต่างตามเวลาราชการ สิทธิ และการเลอื กใชส้ ทิ ธริ ับบ�ำ เหนจ็ บำ�นาญ ดังน้ี กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ 41

ตารางแสดงรายละเอียดเงนิ กบข. ที่สมาชกิ จะไดร้ บั เมอื่ ส้นิ สุดสมาชิกภาพ ด้วยเหตตุ ่างๆ เหตอุ อกจาก เวลาราชการ สทิ ธริ ับ เงินทจี่ ะได้รับจาก ราชการ (เวลารวมวัน บำ�เหน็จ กระทรวง บ�ำ นาญ กบข. การคลงั ทวีคูณ) ลาออก ไม่ถึง 10 ปี ไม่มี สะสม + สมทบ ไมม่ ี + ออมเพม่ิ (สมัครใจ) ใหอ้ อก + ผลประโยชน์ ปลดออก สะสม + สมทบ บำ�เหน็จ 10 ปี ขนึ้ ไป บำ�เหน็จ + ออมเพม่ิ (สมัครใจ) แต่ไม่ถงึ 25 ปี + ผลประโยชน์ 25 ปี ขึน้ ไป กรณีเลือก สะสม + สมทบ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ เหน็จ + ออมเพม่ิ (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ กรณีเลอื ก ประเดิม (ถ้ามี) บำ�นาญ บ�ำ นาญ + ชดเชย + สะสม + สมทบ + ออมเพิม่ (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ เกษียณ ไมถ่ ึง 1 ปี ไม่มี สะสม + สมทบ ไมม่ ี่ สูงอายุ + ออมเพิ่ม (สมคั รใจ) ทุพพลภาพ + ผลประโยชน์ ทดแทน 1 ปีข้ึนไป แต่ บำ�เหน็จ สะสม + สมทบ บ�ำ เหน็จ ไมถ่ ึง 10 ปี + ออมเพ่ิม (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ 42 กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บำ�นาญข้าราชการ

เหตอุ อกจาก เวลาราชการ สทิ ธิรับ เงินทจี่ ะไดร้ ับจาก ราชการ (เวลารวมวนั บำ�เหนจ็ กระทรวง บ�ำ นาญ กบข. การคลัง ทวคี ณู ) 10 ปีข้นึ ไป กรณีเลอื ก สะสม + สมทบ บำ�เหนจ็ บ�ำ เหนจ็ + ออมเพ่ิม (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ กรณีเลอื ก ประเดิม (ถ้าม)ี บ�ำ นาญ บ�ำ นาญ + ชดเชย + สะสม + สมทบ + ออมเพิม่ เสยี ชีวติ ไม่ถงึ 1 ปี ไมม่ ี (สมคั รใจ) (ปกต)ิ + ผลประโยชน์ สะสม + สมทบ ไม่มี + ออมเพม่ิ (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ 1 ปีขึ้นไป บ�ำ เหนจ็ สะสม + สมทบ บำ�เหนจ็ ตกทอด + ออมเพิ่ม (สมคั รใจ) ตกทอด + ผลประโยชน์ เสยี ชวี ติ - ไม่มี สะสม + สมทบ ไมม่ ี่ เพราะ + ออมเพมิ่ (สมัครใจ) ประพฤตชิ ว่ั + ผลประโยชน์ อยา่ งรา้ ยแรง ไลอ่ อก - ไมม่ ี สะสม + สมทบ ไมม่ ่ี + ออมเพ่มิ (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ กองทุนบำ�เหน็จบ�ำ นาญขา้ ราชการ 43

