Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศ ติดตาม ตวจสอบ การจัดทำแผน IEP ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2564

การนิเทศ ติดตาม ตวจสอบ การจัดทำแผน IEP ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2564

Published by Suthon Promlee, 2021-08-30 14:15:27

Description: การนิเทศ ติดตาม ตวจสอบ การจัดทำแผน IEP ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2564

Search

Read the Text Version

การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การจดั ทําแผนการจดั การศึกษา เฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบ โปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนที ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นทัวไปจดั การเรยี นรวม ในสงั กัด ระหวา่ งวนั ที ๑๐ - ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ ปญชลีย์ ปราณี กล่มุ งานการศึกษาพเิ ศษ ศึกษานิเทศก์ กล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล เอกสารลําดับที ๒๕/๒๕๖๔ การจดั การศึกษา สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษา ประถมศึกษา ระยอง เขต ๒

บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นางสาวตรนี ุช เทยี นทอง) ไดม้ อบนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ในการปฏบิ ัติงานเพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการจัดการศกึ ษาใหเ้ กิดความเช่อื ม่นั และสรา้ งความม่ันใจใหก้ ับ สงั คม ตลอดจนได้แถลงนโยบายด้านการจัดการศึกษาซึ่งมีสาระประกอบด้วยหลกั การทำงาน (๓ข้อ) นโยบายการ จดั การศึกษา (๑๒ ข้อ) และนโยบายระยะเร่งด่วน (๗ ข้อ) โดยกำหนดเร่ืองการเพม่ิ โอกาสและการเข้าถึงการศกึ ษา ทีม่ คี ณุ ภาพของกลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผเู้ รียนทมี่ ีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ เปน็ นโยบายเร่งดว่ น (Quick Win) สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๒ สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน มโี รงเรียนในสังกดั จำนวน ๘๗ โรงเรียน จำแนกเป็นโรงเรียนทั่วไปจดั การเรียนรวม จำนวน ๕๗ แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ ๖๕.๕๑ ของโรงเรยี นทไ่ี ม่มีเด็กพิการเรยี นรวม มีจำนวนเดก็ พิการเรียนรวม ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ (ข้อมลู ณ วันท่ี ๒๕ มิถนุ ายน ๒๕๖๔ ) จำนวนท้งั หมด ๕๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๙๒ ของจำนวนนักเรยี นปกติ ทั้งหมด ๑๗.๖๙๙ คน กลุ่มงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาระยอง เขต 2 ตระหนกั ถึงความจำเป็นและความสำคญั ของการศึกษาพิเศษ รับแนวทางขบั เคลือ่ นเพอื่ ให้ สอดคล้องกบั นโยบายส่งผลถึงผู้เรียนที่มคี วามต้องการจำเป็นพเิ ศษใหไ้ ด้มากท่สี ดุ และท่ีสำคญั ต้องให้สอดคล้องกับนโยบาย “ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ปแี หง่ การขบั เคล่ือนวถิ คี ุณภาพการศกึ ษาเรยี นรวม”จึงกำหนดได้มีการนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ การจดั ทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนทั่วไปจัดการเรียนรวม ในสงั กัด ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๐ - ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ โดยใชร้ ปู แบบการนิเทศทางไกล (ออนไลน์,ผ่านกล่มุ แอปพลิเคช่ันไลน์ ) เครอื่ งมือการนเิ ทศ ติดตามฯ จำนวน 1 ฉบบั ได้แก่ แบบนิเทศติดตาม ตรวจสอบ การจดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นท่วั ไปจดั การเรยี นรวม ในสังกัด โดยมีผลการนิเทศ ฯของโรงเรียนทวั่ ไปจัดการเรยี นรวม ในสังกัด ดังน้ี ประเด็นท่ี ๑ จำนวนนกั เรยี นพิการเรียนรวม ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET มีจำนวน ๕๑๘ คน จำแนกตามระดบั ชน้ั ดังน้ี ๑) ระดับปฐมวัย มจี ำนวน ๔ คน ๒) ระดับประถมศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ จำนวน ๑๒ คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๒๔ คน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ จำนวน ๑๑๘ คน ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ จำนวน ๑๓๙ คน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ จำนวน ๑๐๗คน และชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ จำนวน ๘๑ คน ๓) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๙ คน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ จำนวน ๑๒ คน ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จำนวน ๑๒ คน ประเดน็ ที่ ๒ การบนั ทึกขอ้ มูลแผนการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นท่ัวไปจัดการเรยี นรวม ในสงั กดั ทุกแห่ง ดำเนนิ การบนั ทึกข้อมลู ครบถ้วน

การตรวจสอบกระบวนการขนั้ ตอนการจดั ทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคล (IEP) ขัน้ ตอนที่ ๑ ข้ันเตรยี มการ ๑.๑ การรวบรวมขอ้ มลู โรงเรยี นทัว่ ไปจดั การเรยี นรวม ในสังกดั ทุกแหง่ มีการสมั ภาษณ์สอบถามขอ้ มูลผู้เรยี นจากผปู้ กครองและ ผทู้ ่เี ก่ยี วข้อง มกี ารสงั เกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียน การรวบรวมเอกสาร/หลักฐานท่เี กีย่ วข้องและการทำความเข้าใจระหว่าง ผเู้ รียนกบั ผปู้ กครอง และผู้เก่ียวข้อง ๑.๒ การคดั กรองความพิการทางการศกึ ษา โรงเรยี นท่ัวไปจัดการเรยี นรวม ในสังกัด ทกุ แห่ง มีการขออนุญาตจากผ้ปู กครอง ใช้แบบคดั กรองของ กระทรวงศกึ ษาธิการ และมีผคู้ ัดกรองไม่นอ้ ยกวา่ ๒ คน ท่ีได้รบั วฒุ บิ ตั รการเป็นผดู้ ำเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศกึ ษา ขนั้ ตอนที่ ๒ ขน้ั จัดทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล ๒.๑ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ โรงเรยี นท่ัวไปจัดการเรียนรวม ในสังกดั ทุกแหง่ มีการจดั ทำคำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทำแผน IEP ครบตามองคป์ ระกอบของประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร และสอดคล้องกบั ความต้องการจำเปน็ พิเศษของผ้เู รยี น ๒.๒ การตรวจสอบหรือประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐาน โรงเรียนทัว่ ไปจัดการเรียนรวม ในสังกดั ทุกแห่ง มีการตรวจสอบหรือประเมนิ ความสามารถของผู้เรียนดว้ ย รูปแบบทห่ี ลากหลายตรงตามหลกั สตู ร และนำผลตรวจสอบหรือประเมนิ ความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนมาวางแผนการจัด การศึกษา ตรวจสอบรายการสง่ิ อำนวยความสะดวก สอื่ บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศกึ ษาเพ่ือนำมาใช้ในการ จดั ทำแผน IEP ๒.๓ การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP) โรงเรียนทัว่ ไปจัดการเรียนรวม ในสงั กดั ทุกแห่ง มกี ารดำเนนิ การจัดทำแผนIEPครบ๘องคป์ ระกอบนำผล การประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนมาวิเคราะห์เป็นจุดเด่น จดุ ดอ้ ย ได้สอดคล้องกับผลการประเมิน มีการนำผล การวเิ คราะหจ์ ดุ ด้อยผ้เู รียนนำมากำหนดเป้าหมายระยะยาว ๑ ปี และนำเปา้ หมายระยะยาว ๑ ปมี าวเิ คราะห์เปน็ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (เป้าหมายระยะสน้ั ) ได้อยา่ งสอดคล้อง กบั กำนดเกณฑ์เครื่องมือวธิ กี ารประเมินผลได้สอดคล้อง กับจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (เปา้ หมายระยะสน้ั ) และมีการกำหนดความต้องการด้านส่ิงอำนวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศกึ ษาได้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (เป้าหมายระยะสน้ั ) ประเด็นที่ ๓ การจัดการเรยี นการสอนแกเ่ ดก็ ที่มคี วามต้องการจำเป็นพิเศษในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๓.๑ รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน โรงเรยี นทั่วไปจัดการเรยี นรวม ในสังกัด ทุกแหง่ ใชร้ ูปแบบ On Hand โดยครใู หแ้ บบฝึกหัด/ใบงาน ใหน้ ำกลบั ไปเรยี นรู้ทีบ่ า้ น ๓.๒ ปญั หา/อุปสรรค ของการจดั การเรยี นการสอนโรงเรยี นทวั่ ไปจัดการเรยี นรวม ในสังกัด ทุกแห่ง มปี ัญหา/อุปสรรค ทค่ี ลา้ ยคลึงกนั จึงสรปุ เปน็ ภาพรวมได้ดังนี้ ดา้ นครู พบว่า ครูผสู้ อนมคี วามยากลำบากในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้แกผ่ ูเ้ รยี น กลา่ วคือ ไม่สามารถจดั กจิ กรรมได้ตามเป้าหมายท่วี างไว้ เนื่องจากผเู้ รยี นมขี ้อจำกัดในการเรยี นรู้ เช่น ผู้เรยี นมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีความ จำเปน็ อย่างยงิ่ ท่ตี ้องไดร้ บั การอธบิ ายซำ้ ๆจากครูผูส้ อนท่ีมีประสบการณ์ และเทคนิคการสอนท่ีสามารถทำใหเ้ ด็กเข้าถึงการ เรยี นรู้ นอกจากน้ี ครูผู้สอนยังไมส่ ามารถพฒั นาผู้เรยี นได้อย่างเต็มตามศกั ยภาพฃ ด้านนักเรยี น พบวา่ ผู้เรียนไม่เข้าใจเน้ือหาในเอกสารภาระงานท่ีครูมอบหมายใหไ้ ปเรยี นรู้ท่บี ้าน จงึ ทำให้

เกดิ ความเบ่ือหนา่ ย ไมอ่ ยากเรยี น ขาดความตง้ั ใจในการทำภาระงาน หลายคนทำงานไม่เสรจ็ สง่ ผลใหไ้ ม่สามารถทำงาน ส่งครไู ด้ตามกำหนดเวลา นอกจากน้ี ผเู้ รียนไดส้ ะท้อนความร้สู กึ วา่ อยากมาโรงเรยี นคดิ ถึงครู คิดถงึ เพื่อน การเรยี นท่ีบ้าน ทำให้เบ่ือหนา่ ย บางครัง้ ถูกดเุ ม่ือทำภาระงานไม่ได้ หรือทำไมถ่ ูกต้อง ดา้ นผู้ปกครอง พบวา่ ผู้ปกครองค่อนขา้ งเครยี ด เหนือ่ ยลา้ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถสอนใหบ้ ุตรหลานเข้าใจ ในเนือ้ หาได้เพราะไมเ่ หมือนสมัยที่ตนเองได้เรียนผ่านมา ประกอบกับภาระงานนอกบา้ นท่ีต้องออกไปทำงาน ตอนเชา้ และกลับเข้าบ้านตอนเย็น ไม่มีเวลาดแู ลบุตรหลานใหเ้ รยี น หรือทำงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายได้ ๓.๓ หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยงั ไมค่ ล่ีคลายสถานศึกษา และครูผู้สอนมีวิธีการ แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแก่เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษอยา่ งไร โรงเรยี นท่ัวไปจัดการเรยี นรวม ในสังกดั ทุแหง่ มีแนวทาง วิธีการทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั จงึ สรุปเปน็ ภาพรวมได้ ดงั นี้ ๑) ช้แี จง สรา้ งความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครองในฐานะที่เปน็ ผ้ทู ี่มบี ทบาทสำคัญในการเปน็ ผู้ชว่ ยครดู ูแล และช่วยเหลอื ผู้เรยี นในระหว่างท่เี รียนร้อู ยู่ที่บ้าน ๒) ลดการมอบหมายภาระงานท่ีเป็นเอกสารใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้น้อยลง ทงั้ น้ีผู้เรยี นมีข้อจำกัดในการเรียนรู้ ๓) การออกแบบกิจกรรม หรอื การจัดทำเอกสารภาระงานในแต่ละวชิ าทีผ่ ู้เรียนมีความบกพร่อง ครูผู้สอน /ครูประจำชั้น จะคำนงึ ถึงความสามารถในการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ๔) ปรบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เนน้ ทกั ษะชวี ติ และการลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ มากขน้ึ เพื่อใหผ้ เู้ รียนรสู้ ึกภมู ิใจ และเห็นคณุ ค่าในตนเอง

คำนำ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (นางสาวตรีนุช เทยี นทอง) ได้มอบนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ในการปฏิบตั งิ านเพ่อื เปน็ แนวทางในการขับเคล่ือนการจดั การศึกษาให้เกิดความเช่ือม่นั และสร้างความม่ันใจให้กับ สงั คม ตลอดจนไดแ้ ถลงนโยบายดา้ นการจดั การศกึ ษาซ่ึงมสี าระประกอบดว้ ยหลักการทำงาน (๓ขอ้ ) นโยบายการ จัดการศึกษา (๑๒ ขอ้ ) และนโยบายระยะเร่งด่วน (๗ ข้อ) โดยกำหนดเร่ืองการเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศกึ ษา ที่มีคุณภาพของกลุม่ ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และผู้เรียนทมี่ ีความต้องการจำเปน็ พิเศษ เปน็ นโยบายเรง่ ด่วน (Quick Win) กลุ่มงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี าร ศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต ๒ ตระหนักถงึ ความจำเปน็ และความสำคญั ของการศึกษาพเิ ศษ และรับแนวทางขับเคลือ่ น เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั นโยบายและผเู้ รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษให้ได้มากท่สี ุด และที่สำคญั ต้องให้สอดคล้องกับ นโยบาย “ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ปแี หง่ การขับเคล่อื นวถิ คี ุณภาพการศึกษาเรียนรวม”จึงไดก้ ำหนดให้มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนทว่ั ไปจัดการเรียนรวม ในสังกดั ระหว่างวนั ที่ ๑๐ - ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ สบื เนอ่ื ง จากการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส่งผลให้รปู แบบการนิเทศตอ้ งปรบั เปลี่ยนเป็นการนิเทศ รปู แบบทางไกล (แบบออนไลน์,ผา่ นแอปพลิเคชั่น ไลน์) เครอ่ื งมือการนเิ ทศ ตดิ ตามฯ จำนวน 1 ฉบับ ไดแ้ ก่ แบบนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจดั ทำแผนการจัดการCOVID-19)รศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นทว่ั ไปจัดการเรียนรวม ในสังกัด ขอบคุณบุคลากรทางการศึกษาทุกฝา่ ยทเี่ กีย่ วข้อง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต ๒ รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๒ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู นักเรยี นในสงั กัด และศึกษานิเทศก์ทกุ ท่านท่ไี ด้ใหค้ ำปรึกษา ชว่ ยเหลือ แนะนำในการจดั ทำ รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตามฯ ฉบบั นสี้ ำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี และหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ศึกษานเิ ทศก์ สถานศึกษา นำไปเปน็ แนวทางในการนเิ ทศเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มคี ุณภาพต่อไป กลุ่มงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

สารบญั เรือ่ ง หน้า บทสรุปผู้บริหาร คำนำ สารบญั สว่ นท่ี ๑ บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ………………………………………………………………………………………. 1 วตั ถุประสงค์……………………………………………………………………………………………………………… ๑ ขอบข่ายการนเิ ทศ…………………………………………………………………………………………………….. ๑ เป้าหมายการนเิ ทศ……………………………………………………………………………………………………. ๒ กระบวนการนิเทศ…………………………………………………………………………………………………….. ๒ ประเด็นการนเิ ทศ……………………………………………………………………………………………………… ๒ สถานศกึ ษาท่รี บั การนเิ ทศ………………………………………………………………………………………….. ๒ ผู้นเิ ทศ…………………………………………………………………………………………………………………….. ๒ ส่วนที่ ๒ ผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม………………………………………………………………………………………………… ๓ ภาคผนวก -เคร่ืองมือการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดทำแผนการจัดการCOVID-19)รศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นท่วั ไปจดั การเรียนรวม ในสงั กดั -ข้อมลู นักเรียนพิการเรียนรวม ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นทั่วไปจัดการเรยี นรวม ในสงั กดั

สว่ นที่ ๑ บทนำ ๑. ความเป็นมาและความสำคญั ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง นโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนชุ เทียนทอง) ไดม้ อบนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการปฏบิ ัติงานเพอ่ื เปน็ แนวทางในการขับเคลอ่ื นการจดั การศึกษาให้เกิดความเช่ือม่นั และสร้างความมั่นใจใหก้ บั สงั คม ตลอดจนไดแ้ ถลงนโยบายด้านการจดั การศึกษาซ่งึ มีสาระประกอบด้วยหลักการทำงาน (๓ขอ้ ) นโยบายการ จัดการศึกษา (๑๒ ข้อ) และนโยบายระยะเรง่ ดว่ น (๗ ข้อ) โดยกำหนดเร่ืองการเพ่มิ โอกาสและการเขา้ ถงึ การศกึ ษา ท่มี ีคุณภาพของกล่มุ ผ้ดู ้อยโอกาสทางการศึกษา และผเู้ รยี นท่ีมคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ เป็นนโยบายเร่งด่วน (Quick Win) กลุ่มงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาระยอง เขต ๒ ตระหนกั ถึงความจำเปน็ และความสำคัญของการศึกษาพิเศษ และรบั แนวทางขับเคล่ือน เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับนโยบายและผูเ้ รียนท่ีมคี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษใหไ้ ด้มากท่สี ุด และทส่ี ำคญั ต้องให้สอดคล้องกบั นโยบาย “ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ปีแห่งการขับเคลือ่ นวถิ คี ุณภาพการศกึ ษาเรยี นรวม” จึงได้กำหนดให้มีการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศSETภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนท่วั ไปจดั การเรยี นรวม ในสังกดั ระหวา่ งวนั ที่ ๑๐ - ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ สืบเน่ือง จากการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สง่ ผลใหร้ ูปแบบการนเิ ทศตอ้ งปรบั เปล่ยี นเป็นการนิเทศ รูปแบบทางไกล (แบบออนไลน,์ ผา่ นแอปพลิเคช่นั ไลน์) เครื่องมือการนเิ ทศ ตดิ ตามฯ จำนวน 1 ฉบบั ได้แก่ แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจัดทำแผนการจัดการCOVID-19)รศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นทวั่ ไปจดั การเรยี นรวม ในสังกัด ๒.วัตถปุ ระสงค์ ๒.๑.เพือ่ นเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ โรงเรยี นทว่ั ไปจดั การเรียนรวมในสังกัด ในการบันทึกข้อมลู แผนการจดั การ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตามกระบวนการจัดทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP)ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ ตามวันและเวลาที่กำหนด ๒.๒ เพอ่ื นเิ ทศ ตดิ ตาม รปู แบบการจัดการเรียนการสอนเด็กที่มคี วามต้องการจำเป็นพิเศษในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และปัญหา/อุปสรรค ด้านครู ด้านเด็กทม่ี ีความต้องการจำเป็นพิเศษ ด้านผู้ปกครองของเด็กท่ีมีความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ ๒.๓๒ เพือ่ นิเทศ ตดิ ตาม ผูบ้ ริหารและครผู ้สู อนในโรงเรยี นทวั่ ไปจดั การเรียนรวม ในการวางแผนการจดั การ เรยี นการสอนเด็กท่มี ีความต้องการจำเป็นพิเศษหากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังไมค่ ล่ีคลาย ๓.ขอบข่ายการนเิ ทศ ๓.๑ จำนวนนักเรียนพกิ ารเรยี นรวม ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ ๓.๒ การบนั ทึกขอ้ มูลแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรียน ท่ี ๑/๒๕๖๔ ตามวนั และเวลาทีก่ ำหนด

-๒- ๓.๓ การตรวจสอบกระบวนการจดั ทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ๓.๔ รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนเด็กที่มีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และปัญหา/อปุ สรรค ดา้ นครู ด้านเดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ ด้านผ้ปู กครอง ของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ ๓.๕ การวางแผนการจดั การเรยี นการสอนเดก็ ทีม่ ีความต้องการจำเป็นพิเศษ หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)ยงั ไมค่ ล่คี ลาย ๔.เป้าหมายการนิเทศ ๔.๑ เชิงปริมาณ สถานศกึ ษาในสงั กดั จำนวน ๕7 แห่ง ๔.๒ เชิงคณุ ภาพ สถานศึกษารอ้ ยละ ๑๐๐ ได้รับการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ๕. กระบวนการนิเทศ ใช้กระบวนการนิเทศ PIDRE วางแผนการนิเทศ (P) การใหค้ วามรูก้ ่อนการนเิ ทศ (I) การดำเนินการปฏบิ ัตงิ านนิเทศ (D) การส่งเสรมิ กำลังใจ แก่ผู้ปฏบิ ัติงานนเิ ทศ (R) การประเมนิ ผลการนิเทศ (E) ๖. รปู แบบการนิเทศ ใชร้ ปู แบบการนเิ ทศทางไกล ๖.๑ การนเิ ทศออนไลน์ ๖.๒ การนเิ ทศผา่ นกลมุ่ แอปพลิเคชัน่ ไลน์ ๗. ประเดน็ การนิเทศ ๗.๑ วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา ด้านความปลอดภัย และดา้ นคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ๗.๒ ปัญหา/อุปสรรค ๗.๓ ข้อเสนอแนะ ๘.สถานศกึ ษาทร่ี ับการนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ โรงเรยี นทั่วไปจัดการเรยี นรวม ในสังกดั จำนวน ๕๗ แหง่ ๙. ผนู้ เิ ทศ ศน.ปญั ชลยี ์ ปราณี รับผดิ ชอบกลมุ่ งานการศึกษาพิเศษ ๑๐. ระยะเวลาการนเิ ทศ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๐ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔

ส่วนที่ ๒ ผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ผลการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดทำแผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นท่ัวไปจัดการเรยี นรวม ในสงั กดั จำนวน ๕๗ แหง่ สรปุ ผลในภาพรวม มีท้งั หมด ๓ ประเด็น แยกตามประเดน็ ได้ ดงั น้ี ประเด็นที่ ๑ จำนวนนกั เรยี นพิการเรียนรวม ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET มจี ำนวน ๕๑๘ คน จำแนกตาม ระดบั ชัน้ ดงั น้ี ๑) ระดบั ปฐมวยั มีจำนวน ๔ คน ๒) ระดบั ประถมศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ จำนวน ๑๒ คน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ จำนวน ๒๔ คน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ จำนวน ๑๑๘ คน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ จำนวน ๑๓๙ คน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ จำนวน ๑๐๗ คน และชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ จำนวน ๘๑ คน ๓) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ จำนวน ๙ คน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ จำนวน ๑๒ คน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ จำนวน ๑๒ คน ประเด็นที่ ๒ การบันทกึ ข้อมูลแผนการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในระบบโปรแกรมสารสนเทศ SET ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ได้ดำเนินการบนั ทึก IEP ครบถว้ นเป็นรายบุคคล จำนวน...๕๗....แหง่ การตรวจสอบกระบวนการขัน้ ตอนการจัดทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคล (IEP) โรงเรียนท่ัวไปจัดการเรียนรวม จำนวน ๕๗ แห่ง มจี ำนวนนกั เรยี นพิการเรียนรวม จำนวน ๕๑๘ คน ได้บันทกึ ข้อมูลการจดั ทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคล (IEP)เป็นรายบคุ คล อย่างมขี ้ันตอนตามกระบวนการ ดังน้ี ข้ันตอนที่ ๑ ขัน้ เตรียมการ - การรวบรวมขอ้ มลู (การสัมภาษณ์สอบถามข้อมูลผู้เรยี นจากผปู้ กครองและผู้ท่ี เก่ยี วข้อง,การสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รียน, การรวบรวมเอกสาร/หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วข้อง,การทำความเข้าใจระหวา่ งผ้เู รียนกบั ผ้ปู กครอง และผ้เู ก่ยี วข้อง) - การคดั กรองความพิการทางการศึกษา (การขออนุญาตจากผปู้ กครอง, การใช้แบบคดั กรอง ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร,มีผู้คัดกรองไม่น้อยกวา่ ๒ คน ทไ่ี ดร้ บั วุฒบิ ตั รการเป็นผดู้ ำเนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา) ขัน้ ตอนท่ี ๒ ขั้นจดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล -การแต่งต้ังคณะกรรมการ (การจัดทำคำสง่ั แตง่ ตั้ง คณะกรรมการจดั ทำแผนIEP ครบตามองคป์ ระกอบของประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร และสอดคล้องกบั ความต้องการ จำเป็นพิเศษของผ้เู รียน) -การตรวจสอบหรอื ประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐาน (การตรวจสอบหรอื ประเมินความสามารถของ ผู้เรียนดว้ ยรปู แบบทีห่ ลากหลายตรงตามหลกั สูตร และนำผลตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนมาวาง แผนการจัดการศกึ ษา ตรวจสอบรายการส่ิงอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษาเพ่ือ นำมาใช้ในการจดั ทำแผน IEP)-การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล(IEP) (มีการดำเนินการจดั ทำแผนIEPครบ๘ องคป์ ระกอบนำผลการประเมินความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นมาวเิ คราะห์เป็นจุดเด่น จดุ ดอ้ ย ได้สอดคล้องกบั ผลการ ประเมิน มีการนำผลการวิเคราะหจ์ ุดด้อยผ้เู รียนนำมากำหนดเป้าหมายระยะยาว ๑ ปี และนำเปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี มาวิเคราะห์เป็นจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (เปา้ หมายระยะส้ัน) ไดอ้ ย่างสอดคล้อง กบั กำนดเกณฑ์เคร่ืองมือวธิ ีการประเมินผล ได้สอดคล้องกับจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (เปา้ หมายระยะส้ัน) และมีการกำหนดความต้องการด้านส่งิ อำนวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร และความช่วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษาไดส้ อดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (เป้าหมายระยะสัน้ )