เหตุออกจาก เวลาราชการ สิทธิรับ เงินท่ีจะไดร้ ับจาก ราชการ (เวลารวมวนั บ�ำ เหนจ็ กระทรวง กบข. การคลงั ออกรบั ทวคี ูณ) บ�ำ นาญ เบย้ี หวดั - ไมม่ ี สะสม + สมทบ เบยี้ หวัด + ออมเพ่มิ (สมัครใจ) + ผลประโยชน์ ยา้ ยประเภท - กรณีเลือก ไมม่ ี บำ�เหนจ็ รบั เบย้ี หวดั - บำ�เหนจ็ ประเดมิ (ถ้าม)ี บ�ำ นาญ เปน็ รบั บ�ำ เหนจ็ กรณเี ลือก + ชดเชย บ�ำ นาญ บำ�นาญ + ผลประโยชน์ (ตอ่ เนอ่ื งจาก ออกรบั เบย้ี หวดั ) โอนไป - ไม่มี สะสม + สมทบ ไมม่ ่ี หนว่ ยงานของ + ออมเพ่ิม (สมัครใจ) รัฐทไ่ี มใ่ ช่ + ผลประโยชน์ ประเภท ขา้ ราชการตาม พระราชบญั ญตั ิ กองทนุ บ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 หมายเหตุ : สมาชิกทร่ี ับราชการอย่กู ่อนวนั ท่ี 27 มนี าคม 2540 และเลอื ก ไม่สะสมเงินเข้ากองทุน เมื่อพ้นสมาชิกภาพและเลือกรับบำ�นาญจะได้เงิน ชดเชย เงินประเดิม และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวจาก กบข. หาก สมาชกิ เลือกรบั บ�ำ เหนจ็ จะไดเ้ พยี งเงินบ�ำ เหน็จจากกรมบญั ชีกลาง 44 กองทนุ บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ

ผู้มสี ิทธแิ ละเอกสารการขอรบั เงินคนื เม่อื ส้นิ สุดสมาชิกภาพ แบง่ เปน็ 2 กรณี คือ 1. กรณสี ิ้นสดุ สมาชกิ ภาพเน่ืองจากออกจากราชการ กบข. จะจ่ายเงินให้แก่สมาชิกผู้มีสิทธิรับเงินเท่านั้น เว้นแต่กรณี สมาชิกพ้นสภาพเป็นบุคคลล้มละลายหรือถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด กบข. จะจ่ายเงินที่สมาชิกมีสิทธิได้รับให้กับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เท่านั้น ส�ำ หรับเอกสารยน่ื เรอ่ื งขอรับเงนิ คนื แบ่งออกเปน็ กรณี ดงั น้ี 1.1 กรณสี ้นิ สุดสมาชิกภาพเนอ่ื งจากออกจากราชการ (สมาชกิ เปน็ ผขู้ อรบั เงิน) เอกสารย่นื เร่ืองขอรบั เงนิ คืน ประกอบดว้ ย 1.1.1 แบบ กบข. รง 008/1/2555 1.1.2 ส�ำ เนาค�ำ สง่ั ออก/ประกาศเกษยี ณ พรอ้ มเจา้ หนา้ ท่ี รบั รองสำ�เนาถกู ตอ้ ง 1.1.3 ส�ำ เนาสมดุ บญั ชเี งนิ ฝาก พรอ้ มสมาชกิ รบั รองส�ำ เนา ถูกตอ้ ง (กรณีเลอื กวิธีโอนเงินเข้าบญั ชธี นาคาร) 1.1.4 ส�ำ เนาใบแนบหนงั สือสง่ั จา่ ยบำ�นาญสมาชกิ กบข. พร้อมเจา้ หน้าท่รี บั รองส�ำ เนาถกู ตอ้ ง (กรณเี ลือกรบั บ�ำ นาญ) 1.2 กรณีสมาชกิ กบข. โอนไปองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม พ.ร.บ. ก�ำ หนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอำ�นาจ ต่อมาได้ออกจาก ราชการ ยื่นเอกสารเหมือนข้อ 1.1.1-1.1.4 และเพม่ิ เอกสารดังตอ่ ไปนี้ - ส�ำ เนาค�ำ สง่ั โอนไปสว่ นทอ้ งถน่ิ พรอ้ มเจา้ หนา้ ทร่ี บั รองส�ำ เนาถกู ตอ้ ง - ส�ำ เนาแบบค�ำ นวณการตรวจสอบบ�ำ เหนจ็ หรอื บ�ำ นาญ (บ.ท.4) พรอ้ มเจ้าหนา้ ทีร่ ับรองส�ำ เนาถูกต้อง - สมดุ ประวัติ / ก.พ.7 ฉบบั จรงิ (กรณีเลอื กรับบ�ำ นาญ) กองทุนบำ�เหนจ็ บำ�นาญขา้ ราชการ 45

1.3 กรณสี มาชกิ มสี ทิ ธแิ ละเลอื กรบั บ�ำ นาญ แตอ่ ยรู่ ะหวา่ งสอบสวน ทางวนิ ยั ย่ืนเอกสารเหมอื นขอ้ 1.1.1-1.1.4 ระบสุ ิทธใิ นแบบ กบข.รง 008/1/2555 เป็น “ขอรบั บ�ำ นาญใน ระหวา่ งสอบสวนทางวนิ ยั ” กบข. จะจ่ายเงนิ สะสม เงินสมทบ เงนิ สะสมสว่ นเพิ่ม (ถา้ มี) และ ผลประโยชน์ตอบแทนเงนิ ดงั กลา่ วให้แก่สมาชิก ส่วนเงินประเดิม (ถ้าม)ี เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทนเงินดังกล่าว กบข. จะจ่ายเมื่อได้ ด�ำ เนนิ การข้อใดข้อหนึ่งแลว้ ดังน้ี 1) มีหลักฐานแจ้งเรื่องราว หรือรับรองการถึงที่สุด จาก หวั หนา้ สว่ นราชการเจา้ สังกดั พรอ้ มค�ำ สง่ั ถงึ ทส่ี ดุ น้นั โดยมไิ ด้ปรากฏว่า ได้ มกี ารสัง่ ลงโทษ ไลอ่ อกหรือไม่มีสทิ ธริ ับบ�ำ นาญ หรือ 2) สมาชิกผู้นั้นจะต้องดำ�เนินการจัดหาทรัพย์สินมาเป็น ประกันการรับเงินประเดิม (ถ้าม)ี เงนิ ชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน เงินดังกล่าว โดยต้องจัดทำ�หนงั สือสัญญาการใชเ้ งินคืนตามแบบท่ี กบข. ก�ำ หนดด้วย 2. กรณีสิ้นสดุ สมาชกิ ภาพเนอื่ งจากเสยี ชวี ติ เงนิ กบข. ถอื เป็นเงนิ มรดกของบคุ คลจงึ ไมม่ เี อกสารการให้แสดง เจตนาระบผุ รู้ บั ประโยชนไ์ วเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ และ กบข. จะจา่ ยเงนิ คนื แกผ่ มู้ ี สทิ ธริ บั เงนิ คอื ผมู้ สี ทิ ธริ บั มรดกตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ ไดแ้ ก่ 2.1 ผู้จดั การมรดก คือ ผู้ทมี่ สี ทิ ธิและหน้าท่ใี นการจดั การมรดก โดยท่ัวไป เพ่อื แบง่ ทรพั ยม์ รดกของผตู้ ายให้กับทายาทลำ�ดับตา่ งๆ เอกสาร ยื่นเร่ืองขอรบั เงินคืน ประกอบด้วย 46 กองทนุ บำ�เหนจ็ บ�ำ นาญขา้ ราชการ