-๔- ขนั้ ตอนท่ี ๑ ขั้นเตรยี มการ ๑.๑ การรวบรวมข้อมูล ที่ สถานศกึ ษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏิบตั ิของสถานศกึ ษา มีการสมั ภาษณ์ มีการสังเกต มีการรวบรวม มีการทำความ สอบถามข้อมูล พฤตกิ รรมของ เอกสาร/ เข้าใจระหวา่ ง ผู้เรยี นจาก ผเู้ รยี น หลกั ฐานที่ ผู้เรียนกบั ผ้ปู กครองและผู้ท่ี เก่ียวข้อง ผ้ปู กครอง และ เก่ียวข้อง ผ้เู กี่ยวข้อง ๑ ชมุ ชนวดั กลางกร่ำ √ √ √√ ๒ ชมุ ชนวัดตะเคยี นงาม √ √ √√ ๓ บา้ นคลองทเุ รยี น √ √ √√ ๔ บ้านคลองบางบอ่ √ √ √√ ๕ บ้านคลองป่าไม้ √ √ √ √ ๖ บา้ นชงโค √ √√√ ๗ บา้ นชำฆ้อ √ √√√ ๘ บ้านชำสมอ √ √√√ ๙ บา้ นชมุ แสง √ √√√ ๑๐ บ้านท่าลำบิด √ √√√ ๑๑ บ้านนำ้ กร่อย √ √√√ ๑๒ บา้ นนำ้ เปน็ √ √√√ ๑๓ บ้านน้ำใส √ √√√ ๑๔ บา้ นบงึ ตะกาด √ √√√ ๑๕ บา้ นพลงตาเอย่ี ม √ √ √√ ๑๖ บา้ นมะเด่ือ √ √√√ ๑๗ บ้านมาบช้างนอน √ √ √√ ๑๘ บา้ นยางงาม √ √√√ ๑๙ บา้ นยางเอน √ √√√ ๒๐ บ้านวังหิน √ √√√ ๒๑ บ้านศรีประชา √ √√√ ๒๒ บา้ นสองสลึง √ √√√ ๒๓ บ้านสามแยกนำ้ เป็น √ √ √√ ๒๔ บา้ นหนองน้ำขุ่น √ √ √ √ ๒๕ บ้านหนองมว่ ง √ √√√ ๒๖ บา้ นห้วยทบั มอญ √ √ √√ ๒๗ บา้ นเขาชะอางครอ่ มคลอง √ √ √√ ๒๘ บา้ นเขาหนิ แท่น √ √ √ √

-๕- ท่ี สถานศกึ ษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏบิ ัติของสถานศกึ ษา มกี ารสมั ภาษณ์ มกี ารสงั เกต มกี ารรวบรวม มกี ารทำความ สอบถามข้อมลู พฤตกิ รรมของ เอกสาร/ เข้าใจระหว่าง ผู้เรียนจาก ผู้เรียน หลักฐานที่ ผเู้ รียนกับ ผ้ปู กครองและผทู้ ่ี เกย่ี วข้อง ผ้ปู กครอง และ เก่ียวข้อง ผเู้ กยี่ วข้อง ๒๙ บา้ นเจริญสขุ √ √√√ ๓๐ บ้านเนนิ สมบูรณ์ √ √ √√ ๓๑ บ้านเนินสุขสำรอง √ √ √√ ๓๒ บ้านเนินหย่อง √ √√√ ๓๓ วัดกะแส √ √√√ ๓๔ วดั คงคาวราราม √ √ √ √ ๓๕ วคั ลองชากพง √ √√√ ๓๖ วดั ถนนกะเพรา √ √ √ √ ๓๗ วดั ท่ากง √ √√√ ๓๘ วัดทงุ่ ควายกนิ √ √√√ ๓๙ วดั บ้านนา √ √√√ ๔๐ วัดบนุ นาค √ √√√ ๔๑ วัดปากนำ้ พังราด √ √ √√ ๔๒ วัดปา่ ยุบ √ √√√ ๔๓ วัดพลงช้างเผือก √ √ √ √ ๔๔ วดั พลงไสว √ √√√ ๔๕ วดั มงคลวฒุ าวาส √ √ √√ ๔๖ วัดวังหวา้ √ √√√ ๔๗ วัดสันตวิ ัน √ √√√ ๔๘ วดั สารนารถธรรมาราม √ √ √√ ๔๙ วดั สขุ ไพรวัน √ √√√ ๕๐ วดั หนองกะพ้อ √ √√√ ๕๑ วัดหนองกนั เกรา √ √ √√ ๕๒ วัดเกาะลอย √ √√√ ๕๓ วัดเนนิ ทราย √ √√√ ๕๔ วัดเนินยาง √ √√√ ๕๕ วัดเนนิ เขาดิน √ √√√ ๕๖ วัดโพธ์ทิ อง √ √√√ ๕๗ ไทยรฐั วทิ ยา ๔๓ √ √ √√

-๖- ๑.๒ การคัดกรองประเภทความพกิ ารทางการศกึ ษา ที่ สถานศกึ ษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏิบตั ขิ องสถานศึกษา ๑ ชุมชนวัดกลางกรำ่ มีการขออนุญาต มีการใช้แบบ มีผูค้ ดั กรองไมน่ ้อยกว่า ๒ คน ๒ ชุมชนวดั ตะเคยี นงาม ผ้ปู กครอง คดั กรองของ ทีไ่ ด้รบั วุฒิบตั รการเปน็ ๓ บ้านคลองทุเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ ๔ บา้ นคลองบางบอ่ √ ผดู้ ำเนนิ การคัดกรองคนพกิ าร ๕ บ้านคลองปา่ ไม้ √ √ ทางการศึกษา ๖ บ้านชงโค √ √ √ ๗ บ้านชำฆอ้ √ √ √ ๘ บ้านชำสมอ √ √ √ ๙ บ้านชมุ แสง √ √ √ ๑๐ บา้ นท่าลำบดิ √ √ √ ๑๑ บ้านน้ำกร่อย √ √ √ ๑๒ บ้านนำ้ เป็น √ √ √ ๑๓ บา้ นน้ำใส √ √ √ ๑๔ บ้านบงึ ตะกาด √ √ √ ๑๕ บา้ นพลงตาเอย่ี ม √ √ √ ๑๖ บา้ นมะเดื่อ √ √ √ ๑๗ บา้ นมาบชา้ งนอน √ √ √ ๑๘ บา้ นยางงาม √ √ √ ๑๙ บา้ นยางเอน √ √ √ ๒๐ บ้านวังหิน √ √ √ ๒๑ บ้านศรีประชา √ √ √ ๒๒ บ้านสองสลึง √ √ √ ๒๓ บ้านสามแยกนำ้ เปน็ √ √ √ ๒๔ บ้านหนองนำ้ ขุ่น √ √ √ ๒๕ บ้านหนองมว่ ง √ √ √ ๒๖ บา้ นหว้ ยทับมอญ √ √ √ ๒๗ บา้ นเขาชะอางครอ่ มคลอง √ √ √ ๒๘ บ้านเขาหินแท่น √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

-๗- ท่ี สถานศกึ ษา ประเด็นการพิจารณา/การปฏบิ ัติของสถานศกึ ษา ๒๙ บ้านเจริญสขุ มกี ารขออนญุ าต มกี ารใช้แบบ มผี ู้คัดกรองไม่น้อยกว่า ๒ คน ๓๐ บ้านเนินสมบูรณ์ ๓๑ บ้านเนินสขุ สำรอง ผ้ปู กครอง คัดกรองของ ทไ่ี ด้รบั วฒุ ิบตั รการเปน็ ๓๒ บ้านเนนิ หย่อง ๓๓ วดั กะแส กระทรวงศกึ ษาธิการ ผดู้ ำเนนิ การคดั กรองคนพกิ าร ๓๔ วัดคงคาวราราม ๓๕ วัคลองชากพง ทางการศึกษา ๓๖ วัดถนนกะเพรา ๓๗ วัดทา่ กง √√ √ ๓๘ วัดทงุ่ ควายกิน ๓๙ วัดบ้านนา √√ √ ๔๐ วัดบนุ นาค ๔๑ วัดปากน้ำพังราด √√ √ ๔๒ วัดป่ายุบ ๔๓ วัดพลงช้างเผือก √√ √ ๔๔ วัดพลงไสว ๔๕ วัดมงคลวุฒาวาส √√ √ ๔๖ วดั วังหว้า ๔๗ วัดสนั ตวิ นั √√ √ ๔๘ วัดสารนารถธรรมาราม ๔๙ วดั สขุ ไพรวัน √√ √ ๕๐ วดั หนองกะพ้อ ๕๑ วัดหนองกนั เกรา √√ √ ๕๒ วดั เกาะลอย ๕๓ วดั เนินทราย √√ √ ๕๔ วดั เนินยาง ๕๕ วัดเนนิ เขาดิน √√ √ ๕๖ วัดโพธิ์ทอง ๕๗ ไทยรฐั วทิ ยา ๔๓ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √ √√ √

-๘- ขั้นตอนที่ ๒ ขัน้ จดั ทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล ๒.๑ การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ท่ี สถานศกึ ษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏบิ ัติของสถานศึกษา มกี ารจัดทำคำสัง่ มกี ารแต่งต้ัง มกี ารแต่งตั้งคณะกรรมการใน แต่งต้งั คณะกรรมการ คณะกรรมการจัดทำ การจัดทำแผนIEPไดส้ อดคลอ้ ง จดั ทำแผนIEPของ แผนIEPครบตาม กับความต้องการจำเป็นพเิ ศษ สถานศึกษา องค์ประกอบของ ของผู้เรียน ประกาศกระทรวงฯ ๑ ชุมชนวดั กลางกรำ่ √ √ √ ๒ ชุมชนวดั ตะเคยี นงาม √ √ √ ๓ บ้านคลองทเุ รยี น √ √ √ ๔ บา้ นคลองบางบ่อ √ √ √ ๕ บา้ นคลองปา่ ไม้ √ √ √ ๖ บา้ นชงโค √√ √ ๗ บา้ นชำฆ้อ √√ √ ๘ บา้ นชำสมอ √√ √ ๙ บา้ นชุมแสง √√ √ ๑๐ บ้านทา่ ลำบิด √√ √ ๑๑ บ้านน้ำกร่อย √√ √ ๑๒ บา้ นน้ำเปน็ √√ √ ๑๓ บา้ นน้ำใส √√ √ ๑๔ บา้ นบงึ ตะกาด √ √ √ ๑๕ บา้ นพลงตาเอี่ยม √ √ √ ๑๖ บา้ นมะเด่ือ √√ √ ๑๗ บ้านมาบช้างนอน √ √ √ ๑๘ บ้านยางงาม √√ √ ๑๙ บา้ นยางเอน √√ √ ๒๐ บ้านวงั หิน √√ √ ๒๑ บา้ นศรีประชา √ √ √ ๒๒ บา้ นสองสลงึ √√ √ ๒๓ บา้ นสามแยกนำ้ เปน็ √ √ √ ๒๔ บ้านหนองนำ้ ขุ่น √ √ √ ๒๕ บา้ นหนองมว่ ง √ √ √ ๒๖ บา้ นห้วยทบั มอญ √ √ √ ๒๗ บ้านเขาชะอางคร่อมคลอง √ √ √ ๒๘ บ้านเขาหินแท่น √ √ √

-๙- ท่ี สถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา/การปฏบิ ัติของสถานศึกษา มกี ารจดั ทำคำสัง่ มีการแตง่ ตัง้ มีการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการใน แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ คณะกรรมการจัดทำ การจดั ทำแผนIEPได้ จัดทำแผนIEPของ แผนIEPครบตาม สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ สถานศกึ ษา องค์ประกอบของ จำเป็นพเิ ศษของผเู้ รียน ประกาศกระทรวงฯ ๒๙ บา้ นเจรญิ สขุ √√ √ ๓๐ บ้านเนินสมบรู ณ์ √ √ √ ๓๑ บ้านเนินสุขสำรอง √ √ √ ๓๒ บ้านเนนิ หย่อง √ √ √ ๓๓ วดั กะแส √√ √ ๓๔ วัดคงคาวราราม √ √ √ ๓๕ วคั ลองชากพง √ √ √ ๓๖ วดั ถนนกะเพรา √ √ √ ๓๗ วัดท่ากง √√ √ ๓๘ วัดทุ่งควายกนิ √ √ √ ๓๙ วัดบา้ นนา √√ √ ๔๐ วัดบุนนาค √√ √ ๔๑ วัดปากน้ำพังราด √ √ √ ๔๒ วัดป่ายุบ √√ √ ๔๓ วัดพลงชา้ งเผือก √ √ √ ๔๔ วดั พลงไสว √√ √ ๔๕ วดั มงคลวุฒาวาส √ √ √ ๔๖ วดั วังหวา้ √√ √ ๔๗ วัดสนั ตวิ ัน √√ √ ๔๘ วดั สารนารถธรรมาราม √ √ √ ๔๙ วดั สขุ ไพรวนั √√ √ ๕๐ วดั หนองกะพ้อ √ √ √ ๕๑ วัดหนองกนั เกรา √ √ √ ๕๒ วัดเกาะลอย √√ √ ๕๓ วัดเนินทราย √√ √ ๕๔ วดั เนินยาง √√ √ ๕๕ วัดเนินเขาดิน √√ √ ๕๖ วัดโพธิ์ทอง √√ √ ๕๗ ไทยรัฐวิทยา ๔๓ √ √ √

-๑๐- ๒.๒ การตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพน้ื ฐาน ที่ สถานศึกษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏิบัตขิ องสถานศกึ ษา มกี ารตรวจสอบ มีการตรวจสอบ นำผลการ มีการประเมิน มกี ารตรวจสอบรายการ หรอื ประเมิน หรือประเมิน ตรวจสอบหรือ ส่ิงแวดลอ้ มของ สงิ่ อำนวยความสะดวก ความสามารถ ความสามารถ ประเมิน ผู้เรียนเพอ่ื นำมา สอื่ บริการ และความ ของผเู้ รียนด้วย พ้ืนฐานด้านการ ความสามารถ วางแผนการ ชว่ ยเหลืออน่ื ใดทาง รูปแบบที่ เรียนรู้ของผ้เู รยี น พนื้ ฐานของ จัดทำIEP การศกึ ษา เพอื่ นำมา หลากหลาย ตามหลกั สตู ร ผ้เู รียนมา ใชใ้ นการจดั ทำแผนIEP วางแผนการ จัดการศกึ ษา ๑ ชมุ ชนวดั กลางกรำ่ √ √ √ √ √ ๒ ชมุ ชนวดั ตะเคียนงาม √ √ √√ √ ๓ บ้านคลองทุเรียน √ √ √√ √ ๔ บ้านคลองบางบอ่ √ √ √ √ √ ๕ บ้านคลองปา่ ไม้ √ √ √√ √ ๖ บ้านชงโค √ √ √√ √ ๗ บ้านชำฆอ้ √ √ √√ √ ๘ บ้านชำสมอ √ √ √√ √ ๙ บา้ นชมุ แสง √ √ √√ √ ๑๐ บา้ นท่าลำบดิ √ √ √√ √ ๑๑ บา้ นนำ้ กรอ่ ย √ √ √√ √ ๑๒ บา้ นน้ำเป็น √ √ √√ √ ๑๓ บา้ นน้ำใส √ √ √√ √ ๑๔ บ้านบงึ ตะกาด √ √ √√ √ ๑๕ บา้ นพลงตาเอีย่ ม √ √ √√ √ ๑๖ บ้านมะเด่ือ √ √ √√ √ ๑๗ บา้ นมาบช้างนอน √ √ √ √ √ ๑๘ บ้านยางงาม √ √ √√ √ ๑๙ บ้านยางเอน √ √ √√ √ ๒๐ บ้านวงั หนิ √ √ √√ √ ๒๑ บ้านศรีประชา √ √ √√ √ ๒๒ บ้านสองสลึง √ √ √√ √ ๒๓ บ้านสามแยกนำ้ เปน็ √ √ √√ √ ๒๔ บ้านหนองน้ำขุ่น √ √ √√ √ ๒๕ บ้านหนองมว่ ง √ √ √√ √ ๒๖ บ้านห้วยทับมอญ √ √ √ √ √ ๒๗ บา้ นเขาชะอางคร่อมคลอง √ √ √√ √ ๒๘ บ้านเขาหินแท่น √ √ √√ √

-๑๑- ท่ี สถานศึกษา ประเดน็ การพจิ ารณา/การปฏิบัติของสถานศึกษา มีการตรวจสอบ มีการตรวจสอบ นำผลการ มีการประเมนิ มีการตรวจสอบรายการ หรือประเมนิ หรอื ประเมนิ ตรวจสอบหรือ สงิ่ แวดลอ้ มของ สงิ่ อำนวยความสะดวก ความสามารถ ความสามารถ ประเมนิ ผเู้ รยี นเพ่ือนำมา สือ่ บรกิ าร และความ ของผู้เรยี นดว้ ย พนื้ ฐานดา้ นการ ความสามารถ วางแผนการ ช่วยเหลอื อืน่ ใดทาง รปู แบบที่ เรียนร้ขู องผูเ้ รียน พนื้ ฐานของ จัดทำIEP การศึกษา เพอ่ื นำมา หลากหลาย ตามหลกั สตู ร ผู้เรยี นมา ใชใ้ นการจัดทำแผนIEP วางแผนการ จัดการศึกษา ๒๙ บา้ นเจริญสขุ √ √ √√ √ ๓๐ บ้านเนนิ สมบูรณ์ √ √ √√ √ ๓๑ บา้ นเนินสขุ สำรอง √ √ √ √ √ ๓๒ บ้านเนนิ หย่อง √ √ √√ √ ๓๓ วัดกะแส √ √ √√ √ ๓๔ วัดคงคาวราราม √ √ √√ √ ๓๕ วคั ลองชากพง √ √ √√ √ ๓๖ วัดถนนกะเพรา √ √ √√ √ ๓๗ วัดทา่ กง √ √ √√ √ ๓๘ วัดทุ่งควายกนิ √ √ √√ √ ๓๙ วัดบ้านนา √ √ √√ √ ๔๐ วัดบนุ นาค √ √ √√ √ ๔๑ วดั ปากนำ้ พังราด √ √ √√ √ ๔๒ วดั ป่ายุบ √ √ √√ √ ๔๓ วดั พลงชา้ งเผอื ก √ √ √√ √ ๔๔ วดั พลงไสว √ √ √√ √ ๔๕ วัดมงคลวุฒาวาส √ √ √ √ √ ๔๖ วัดวงั หว้า √ √ √√ √ ๔๗ วดั สันตวิ นั √ √ √√ √ ๔๘ วัดสารนารถธรรมาราม √ √ √√ √ ๔๙ วัดสขุ ไพรวนั √ √ √√ √ ๕๐ วดั หนองกะพ้อ √ √ √√ √ ๕๑ วัดหนองกันเกรา √ √ √√ √ ๕๒ วดั เกาะลอย √ √ √√ √ ๕๓ วดั เนนิ ทราย √ √ √√ √ ๕๔ วดั เนนิ ยาง √ √ √√ √ ๕๕ วัดเนนิ เขาดิน √ √ √√ √ ๕๖ วดั โพธ์ทิ อง √ √ √√ √ ๕๗ ไทยรฐั วทิ ยา ๔๓ √ √ √√ √

-๑๒- ๒.๓ การจัดทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP) ที่ สถานศกึ ษา ประเด็นการพจิ ารณา/การปฏิบัตขิ องสถานศกึ ษา มีการ นำผลการ มกี ารนำผลการ มีการนำเป้าหมาย กำหนดเกณฑ์ มีการกำหนดความ ดำเนินการ ประเมิน วิเคราะห์จุดดอ้ ย ระยะยาว๑ปี เครอื่ งมอื วธิ กี าร ตอ้ งการด้านส่ิง อำนวยความสะดวก จดั ทำแผนIEP ความสามารถ ผ้เู รยี นนำมา มาวิเคราะห์ ประเมินผลได้ สอื่ บรกิ าร และความ ครบ๘ พ้ืนฐานของ กำหนดเป้าหมาย เป็นจดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั ช่วยเหลืออืน่ ใดทาง ผู้เรยี นมา ระยะยาว ๑ ปี เชิงพฤติกรรม จุดประสงค์เชิง การศกึ ษาได้ องคป์ ระกอบ วเิ คราะหเ์ ป็น พฤตกิ รรม สอดคล้องกับ จุดเดน่ จดุ ด้อย (เป้าหมาย (เป้าหมาย จดุ ประสงค์เ ไดส้ อดคลอ้ งกับ ระยะส้ัน) ชิงพฤติกรรม ได้อย่างสอดคลอ้ ง ระยะสนั้ ) (เป้าหมายระยะสัน้ ) ผลการประเมิน √ ๑ ชุมชนวัดกลางกรำ่ √ √ √ √√ ๒ ชุมชนวัดตะเคยี นงาม √ √ √ √√ √ ๓ บา้ นคลองทเุ รยี น √ √ √ √√ √ ๔ บ้านคลองบางบอ่ √ √ √ √√ ๕ บ้านคลองปา่ ไม้ √ √ √ √√ √ ๖ บ้านชงโค √ √ √ √√ ๗ บ้านชำฆ้อ √ √ √ √√ √ ๘ บา้ นชำสมอ √ √ √ √√ ๙ บ้านชมุ แสง √ √ √ √√ √ ๑๐ บา้ นท่าลำบดิ √ √ √ √√ ๑๑ บา้ นนำ้ กรอ่ ย √ √ √ √√ √ ๑๒ บา้ นนำ้ เปน็ √ √ √ √√ ๑๓ บ้านนำ้ ใส √ √ √ √√ √ ๑๔ บ้านบงึ ตะกาด √ √ √ √√ √ ๑๕ บา้ นพลงตาเอยี่ ม √ √ √ √√ ๑๖ บ้านมะเด่ือ √ √ √ √√ √ ๑๗ บา้ นมาบชา้ งนอน √ √ √ √√ ๑๘ บ้านยางงาม √ √ √ √√ √ ๑๙ บา้ นยางเอน √ √ √ √√ ๒๐ บ้านวงั หิน √ √ √ √√ √ ๒๑ บ้านศรปี ระชา √ √ √ √√ ๒๒ บา้ นสองสลึง √ √ √ √√ √ ๒๓ บ้านสามแยกนำ้ เปน็ √ √ √ √√ ๒๔ บา้ นหนองน้ำขุ่น √ √ √ √√ √ ๒๕ บ้านหนองมว่ ง √ √ √ √√ √ ๒๖ บา้ นห้วยทับมอญ √ √ √ √√ ๒๗ บา้ นเขาชะอางคร่อมคลอง √ √ √ √√ √ ๒๘ บ้านเขาหนิ แท่น √ √ √ √√ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

-๑๓- ท่ี สถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา/การปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา มกี าร นำผลการ มกี ารนำผลการ มกี ารนำ กำหนดเกณฑ์ มกี ารกำหนดความ ดำเนินการ ประเมนิ วิเคราะหจ์ ดุ ด้อย เป้าหมายระยะ เครือ่ งมอื วิธกี าร ตอ้ งการด้านส่ิง จัดทำแผนIEP ความสามารถ ประเมนิ ผลได้ อำนวยความสะดวก พ้นื ฐานของ ผู้เรียนนำมา ยาว๑ปี สอดคล้องกบั ส่ือ บรกิ าร และความ ครบ๘ ผ้เู รยี นมา กำหนดเป้าหมาย มาวิเคราะห์ จดุ ประสงค์เชิง ช่วยเหลืออนื่ ใดทาง องคป์ ระกอบ วิเคราะหเ์ ป็น ระยะยาว ๑ ปี เปน็ จดุ ประสงค์ การศกึ ษาได้ เชิงพฤติกรรม พฤติกรรม จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย สอดคลอ้ งกบั ไดส้ อดคล้องกบั (เป้าหมาย (เปา้ หมาย จดุ ประสงค์เ ผลการประเมนิ ระยะสัน้ ) ระยะสนั้ ) ชงิ พฤตกิ รรม ได้อย่าง (เป้าหมายระยะส้ัน) สอดคล้อง ๒๙ บา้ นเจริญสุข √√ √ √ √ √ ๓๐ บา้ นเนินสมบรู ณ์ √√ √ √ √ √ ๓๑ บ้านเนินสขุ สำรอง √ √ √ √ √ √ ๓๒ บา้ นเนนิ หยอ่ ง √√ √ √ √ √ ๓๓ วดั กะแส √√ √ √ √ √ ๓๔ วดั คงคาวราราม √√ √ √ √ √ ๓๕ วคั ลองชากพง √√ √ √ √ √ ๓๖ วดั ถนนกะเพรา √√ √ √ √ √ ๓๗ วดั ทา่ กง √√ √ √ √ √ ๓๘ วัดท่งุ ควายกนิ √√ √ √ √ √ ๓๙ วดั บ้านนา √√ √ √ √ √ ๔๐ วดั บุนนาค √√ √ √ √ √ ๔๑ วดั ปากนำ้ พงั ราด √√ √ √ √ √ ๔๒ วดั ปา่ ยุบ √√ √ √ √ √ ๔๓ วดั พลงช้างเผือก √√ √ √ √ √ ๔๔ วดั พลงไสว √√ √ √ √ √ ๔๕ วดั มงคลวฒุ าวาส √√ √ √ √ √ ๔๖ วดั วงั หว้า √√ √ √ √ √ ๔๗ วัดสนั ติวัน √√ √ √ √ √ ๔๘ วัดสารนารถธรรมาราม √ √ √ √ √ √ ๔๙ วดั สุขไพรวัน √√ √ √ √ √ ๕๐ วัดหนองกะพ้อ √√ √ √ √ √ ๕๑ วัดหนองกนั เกรา √√ √ √ √ √ ๕๒ วัดเกาะลอย √√ √ √ √ √ ๕๓ วัดเนินทราย √√ √ √ √ √ ๕๔ วดั เนนิ ยาง √√ √ √ √ √ ๕๕ วดั เนินเขาดนิ √√ √ √ √ √ ๕๖ วัดโพธิ์ทอง √√ √ √ √ √ ๕๗ ไทยรัฐวิทยา ๔๓ √√ √ √ √ √

-๑๔- ตอนท่ี ๓ ๓.๑ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเด็กท่ีมคี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ที่ สถานศกึ ษา On Site รปู แบบการจัดการเรียนการสอน On Hand ๑ ชุมชนวัดกลางกร่ำ เรียนที่ เรียนโดยใช้ โรงเรียน On Air Online On Demand แบบฝกึ หัด/ เรยี นโดย เรียนผา่ น เรยี นโดย DLTV Internet Application ใบงาน √ ๒ ชุมชนวัดตะเคียนงาม √ ๓ บ้านคลองทเุ รียน √ ๔ บา้ นคลองบางบ่อ √ ๕ บา้ นคลองป่าไม้ √ ๖ บา้ นชงโค √ ๗ บ้านชำฆอ้ √ ๘ บ้านชำสมอ √ ๙ บา้ นชุมแสง √ ๑๐ บ้านทา่ ลำบิด √ ๑๑ บ้านน้ำกร่อย √ ๑๒ บ้านน้ำเป็น √ ๑๓ บา้ นน้ำใส √ ๑๔ บา้ นบงึ ตะกาด √ ๑๕ บ้านพลงตาเอยี่ ม √ ๑๖ บ้านมะเดื่อ √ ๑๗ บ้านมาบช้างนอน √ ๑๘ บ้านยางงาม √ ๑๙ บ้านยางเอน √ ๒๐ บ้านวงั หิน √ ๒๑ บ้านศรปี ระชา √ ๒๒ บ้านสองสลึง √ ๒๓ บ้านสามแยกน้ำเป็น √ ๒๔ บ้านหนองนำ้ ขุ่น √ ๒๕ บ้านหนองมว่ ง √ ๒๖ บา้ นห้วยทับมอญ √ ๒๗ บา้ นเขาชะอางครอ่ มคลอง √ ๒๘ บา้ นเขาหนิ แทน่ √

-๑๕- ที่ สถานศกึ ษา รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน On Hand On Site เรยี นโดยใช้ เรียนท่ี On Air Online On Demand แบบฝึกหัด/ โรงเรยี น เรยี นโดย เรยี นผ่าน เรยี นโดย DLTV Internet Application ใบงาน ๒๙ บา้ นเจริญสขุ √ ๓๐ บ้านเนนิ สมบูรณ์ √ ๓๑ บ้านเนินสุขสำรอง √ ๓๒ บา้ นเนนิ หยอ่ ง √ ๓๓ วดั กะแส √ ๓๔ วดั คงคาวราราม √ ๓๕ วคั ลองชากพง √ ๓๖ วดั ถนนกะเพรา √ ๓๗ วดั ท่ากง √ ๓๘ วัดทงุ่ ควายกิน √ ๓๙ วัดบา้ นนา √ ๔๐ วัดบนุ นาค √ ๔๑ วดั ปากนำ้ พงั ราด √ ๔๒ วดั ป่ายุบ √ ๔๓ วัดพลงชา้ งเผอื ก √ ๔๔ วัดพลงไสว √ ๔๕ วัดมงคลวฒุ าวาส √ ๔๖ วัดวงั หวา้ √ ๔๗ วดั สันติวัน √ ๔๘ วัดสารนารถธรรมาราม √ ๔๙ วัดสขุ ไพรวัน √ ๕๐ วัดหนองกะพ้อ √ ๕๑ วดั หนองกนั เกรา √ ๕๒ วดั เกาะลอย √ ๕๓ วัดเนนิ ทราย √ ๕๔ วดั เนนิ ยาง √ ๕๕ วัดเนนิ เขาดนิ √ ๕๖ วัดโพธิ์ทอง √ ๕๗ ไทยรฐั วทิ ยา ๔๓ √

-๑๖- ๓.๒ ปญั หา/อุปสรรค ของการจัดการเรียนการสอนเด็กที่มคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สถานศึกษา ปัญหา/อุปสรรค การจัดการเรยี นการสอนเดก็ ทมี่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ ที่ ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ด้านครู ด้านเด็ก ดา้ นผปู้ กครอง ๑ ชุมชนวดั กลางกรำ่ ไม่สามารถสอนเด็กได้ตรงตาม อยากมาโรงเรยี น เรยี นทีบ่ า้ น ต้องทำงานไม่มีเวลามา เปา้ หมายทว่ี างไว้ ไม่รเู้ ร่ือง ไมเ่ ข้าใจ คอยสอน ๒. ชุมชนวัดตะเคียนงาม สอนไมเ่ ป็นไปตาม ไม่มสี มาธจิ ดจ่อในการเรียนรู้ ประกอบอาชีพรับจ้างไม่ วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย ดว้ ยตนเอง มีเวลาแน่นอน ๓. บ้านคลองทเุ รยี น กงั วลกลัวสอนเดก็ ไม่ทนั บางคนไม่มีโทรศัพท์ ต้องทำงานนอกบา้ น ๔ บา้ นคลองบางบ่อ - เด็กบางคนไม่มโี ทรศัพท์ ไมส่ ามารถสอนเพ่ิมเติม ไม่มีความพร้อมในการเรยี น ได้ ๕ บา้ นคลองปา่ ไม้ สอนไมบ่ รรลเุ ป้าหมายท่ตี งั้ ไว้ ไม่มีอปุ กรณส์ ื่อสาร กังวลกลวั เรยี นไม่ทัน ๖ บ้านชงโค ไม่ไดส้ อนแบบตัวต่อตวั ไมม่ ีความพร้อมในการเรียน อาชพี รับจ้างไมม่ ีเวลา ๗ บา้ นชำฆอ้ ไมส่ ามารถตดิ ต่อสือ่ สารหรอื ไมม่ สี มาธใิ นการทำงาน ไม่ ภาระงานเยอะส่วนใหญ่ เหน็ การปฏบิ ตั ิงานของเด็ก เข้าใจเน้อื หา ไม่ขยนั ในการ ฝากบตั รหลานไว้กบั ปู่ เมอ่ื อยทู่ ่บี า้ น การสอนไป เรียน ยา่ ตา ยาย หรืออยูเ่ อง เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ ตามลำพงั ๘ บ้านชำสมอ ติดตอ่ เด็กไมไ่ ด/้ ไม่รบั ใบงาน ไม่มีอุปกรณ์สือ่ สาร งานเยอะสอนไมไ่ ด้ ๙ บ้านชุมแสง ไม่สามารถจัดกจิ กรรมได้ตาม ไม่เขา้ ใจในภาระงานที่ไดร้ ับ ไม่สามารถดูแลบุตร เป้าหมายทว่ี างไว้ มอบหมาย หลานได้อย่างเตม็ ที่ เน่อื งจากทำงานนอก บ้านและกลับมืด ๑๐ บา้ นท่าลำบิด ไมส่ ามารถจดั กจิ กรรมได้ตาม ไม่สามารถติดตามพฒั นาการ เครยี ด เหนอ่ื ยลา้ ไม่ เปา้ หมายที่วางไว้เนื่องจาก ของเด็กได้เต็มท่ี เกดิ ความ สามารถสอนใหเ้ ข้าใจได้ นกั เรยี นมขี ้อจำกัดในการ เบอ่ื หน่ายไม่อยากเรียน มภี าระเยอะต้องทำงาน เรียนรู้ เช่น แอลดี ต้องได้รับ ทำงานไม่เสร็จไมส่ ง่ งาน นอกบา้ น การอธบิ ายซำ้ ๆ ๑๑ บา้ นนำ้ กรอ่ ย ติดต่อเด็กไมไ่ ด้ ผปู้ กครองไม่ ไม่เข้าในในแบบฝึกหัด/ใบงาน หาเลยี้ งชีพไม่ค่อยมีเวลา กลา้ พาบุตรหลานมารบั ใบงาน ไมท่ ำงานท่ีรับมอบหมาย สอนบตุ รหลาน เพราะกลัวตดิ โควดิ ๑๒ บ้านนำ้ เป็น กิจกรรมไม่เป็นไปตามกำหนด ไมท่ ำงานแต่อยากมาโรงเรียน กังวล/ไม่มีเวลาเข้มงวด ๑๓ บ้านนำ้ ใส สอนแบบย้ำซำ้ ทวนไม่ได้ เบอ่ื หน่าย ไม่เขา้ ใจใบงาน มีภาะงานนอกบา้ นเยอะ ๑๔ บา้ นบงึ ตะกาด ไม่สามารถจดั กจิ กรรมได้ตาม ไม่เขา้ ในในภาระงาน ทำงาน มงี านนอกบ้านไมม่ เี วลา เป้าหมาย ไม่เสรจ็ เบื่อหน่าย ดูแลบุตรหลาน

-๑๗- ท่ี สถานศึกษา ปัญหา/อุปสรรค การจดั การเรียนการสอนเด็กทมี่ ีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ๑๕ บ้านพลงตาเอี่ยม ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๑๖ บ้านมะเด่ือ ๑๗ บา้ นมาบชา้ งนอน ดา้ นครู ดา้ นเดก็ ดา้ นผู้ปกครอง ๑๘ บ้านยางงาม ๑๙ บ้านยางเอน ไม่สามารถสอนตัวต่อตวั ได้ ไม่เข้าใจในงานท่ีไดร้ ับ กังวล เนอ่ื งจากมงี านท่ี ๒๐ บ้านวังหนิ เพราะเด็กต้องได้รับการสอน มอบหมายให้ไปทำ ทำให้ไม่ ตอ้ งทำประจำทุกวนั ๒๑ บา้ นศรปี ระชา ซำ้ ๆ เน้นย้ำอยูเ่ สมอ อยากทำงาน ไมม่ เี วลามาคอยสอน ๒๒ บา้ นสองสลึง ๒๓ บ้านสามแยกน้ำเป็น จัดการเรียนการสอนได้ไม่ครบ ไม่ค่อยทำงานส่ง เนอื่ งจากไม่ ประกอบอาชีพรับจา้ ง สาระการเรียนรู้ ค่อยเข้าใจในใบงานที่ไดร้ บั เวลาไม่แน่นอน ไม่มี เวลาสอนบุตรหลาน ตดิ ตามตัวเดก็ ไม่ได้ เนอื่ งจาก สว่ นใหญไ่ ปทำงานกบั พ่อแม่ สว่ นใหญ่เป็นตา่ งชาติ เด็กไปกับพ่อแม่ ไมค่ ่อยไดท้ ำงาน และไมส่ ง่ สอนบตุ รหลานไม่ได้ งานท่ไี ด้รับมอบหมาย ไดม้ วี างแผนการสอนแต่ไม่ อยากมาโรงเรยี นมากว่าเรยี น มีงานนอกบ้านไมม่ เี วลา บรรลุเป้าหมายทว่ี างไว้ ท่ีบา้ น เพราะไมเ่ ขา้ ใจ มีความยากลำบากในการจดั ไม่เขา้ ใจในเน้ือหาเอกสาร มีภาระท่ีต้องออกไป กิจกรรมการเรียนรู้ ไม่ ภาระงานที่ครูมอบหมายให้ไป ทำงานนอกบา้ น บาง สามารถจดั ได้ตามเป้าหมายท่ี เรยี นรทู้ บี่ า้ น จงึ เกิดความเบอ่ื ครอบครัวกว่าจะสอน วางไว้ ไมส่ ามารถพฒั นาได้ หนา่ ย ไมอ่ ยากเรียน สง่ งาน บุตรหลานไดต้ ้องรอ เตม็ ตามศกั ยภาพเด็ก ไมต่ รงตามกำหนด วันหยดุ เกดิ ความยากลำบากในการ ไม่เข้าใจเนอ้ื หาทไ่ี ดร้ ับ เครยี ด ไมส่ บายใจกลวั ดูแลอย่างใกลช้ ิดเป็น มอบหมาย ทำงานไม่ทนั เพื่อน บตุ รหลานของตนจะ รายบคุ คลเนื่องจากอยู่คนละท่ี อยากมาโรงเรียนมากกวา่ เรยี นไมท่ ันเพือ่ น มีงาน และสอนรวมเป็นหมจู่ ึงยากแก่ เรียนทบี่ า้ น นอกบ้านเยอะ การเข้าใจใหค้ ำปรึกษา ระหว่างเรียน กังวลในตัวเด็กหากยังอ่านไม่ เกดิ ปญั หาในการเรยี นไม่มีครู ขาดการดูแลเนื่องจาก ออก เขียนไม่ได้ อธิบายคอยติดตามเปน็ ระยะ ตอ้ งหารายได้เลยี้ งชีพ ครูจัดทำใบงาน แบบทดสอบ เปน็ การเรียนออนไลน์ ไม่ ต้องทำงานหารายได้ สื่อการเรยี นรทู้ ี่เฉพาะสำหรบั สามารถติดตามพฒั นาการ ดูแลบตุ รหลานไม่ทวั่ ถึง เด็กกล่มุ น้ีไม่ครบทุกสาระ ของเด็กได้เต็มท่ี ไมเ่ ต็มท่ี ครูไม่สามารถอธิบายให้เด็ก ไม่เขา้ ใจในแบบฝึกหดั ไมม่ ีเวลา ไมส่ นใจเด็ก บางคนเขา้ ใจในเนื้อหา (วิชาคณิตศาสตร)์ เนื่องจากทำงานงาน แบบฝกึ หัดทีใ่ หเกลบั ไปทำที่ นอกบา้ น บ้านได้

ที่ สถานศึกษา -๑๘- ๒๔ บา้ นหนองนำ้ ขุ่น ปัญหา/อุปสรรค การจัดการเรียนการสอนเดก็ ที่มคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒๕ บา้ นหนองมว่ ง ๒๖ บา้ นหว้ ยทับมอญ ด้านครู ด้านเด็ก ดา้ นผปู้ กครอง ๒๗ บ้านเขาชะอางครอ่ มคลอง ๒๘ บ้านเขาหนิ แท่น จัดกจิ กรรมไม่ได้ตาม ไมเ่ ขา้ ใจเนื้อหา แบบฝึกหัดท่ี ต้องหารายได้ ไม่มีเวลา ๒๙ บ้านเจริญสุข เปา้ หมายที่กำหนด ครูมอบหมาย ดูแลบตุ รหลานให้ทำงาน ๓๐ บ้านเนนิ สขุ สำรอง สง่ ครไู ด้ ๓๑ บ้านเนนิ สขุ สมบรู ณ์ ๓๒ บา้ นเนินหยอ่ ง ต้องติดตามเด็กเป็นระยะ ไปทำงานกับพอ่ แม่ ไม่ได้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ต่างชาติไม่ ๓๓ วัดกะแส ทำให้การเรียนไมต่ ่อเนื่อง เรยี นตามครูที่มอบหมาย สามารถสอนได้ ๓๔ วัดคงคาวราราม ๓๕ วัดคลองชากพง ตอ้ งคอยตามเดก็ ตลอดเวลา ไม่ค่อยทำงานสง่ ตามกำหนด ไมม่ ีเวลาดูแลใกลช้ ดิ ๓๖ วดั ถนนกะเพรา สอนไม่เปน็ ไปตามท่กี ำหนด อยากมาโรงเรยี นมากกว่า มภี าระค่อนข้างเยอะ ๓๗ วดั ท่ากง ๓๘ วดั ทุง่ ควายกิน เนอื่ งจากเรียนรู้แบบ ไมม่ ีใครคอยดแู ล ขาดความ ไมม่ เี วลาดแู ลบุตรหลาน ๓๙ วัดบ้านนา On Hand มขี ้อจำกัดสำหรับ เอาใจใส่ ไมอ่ ยากเรียน มงี านรับจ้างนอกบา้ น เด็กที่อา่ นหนังสือไม่ออก ออกแบบการสอนไมค่ รบ ไมต่ ั้งใจเรียน เบื่อหนา่ ย ไมม่ เี วลาดูแลต้องรบั จ้าง ขาดความชำนาญหรือทักษะ ขาดสมาธิ ไม่มีความพรอ้ มใน ไม่สามารถสอนบตุ ร ในการจัดการเรียนรปู แบบ การเรยี น เพราะไม่มคี รูคอย หลานได้ส่วนใหญเ่ ป็น ออนไลน์ เพ่ือให้เหมาะกับการ อธิบาย คอยกระต้นุ เป็นระยะ ชาวตา่ งชาติไมเ่ ขา้ ใจ ปรับเปลย่ี นรูปแบบการสอน ภาษาไทย ตดิ ต่อประสานงานไม่ได้ ขาดการเอาใจใส่ในการทำงาน ยากจนไม่มีเวลาดแู ล เดก็ แอลดมี ขี ้อจำกัดในการ เบ่อื หนา่ ย ไม่ตั้งใจเรยี น ไม่ ไม่สบายใจ สอนบุตร เรยี น ตอ้ งได้รับการอธิบาย ทำงาน ทำงานไมเ่ สรจ็ หลานไมไ่ ด้ เกิดความวิตกกงั วลในการ ไม่ทำงานท่ีได้รับมอบหมาย เป็นต่างชาตสิ อน สอนกลวั ว่าสอนไม่ครบตาม ลกู หลานไม่ได้ หลกั สูตรทก่ี ำหนด กังวลวา่ เด็กอ่านไม่ออก ไม่ทำงานที่ได้รับมอบหมาย สอนบตุ รหลานไม่ได้ นักเรยี นไม่ไดร้ ับการเรียนรู้ ไม่สามารถทำแบบฝึกหัดหรือ มภี ารกิจมากไม่สามารถ อย่างเต็มท่ี ใบงานบางกจิ กรรมได้ อธบิ ายแบบฝกึ หัดหรือ ใบงานได้ การสอนไม่เปน็ ไปตาม เบือ่ หน่ายในการเรยี น อยาก ไมม่ ีเวลาดแู ลบุตรหลาน เปา้ หมาย มาเรียนที่โรงเรียน ต้องทำงานรบั จา้ ง การสอนไม่เป็นไปตามกำหนด ไมค่ ่อยทำงานทม่ี อบหมาย ไม่มีเวลา ภาระเยอะ ไมส่ ามารถยืดหยุ่นเวลาได้ ไม่สามารถทำแบบฝึกหัดได้ ทำงานนอกบ้าน ไม่มี เองทงั้ หมด สง่ งานไม่ทัน เวลาดแู ลหรือกวดขัน เม่อื นักเรยี นไม่เข้าใจใน ไมม่ เี คร่ืองมือส่ือสาร ไม่มีเวลาดแู ลเนื่องจาก บทเรยี นครไู มส่ ามารถอธบิ าย รบั จา้ ง ให้นกั เรยี นเขา้ ใจได้

-๑๙- ที่ สถานศกึ ษา ปญั หา/อุปสรรค การจัดการเรยี นการสอนเด็กทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๔๐ วดั บนุ นาค ด้านครู ดา้ นเด็ก ดา้ นผปู้ กครอง ๔๑ วัดปากนำ้ พังราด ๔๒ วัดป่ายุบ ไมส่ ามารถจัดกิจกรรมได้ตรง ไมไ่ ดร้ บั การฝึกฝนอย่าง สว่ นใหญ่ทำงานนอก ๔๓ วดั พลงชา้ งเผือก ตามเป้าหมาย เพียงพอในแตล่ ะวัน บา้ นทุกวนั ไม่มีวันหยุด ๔๔ วัดพลงไสว ๔๕ วัดมงคลวุฒาวาส ตอ้ งตดิ ตามเด็กตลอดวลา เบอื่ หนา่ ยในการทำใบงาน ไมม่ ีเวลากวดขนั ๔๖ วดั วังหว้า จดั กจิ กรรมไม่ครบทกุ วิชา ไม่ค่อยส่งงาน ไมช่ อบเรยี น ต้องทำงานนอกบา้ น ๔๗ วดั สนั ติวัน ๔๘ วัดสารนารถธรรมา- พบเจอนักเรยี นเฉพาะเวลา สนใจเรียนนอ้ ยลงไม่มสี มาธใิ น มภี าระงานค่อนข้าง ราม ท่มี ารบั ใบงาน การเรยี น เยอะไมม่ ีเวลาดแู ล ๔๙ วดั สุขไพรวัน จัดกจิ กรรม/ใบงาน ไมค่ รบทุก เปน็ การเรยี นออนไลน์ ไม่ ต้องชมเชยผูป้ กครองที่ ๕๐ วัดหนองกะพ้อ คอยติดตามงานให้มาส่ง ๕๑ วัดหนองกันเกรา สาระการเรยี นรู้ สามารถตดิ ตามได้ ครูตามกำหนด ๕๒ วัดเกาะลอย มีภาระงานเยอะมาก ๕๓ วัดเนินทราย ออกแบบใบงานไมค่ รอบคลมุ ไม่ทำงานตามทีไ่ ดร้ บั จากครู ไปทำงานไกลจากบ้าน ไม่มีอปุ กรณส์ ่ือสาร ไมม่ เี วลา ทำงานนอก ๕๔ วัดเนินยาง ตดิ ตามตัวเด็กค่อนข้างยาก ไม่เขา้ เรยี น ไมท่ ำแบบฝกึ หดั บ้าน ภาระเยอะ ๕๕ วัดเนนิ เขาดิน ไมพ่ ร้อมให้เรยี นแบบ ใชร้ ปู แบบการสอนแบบ ไมม่ ีอปุ กรณ์ในการเรียนแบบ ออนไลน์และไปทำงาน ๕๖ วัดโพธท์ิ อง Online พรอ้ มกนั ออนไลน์ นอกบ้านไม่มีเวลาดูแล กังวลกลัวลูกเรียนไม่ทัน ๕๗ ไทยรัฐวทิ ยา ๔๓ รูปแบบการสอนบางรปู แบบ ไมเ่ ขา้ ใจในบุตรหลาน ไม่เหมาะสมกบั นกั เรียน ต้องทำงานรับจา้ ง เหนอื่ ยล้า เครียด สอนไม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย อยากมาเรียนที่โรงเรยี น งานเยอะทำงานนอก ต้องมีครคู อยสอน แนะนำ บา้ นไม่มีเวลาสอน กังวลเรอื่ งจดั กิจกรรมไม่ครบ ไม่ค่อยทำงานส่งตามทีครูสง่ั ควบคมุ ต้องตดิ ตามเดก็ มารบั ใบงาน ไม่เขา้ ใจเนื้อหา ขาดความ ตง้ั ใจในการทำงานท่ไี ด้รับ ส่วนใหญเ่ ปน็ ตา่ งชาติ นักเรยี นที่เป็นเด็กแอลดี ต้อง มอบหมาย ทำงานนอกบ้าน ดูแล ได้รบั การสอน การอธิบาย และเขม้ งวดได้ไมเ่ ต็มที่ ซำ้ ๆ ทำให้ครูไม่สามารถ ไม่มโี ทรศัพท์มอื ถือ ไมม่ ีเวลาสอนบุตรหลาน จดั การเรยี นการสอนได้ตาม ไมอ่ ยากเรยี น ทำงานไม่เสรจ็ เปา้ หมาย ไมส่ ่งงาน น่าเบ่ือหนา่ ย ตอ้ งทำงาน ส่วนใหญอ่ ยู่ ไมส่ นใจในการทำงาน ลืมใน กบั ญาติ ไม่มเี วลาดแู ล ติดตามเด็กค่อนขา้ งยากมาก ส่งิ ครูสอน ไมส่ ามรถเข้าถึงตวั เดก็ ไดใ้ น บางคนไม่มโี ทรศัพท์ เรียน ขณะทเ่ี ด็กไม่เข้าใจ ออนไลน์ไม่ได้ การเรียนแบบ On Hand ทำ ให้ครไู ม่ได้พบปะไม่ทราบ พฒั นาการของเดก็ -

-๒๐- ๓.๓ หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังไม่คล่ีคลายสถานศึกษา และครูผู้สอนมีวิธีการ แนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแก่เด็กที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ อยา่ งไร ที่ สถานศึกษา แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน หากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)ยังไม่คล่คี ลาย ๑ ชุมชนวัดกลางกร่ำ ช้ีแจง สื่อสาร กับผู้ปกครองให้เข้าใจถึงสถานการณ์ ฯทีเ่ ป็นอยู่ แต่ยงั คงจดั การเรียนการ สอนโดยใชร้ ูปแบบ On Hand เนือ่ งจากเด็กกลมุ่ น้เี ป็นกลุ่มทตี่ อ้ งได้รับการอธบิ ายตวั ต่อตวั การเรยี นในรปู แบบ Online นน้ั เหมาะสำหรบั เด็กปกติท่เี รียนรวมกันหลายๆคนพรอ้ มกัน มากกวา่ ๒. ชุมชนวัดตะเคยี นงาม จดั ทำชอ่ งทางการสื่อสารกบั ผู้ปกครอง เปน็ รายบุคคล เพื่อสร้างความเขา้ ใจและเห็นว่า โรงเรยี นให้ความสำคัญกับเด็กพเิ ศษ สำหรบั การจดั การเรียนการสอน ไดจ้ ดั ทำแบบฝึกหัด ลดลงมาจากระดบั ชั้น ๒ ชนั้ เพอ่ื ให้ง่ายตอ่ การเรียนและเหมาะสมกบั ศักยภาพของเด็ก ๓. บา้ นคลองทเุ รยี น ออกแบบกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่น่าสนใจ เดก็ ไม่เกิดความเบอื่ หนา่ ย เรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง ไม่ เปน็ ภาระของผู้ปกครอง ๔ บ้านคลองบางบ่อ จัดทำคลิปท่ีนา่ สนใจใหน้ ักเรียนศึกษาและหาช่องทางการสื่อสารทีส่ ามารถตดิ ต่อได้ สว่ น นกั เรยี นท่ไี มม่ ีโทรศัพท์ให้ใบงานและอธิบาย ยกตัวอย่าง ให้ละเอยี ดมากยง่ิ ข้ึน ๕ บ้านคลองปา่ ไม้ จัดประชุมครปู ระจำช้นั รับทราบปัญหาในปัจจุบัน หาแนวทางแก้ไขปัญหาสำหรบั เด็ก พกิ ารเรียนรวม อาจจะจดั ทำใบงาน/แบบฝกึ หดั พร้อมอธบิ ายอยา่ งละเอียดมากยิ่งข้นึ ๖ บ้านชงโค ใช้รปู แบบ On Hand เนือ่ งจากเป็นรปู แบบที่เหมาะสมทีส่ ุดสำหรับเดก็ พเิ ศษ ๗ บ้านชำฆ้อ ชแี้ จง สรา้ งความเข้าใจกับผูป้ กครองอยา่ งสม่ำเสมอ ติดตามเป็นระยะ แจกใบงานโดย คำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ๘ บา้ นชำสมอ ปรบั รปู แบบการรับ-สง่ งาน ใหม้ ีเวลายดื หยุ่นได้ เน่ืองจากผู้ปกครองทำงานไมเ่ ป็นเวลา ๙ บา้ นชมุ แสง ออกแบบกิจกรรม หรือจัดทำเอกสารภาระงานในแต่ละวิชาให้ครบถ้วนโดยคำนึงถงึ ความสามารถในการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ๑๐ บ้านท่าลำบดิ ช้ีแจง และสร้างความเข้าใจกับผูป้ กครองในการดแู ลช่วยเหลอื จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ รปู แบบ On Hand ชัน้ ป.๑-๓ และรูปแบบ Online ช้ัน ป.๔-๖ ปรับกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ เนน้ ทกั ษะชวี ิต ๑๑ บ้านน้ำกร่อย ใหแ้ บบฝกึ หดั และใบงานใหเ้ ด็กกลับไปทำทบี่ ้าน เด็กบางคนใหม้ าเรยี นกบั ครเู ป็นบางวนั ๆละ๑-๒ คน ๑๒ บ้านนำ้ เปน็ สอ่ื สาร สรา้ งความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครองผ่านกลุม่ ไลน์ สำหรับการเรียนใชร้ ูปแบบOn Hand ๑๓ บา้ นน้ำใส ใชร้ ูปแบบOn Hand กำหนดวันรับ-ส่ง ใบงาน/แบบฝกึ หดั มกี ารตดิ ตามงานจากครู ๑๔ บ้านบึงตะกาด ลดการมอบหมายภาระงานทเ่ี ป็นเอกสาร ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ ให้น้อยลง เนอื่ งจากเด็กกล่มุ นม้ี ขี ้อจำกดั ในการเรียน

ที่ สถานศกึ ษา -๒๑- แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน หากสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)ยังไม่คลค่ี ลาย ๑๕ บา้ นพลงตาเอี่ยม ประชุม ช้ีแจง สรา้ งความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองแตล่ ะช้ัน ถึง สถานการณฯ์ และความจำเป็น รวมทงั้ การจดั การเรียนการสอนที่ต้องยืดหย่นุ และไม่ กระทบตอ่ เด็กและผูป้ กครองมากเกินไป ๑๖ บ้านมะเด่ือ ส่งเสริมสนับสนนุ ครใู นโรงเรียนให้ได้รับความรู้ในการสร้างส่ือ ผลติ ส่อื การสอนในรปู แบบ ตา่ ง ๆทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์ ๑๗ บ้านมาบชา้ งนอน ใช้รปู แบบ On Hand ทกุ ระดับช้ัน ๑๘ บา้ นยางงาม เนน้ ยำ้ ใหเ้ ห็นถึงความจำเปน็ ในการสอนเด็กพเิ ศษ ในการการมอบหมายแบบฝึกหัด/ใบงาน ควรคำนงึ ถึงศักยภาพของเด็กเปน็ สำคัญ ๑๙ บ้านยางเอน สร้างความเขา้ ใจกับผปู้ กครอง ลดการมอบหมายภาระงานให้แก่เดก็ ออกแบบกิจกรรมให้ สอดคลอ้ งกับศักยภาพเดก็ เป็นรายบคุ คล และปรบั กจิ กรรมเรยี นรูท้ ักษะการปฏบิ ัติ ๒๐ บา้ นวงั หิน ชี้แจง สรา้ งความเข้าใจกับผ้ปู กครองอยา่ งตอ่ เน่ือง ๒๑ บา้ นศรีประชา จดั การเรยี นการสอนในรูปแบบ On Hand สำหรับเดก็ ทม่ี ีความต้องการจำเป็นพิเศษ ๒๒ บา้ นสองสลึง มีการสรา้ งใบงานหรอื แบบทดสอบให้โดยเฉพาะ เพอ่ื ดูพัฒนาการของเด็กอย่างต่อเน่ือง เนน้ ใหเ้ ดก็ เรยี นร้สู ่งิ รอบตัวเพ่ือลดความเครียดจากการเรียน ๒๓ บ้านสามแยกน้ำเป็น ใช้รปู แบบ On Hand เรยี นโดยใชแ้ บบฝึกหัดและใบงาน ๒๔ บา้ นหนองน้ำขุ่น มีการติดต่อส่ือสารพูดคยุ กบั ผู้ปกครองเปน็ ประจำเพื่อตดิ ตามการทำงานของเด็ก ๒๕ บา้ นหนองมว่ ง ปรบั เปลย่ี นรปู แบบวิธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกบั บริบทของชุมชน เชน่ การให้ใบงานที่ไม่ส้นิ เปลืองวัสดุอปุ กรณ์ เป็นต้น ๒๖ บา้ นห้วยทบั มอญ ประสานงานกับผ้ปู กครองในการเข้มงวดกวดขนั บุตรหลานใหท้ ำงานและสง่ ใบงานให้ทัน กำหนด โดยชี้แจงถงึ เหตผุ ลในการเรียนรูปแบบนใ้ี หผ้ ู้ปกครองเข้าใจ ๒๗ บ้านเขาชะอางคร่อมคลอง ประชมุ ผ้ปู กครอง คณะครู ถึงแนวทางการจดั การเรียนการสอนในสภาวการณ์โควดิ แต่ ยังคงใช้รูปแบบ On Hand ในการจัดการเรยี นการสอน ๒๘ บา้ นเขาหนิ แท่น จัดการเรยี นการสอนใชร้ ูปแบบ On Hand พร้อมทง้ั กำกับติดตามประจำทุกสปั ดาห์ และ สื่อสารผา่ นทางออนไลน์ เพ่ือให้เดก็ มีความสุขความเขา้ ใจในการเรียนแบบOn Hand ๒๙ บา้ นเจริญสขุ สนบั สนุน ส่งเสริม ให้ความรู้ แก่ครูในการปรบั ประยุกตร์ ปู แบบการสอนออนไลน์ใหเ้ ข้ากับ สถานการณ์หากครอบครวั ใดพร้อมสามารถเรยี นออนไลน์ท่ีครอู อกแบบได้ หรือหาก ครอบครวั ใดไม่พร้อมให้เรียนในรปู แบบ On Hand ได้เชน่ กัน ๓๐ บา้ นเนนิ สขุ สำรอง ส่งเสริมและพัฒนาศกั ยภาพของครใู ห้ครูมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการจดั การเรียนการสอนใน สถานการณโ์ ควดิ ในรูปแบบต่าง ๆ ๓๑ บ้านเนนิ สขุ สมบูรณ์ ประสานงานกบั ผูป้ กครอง และใหค้ วามช่วยเหลืออยา่ งต่อเน่ืองทัง้ ด้านขวญั กำลังใจ งบประมาณ และการเรียนรู้

ที่ สถานศกึ ษา -๒๒- แนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน หากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)ยังไม่คลคี่ ลาย ๓๒ บา้ นเนนิ หย่อง ช้แี จง สรา้ งความเขา้ ใจแก่เด็ก และผปู้ กครอง เพ่ือชว่ ยเหลือติดตามสำหรับการจดั การ ๓๓ วัดกะแส เรยี นการสอนใช้รปู แบบ On Hand ๓๔ วัดคงคาวราราม ๓๕ วัดคลองชากพง ใช้รูปแบบ On Hand หากสถานการณ์ยงั ไม่คลี่คลาย ๓๖ วัดถนนกะเพรา รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ใช้รูปแบบOn Hand ๓๗ วัดทา่ กง ๓๘ วดั ทุ่งควายกิน ปรบั เปล่ยี นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนจากรูปแบบOn Hand มาเปน็ รูปแบบ ๓๙ วัดบ้านนา On Site อาจจะนดั หมายมาวันละ ๑- ๒ คน ๔๐ วดั บนุ นาค ๔๑ วัดปากน้ำพงั ราด ชแี้ จง สอ่ื สารสรา้ งความเข้าใจแกผ่ ู้ปกครองทุกคน และหารูปแบบวธิ กี ารท่เี หมาะสมกบั เดก็ ๔๒ วัดปา่ ยุบ พเิ ศษให้ได้เรียนรู้ให้มากทสี่ ดุ โดยเนน้ ทกั ษะมากกวา่ เนื้อหา เพราะเด็กกลุ่มน้ชี อบท่ีจะใฝ่รู้ ในการปฏบิ ตั ิมากกวา่ การตอ้ งมาทอ่ งจำ ๔๓ วดั พลงชา้ งเผือก ใช้รปู แบบ On Hand กำหนดวนั รบั -สง่ ใบงาน/แบบฝึกหัด และครูประจำชั้น/ประจำวชิ า ๔๔ วดั พลงไสว ตดิ ตามงานผา่ นกลุ่มไลน์ผปู้ กครองเปน็ ระยะ ๔๕ วัดมงคลวฒุ าวาส จัดทำใบงานพเิ ศษให้กบั เดก็ พิการเรยี นรวม ปรบั กจิ กรรมให้ง่ายขึ้นและเหมาะสมกับเด็ก ๔๖ วดั วังหว้า การเรียนใช้รปู แบบOn Hand แตต่ อ้ งปรับกจิ กรรมเพ่ือใหเ้ ดก็ เข้าใจได้งา่ ยขนึ้ และทำได้ ออกแบบกจิ กรรม ปรบั กจิ กรรม ใหส้ อดคล้องกับเด็กกลุม่ น้ี ใช้รูปแบบ On Hand ครอู อกแบบกิจกรรม จดั ทำใบงาน และกำหนดวนั รบั -ส่ง ใบงาน/ แบบฝึกหัด ใช้รูปแบบ On Hand ในการจัดการเรยี นการสอน ทงั้ นใ้ี บงานหรือแบบฝึกหัดครตู อ้ งดทู ่ีตวั เด็กวา่ สามารถทำได้หรือไม่ หากไปทำท่ีบา้ นตามลำพัง จงึ ต้องมีการทบทวน ปรบั ใบงาน/ แบบฝกึ หัดอยตู่ ลอดเวลา ชแ้ี จงคณะกรรมการสถานศึกษา สอ่ื สารผปู้ กครองเด็กที่มีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ ทกุ คนให้เข้าใจ และจัดทำใบงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน เพราะมี เด็กออทสิ ติก เด็กบกพร่องทางสติปญั ญา รวมอยู่ด้วย สอ่ื สารกับผู้ปกครองถึงการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในช่วงนี้ และนำปญั หาท่ีพบ เชน่ การใหใ้ บงาน พบวา่ เดก็ ทำไม่ได้ ไมอ่ ยากทำ ส่งผลให้ไม่มีงานมาสง่ ตามกำหนด จงึ ต้องมี การออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนให้มีความลดหลน่ั ความยากง่ายลงตามศักยภาพ ของเด็ก เม่ือเด็กสามารถทำได้จะเกดิ ความภาคภูมใิ จและทำงานมาสง่ ตามกำหนด จัดการเรยี นการสอนแบบรับใบงาน สร้างใบงานหรอื แบบทดสอบให้เฉพาะ ติดต่อส่ือสาร กบั ผู้ปกครองอยา่ งสม่ำเสมอ การจดั การเรยี นการสอนใช้รูปแบบ On Hand แตต่ ้องปรับกจิ กรรมให้มีความยืดหยุ่นและ เนอ้ื หาท่งี ่ายลง ๒ ระดบั ช้นั เพื่อให้เด็กเข้าใจได้งา่ ยข้ึนและทำได้

ท่ี สถานศกึ ษา -๒๓- แนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)ยังไม่คล่คี ลาย ๔๗ วัดสนั ตวิ ัน การจัดการเรยี นการสอนยงั คงใชร้ ูปแบบ On Hand หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดฯยัง ไมค่ ลคี่ ลายลง เพราะเห็นวา่ มีความเหมะสมทส่ี ดุ กบั เดก็ พเิ ศษ ๔๘ วัดสารนารถธรรมา- ราม โรงเรยี นจัดการเรยี นสอนออนไลน์ และแจกใบงานให้กับเด็กพิเศษ และขอความร่วมมอื กับ ผ้ปู กครองช่วยดแู ล กำชับ ๔๙ วัดสุขไพรวัน ๕๐ วัดหนองกะพ้อ ปรับเปลี่ยนรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนตามสถานการณโ์ ดยคำนึงถงึ ผู้เรยี นมากท่ีสดุ ๕๑ วดั หนองกนั เกรา จดั การเรยี นการสอนใช้รูปแบบ On Hand กำหนดวนั รับและส่งใบงาน/แบบฝกึ หดั ๕๒ วดั เกาะลอย ๕๓ วัดเนนิ ทราย ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้มคี วามยดื หยุ่นเหมาะสมกับผูเ้ รียนให้มากทีส่ ดุ เน่ืองจาก ๕๔ วัดเนินยาง โรงเรียนมีเดก็ ออทิสติก เด็กบกพร่องทางสติปัญญา เด็กพิการซอ้ น จงึ ต้องมีการออกแบบ ๕๕ วัดเนินเขาดนิ กจิ กรรม และปรับเปล่ยี นกจิ กรรมอย่ตู ลอดเวลา โดยคำนงึ ถึงพฒั นาการเปน็ สำคัญ ไม่เนน้ ๕๖ วัดโพธทิ์ อง ชิ้นงานของเด็ก มีการตดิ ตามถงึ พฒั นาการของเด็กเปน็ ระยะผ่านแอปพลิเคชั่น ไลน์ เป็น รายบุคคล จะไม่มีการโชว์ผลงานในกลมุ่ ผู้ปกครองใด ๆท้งั ส้ิน แต่จะยกย่องชมเชยเดก็ ทกุ ๕๗ ไทยรฐั วทิ ยา ๔๓ คนในกลุ่มไลนผ์ ปู้ กครอง จัดการเรยี นการสอนใช้รูปแบบ On Hand กำหนดวนั รบั และส่งใบงาน/แบบฝึกหดั ประชุม ชี้แจง สรา้ งความเข้าใจแก่ผปู้ กครองเกยี่ วกับการจดั การเรียนการสอน จัดการเรยี นการสอนใชร้ ูปแบบ On Hand กำหนดวันรบั และสง่ ใบงาน/แบบฝึกหัด จดั การเรียนการสอนใชร้ ปู แบบ On Hand กำหนดวนั รบั และสง่ ใบงาน/แบบฝึกหดั ปรับเปลี่ยนรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนตามสถานการณโ์ ควิด แต่เนน้ ในรูปแบบ On Hand ครูแจกใบงาน แบบฝึกหดั ให้นกั เรียนโดยคำนึงถึงความแตกตา่ งของนกั เรียนแต่ละคน ครูสง่ คลปิ การสอน หรือคลปิ วดี โี อทีม่ ีองค์ความรู้ใหก้ ับผูป้ กครองเพื่อให้ชว่ ยสอนเสรมิ หลังเลกิ งาน เม่ือนักเรียนนำใบงานมาสง่ ครตู รวจให้ทันทแี ละอธบิ ายในขอ้ ท่ผี ดิ และไม่ เข้าใจ

ภาคผนวก

แบบนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การจดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นท่ัวไปจดั การเรยี นรวม ในสงั กัด ************************ โรงเรยี น...................................................... คำชแ้ี จง แบบนเิ ทศ ฯฉบบั น้ี จดั ทำขึน้ เพ่ือติดตามกระบวนการจดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) ของ สถานศกึ ษาทมี่ ีเดก็ พิการเรยี นรวม ทีต่ ้องดำเนินการจัดทำให้สอดคล้องกบั ศักยภาพของเดก็ พิการเรียนรวม เปน็ รายบุคคลทุก คน และนำผลมาปรบั กระบวนการจดั ทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) ในสถานศึกษาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมยิ่งขน้ึ กระบวนการจดั ทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล(IEP) ๑.ขนั้ เตรียมการ ๑.๑ การรวบรวมขอ้ มลู ประเดน็ การพิจารณา ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ปัญหา/อุปสรรค ๑.มีการสัมภาษณส์ อบถามขอ้ มูลผู้เรียนจาก ผ้ปู กครอง และผเู้ กี่ยวข้อง ๒.มีการสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียน ๓.มกี ารรวบรวมเอกสารหลกั ฐานที่เกีย่ วข้อง ๔.มกี ารทำความเข้าใจระหว่างผ้เู รียน กับ ผ้ปู กครอง และผู้เก่ยี วข้อง ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม ............................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... ............................. ๑.๒ การคัดกรองประเภทความพกิ ารทางการศึกษา ประเดน็ การพิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ ปญั หา/อุปสรรค ๑.มกี ารขออนญุ าตผ้ปู กครอง ๒.มกี ารใชแ้ บบคดั กรองของ กระทรวงศึกษาธิการ ๓.มผี ู้คดั กรองไม่น้อยกว่า๒คนท่ีได้รับ วฒุ บิ ัตรการเปน็ ผ้ดู ำเนนิ การคัดกรองคน พกิ ารทางการศึกษา ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ................................................................................................................................... .................................................................

๒.ข้นั จัดทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล ๒.๑ แตง่ ต้งั คณะกรรมการ ประเดน็ การพจิ ารณา ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ ปัญหา/อุปสรรค ๑.มกี ารจัดทำคำส่งั แต่งต้ังคณะกรรมการ จัดทำแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล ของสถานศกึ ษา ๒.มีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนการ จัด การศึกษาเฉพาะบุคคลครบตาม องค์ประกอบของประกาศกระทรวงฯ ๓.แต่งตั้งคณะกรรมการในการจัดทำ แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล(IEP) ไดส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ของผ้เู รียน ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ............................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... ............................................................................. ๒.๒ ตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพื้นฐาน ประเดน็ การพิจารณา ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ ปัญหา/อุปสรรค ๑.มกี ารตรวจสอบหรอื ประเมิน ความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รียนด้วยรูปแบบ ทีห่ ลากหลาย ๒.มีการตรวจสอบหรอื ประเมิน ความสามารถพืน้ ฐานดา้ นการเรียนรูข้ อง ผเู้ รยี นตามหลักสูตร ๓.นำผลการตรวจสอบหรือประเมิน ความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนมา วางแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล ๔.มกี ารประเมินด้านส่งิ แวดล้อมของผู้เรียน เพื่อนำมาวางแผนการจัดท าแผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ๕.มีการตรวจสอบรายการสง่ิ อำนวยความ สะดวก เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สอ่ื บริการ และ ความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทาง การศกึ ษา เพ่ือนำมาใช้ในการจดั ทำแผนการ จัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล(IEP)

ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม .................................................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................................... ๒.๓ จดั ทำแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล(IEP) ประเด็นการพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ปญั หา/อุปสรรค ๑. มีการดำเนินการจัดทำแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล(IEP)ตาม องค์ประกอบท้ัง ๘ขอ้ ๒.นำผลการประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐาน ของ ผูเ้ รยี นมาวิเคราะหเ์ ปน็ จุดเดน่ จุดด้อย ได้ สอดคล้องกับผลการประเมนิ ๓.มกี ารนำผลการวิเคราะห์จดุ ด้อยของ ผู้เรยี น นำมากำหนดเป้าหมายระยะยาว ๑ ปี ๔.มกี ารนำเปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี มา วเิ คราะหเ์ ป็นจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม (เปา้ หมายระยะสน้ั )ได้อยา่ งสอดคล้อง ๕. กำหนดเกณฑ์ เคร่อื งมอื และวธิ กี าร ประเมนิ ผลไดส้ อดคล้องกับจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม(เป้าหมายระยะส้ัน) ๖. มกี ารกำหนดความต้องการด้าน สง่ิ อำนวยความสะดวก เทคโนโลยสี ิ่งอำนวย ความสะดวก สือ่ บริการ และความ ช่วยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษาไดส้ อดคลอ้ ง กบั จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม(เปา้ หมาย ระยะส้นั ) ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม ............................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... .............................................................................

ตอนท่ี ๓ ๓.๑ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนเด็กทม่ี คี วามต้องการจำเปน็ พิเศษในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของเช้อื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID-19) (ใสเ่ คร่ืองหมาย √ ลงในช่อง โดยเลอื กไดห้ ลายรูปแบบ) รูปแบบ On Site เรียนทโ่ี รงเรียน รูปแบบ On Air เรียนโดย DLTV รปู แบบ Online เรยี นโดยใช้ Internet รปู แบบ On Demand เรียนโดย Application รปู แบบ On Hand เรียนโดยใชแ้ บบฝึกหดั /ใบงาน โคยความรว่ มมือระหว่างผู้ปกครองกับครู ๓.๒ ปัญหา/อุปสรรคของการจดั การเรยี นการสอนเดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID-19) (โปรดระบเุ ปน็ รายดา้ น) ด้านครผู สู้ อน………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ด้านเด็กที่มคี วามต้องการจำเป็นพิเศษ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ด้านผู้ปกครองของเดก็ ทม่ี ีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ…………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓.๓ หากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังไมค่ ลค่ี ลาย สถานศึกษา และครูผสู้ อนมีวิธกี าร แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแก่เด็กท่ีมีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ อย่างไร (โปรดระบ)ุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ........................................................ ..................................................................................................................................................... ................................

คณะผจู้ ดั ทำ ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๒ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๒ นายจรญั หวานคำ ผอู้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา นายกมั พล เจรญิ รกั ษ์ นางจำรสั มีลาภ ผจู้ ัดทำ/รวบรวมข้อมูล นางปญั ชลยี ์ ปราณี ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ออกแบบปก/จดั ทำรูปเล่ม นางปัญชลยี ์ ปราณี ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ นางศริ พิ ร สมทรัพย์ เจา้ พนักงานธุรการชำนาญงาน