2.1.1 แบบ กบข. รง 008/2/2551 2.1.2 สำ�เนาคำ�สั่งศาลตั้งผู้จัดการมรดกที่มีเจ้าพนักงาน ศาลรับรองส�ำ เนาถกู ต้อง 2.1.3 ส�ำ เนาสมดุ บัญชีเงินฝากธนาคารของผจู้ ดั การมรดก (กรณีเลือกวิธีโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร) ที่ผู้จัดการมรดกหรือเจ้าหน้าที่ ของส่วนราชการตน้ สงั กดั รับรองสำ�เนาถูกต้อง 2.1.4 หลกั ฐานเอกสารอื่นทเี่ กย่ี วขอ้ ง (ถ้าม)ี 2.2 ทายาทโดยธรรม คอื ทายาทผมู้ สี ทิ ธริ บั มรดกตามมาตรา 1629 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ เอกสารย่นื เรอ่ื งขอรับเงนิ คนื ได้แก่ 2.2.1 แบบ กบข. รง 008/2/2551 2.2.2 สำ�เนาใบมรณบัตรที่มีทายาทโดยธรรมคนใดคน หนง่ึ รบั รองส�ำ เนาถกู ตอ้ ง 2.2.3 ส�ำ เนาใบทะเบยี นสมรส (กรณผี ู้ตายมีคสู่ มรส) ท่มี ีคู่ สมรสรบั รองส�ำ เนาถูกตอ้ ง 2.2.4 แบบบันทึกสอบปากคำ� (ป.ค.14) ของกรมการ ปกครอง ท่อี อกโดยอำ�เภอหรอื ส�ำ นักงานเขตของกรุงเทพมหานคร โดยใช้ 1 คน ต่อ 1 ฉบบั 2.2.5 สำ�เนาสมดุ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร (กรณีเลือกวิธโี อน เงนิ เขา้ บัญชธี นาคาร) ท่ีผมู้ ีสิทธิรบั มรดกที่เปน็ เจา้ ของบญั ชีเงินฝากธนาคาร หรือเจ้าหนา้ ที่ของสว่ นราชการต้นสังกัดรับรองสำ�เนาถูกต้อง 2.2.6 หลักฐานเอกสารอืน่ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง (ถา้ ม)ี กองทุนบ�ำ เหน็จบ�ำ นาญข้าราชการ 47

หมายเหตุ กรณสี มาชิก กบข. โอนไปองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ตาม พ.ร.บ. ก�ำ หนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอ�ำ นาจไดเ้ สยี ชวี ติ จะตอ้ งแนบ ส�ำ เนาค�ำ สง่ั โอนไปองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พรอ้ มเจา้ หนา้ ทร่ี บั รองส�ำ เนา ถกู ตอ้ งมาด้วย และแบบ กบข.รง 008/2/2551 ลงนามโดยหัวหนา้ สว่ น ราชการส่วนท้องถน่ิ ท่สี มาชิกสงั กดั ตารางแสดงทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกตามมาตรา 1629 แห่งประมวล กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ส่วนท่ี 1 สว่ นท่ี 2 คสู่ มรส ทายาท 6 ล�ำ ดับ ได้แก่ 1. ผูส้ ืบสันดาน คือ บตุ รทชี่ อบดว้ ยกฎหมายซ่งึ เกดิ จาก บดิ า มารดา ได้สมรสกนั ตามกฎหมาย หรอื บุตรท่บี ดิ ารบั รองบตุ ร หรือบุตรบญุ ธรรม 2. บดิ า มารดา คือ บดิ า มารดาทีส่ มรสกนั ตามกฎหมาย 3. พ่นี ้องรว่ มบดิ า มารดาเดียวกัน หากไม่มที ายาท ขอ้ 1 และ 2 จงึ จะมสี ิทธไิ ด้รบั เงนิ 4. พ่นี อ้ งร่วมบิดา หรอื มารดาเดยี วกนั หากไม่มที ายาท ขอ้ 1 ถงึ 3 จึงจะมีสิทธไิ ด้รบั เงนิ 5. ปู่ ย่า ตา ยาย หากไมม่ ีทายาทล�ำ ดบั 1 ถงึ 4 จึงจะ มสี ิทธิได้รบั เงิน 6. ลุง ป้า นา้ อา หากไมม่ ที ายาทลำ�ดับ 1 ถึง 5 จึงจะ มสี ทิ ธิได้รับเงิน 48 กองทุนบ�ำ เหน็จบำ�นาญขา้ ราชการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook