Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nuuclear in thai

nuuclear in thai

Published by tkatekum, 2021-02-07 16:21:16

Description: nuuclear in thai

Search

Read the Text Version

Nuclear Introduction ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั นิวเคลยี ร์

จุดเร่ิมต้นของนิวเคลยี ร์ • นิวเคลียร์ (Nuclear) มีรากศพั ทม์ าจาก นิวเคลียส (Nucleus) ท่ีอยใู่ นอะตอม ของสสารต่าง ๆ ในธรรมชาติ • การศึกษานิวเคลียร์ยคุ แรก เริ่มตน้ ในการทดลองของ วิลเฮลม์ คอนราด เรินต์ เกน (Wilhelm Korad Roentgen) ในปี ค.ศ. 1895 • คน้ พบรังสีเอกซ์จากการศึกษาหลอดรังสีแคโทด

จุดเร่ิมต้นของนิวเคลยี ร์ • เรินตเ์ กน นารังสีที่ไดจ้ ากหลอดรังสีแคโทด มาทดลองกบั ฟิลม์ ภาพถ่าย เม่ือนาไปลา้ งพบวา่ ภาพถ่ายมีความผดิ ปกติ ที่สามารถมองเหน็ ภายใน ส่วนประกอบของร่างกาย • จึงเรียกรังสีที่ทาใหภ้ าพผดิ เพ้ยี น คือ รังสีเอกซ์ • ปัจจุบนั รังสีที่เรินตเ์ กนใชม้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นวงการแพทย์

จุดเร่ิมต้นของนิวเคลยี ร์ • ต่อมา ในปี ค.ศ. 1896 อองรี แบก็ เกอเรล ( Henry Becquerel ) ไดน้ าแร่ธาตุ ชนิดหน่ึงไปวางแผน่ ฟิ ลม์ ในช่วงเวลาเยน็ และวนั ถดั มาแบก็ เกอเรลจะนา แผน่ ฟิ ลม์ ไปถ่ายรูป แต่ภาพถ่ายท่ีไดจ้ ากการลา้ งแผน่ ฟิ ลม์ มีความผดิ เพ้ยี น • แบก็ เกอเรล นาแร่ธาตุท่ีวางแผน่ ฟิ ลม์ มาตรวจสอบ พบวา่ มีคุณสมบตั ิใน การแผร่ ังสี เช่นเดียวกนั กบั รังสีเอกซ์ • แบก็ เกอเรลต้งั ชื่อใหแ้ ร่ธาตุท่ีมีการแผร่ ังสีน้ีวา่ “ยเู รเนียม (Uranium)”

จุดเริ่มต้นของนิวเคลยี ร์ • ภายหลงั การคน้ พบธาตยุ เู รเนียม ปิ แอร์ คูรี และมารี คูรี (Pierre Curie & Maria Sklodowska-Curie) ไดน้ าแร่ธาตุดงั กล่าวมาศึกษาต่อ • ธาตุยเู รเนียมสามารถปล่อยรังสีไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง เรียกปรากฏการณ์น้ีวา่ “กมั มนั ตภาพรังสี (Radioactivity)” • ท้งั สองไดศ้ ึกษาหาแร่ธาตุอ่ืน ที่มีคุณสมบตั ิในการปล่อยรังสีต่อเน่ืองได้ สาเร็จ และใหช้ ่ือธาตุน้นั วา่ “เรเดียม(Radium) ”

จุดเริ่มต้นของนิวเคลยี ร์ • ภายหลงั การเสียชีวติ ของปิ แอร์ คูรี • มารี คูรีไดพ้ ฒั นาธาตุเรเดียมในการรักษาโรคมะเร็ง

กมั มันตภาพรังสี ( ) 4 He 2

กมั มันตภาพรังสี • การแผร่ ังสีของกมั มนั ตภาพรังสี จะมีวสั ดุที่ใชใ้ นการป้องกนั เขา้ สู่ร่างกาย • 1. รังสีแอลฟา ก้นั ดว้ ยกระดาษ • 2. รังสีเบตา้ ก้นั ดว้ ยอะลูมิเนียม • 3. รังสีแกมมา ก้นั ดว้ ยตะกวั่

นิวเคลยี ร์ในเมืองไทย - ประเทศไทย ไดเ้ ริ่มนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์เขา้ มาในประเทศ ภายใตก้ าร บริหารประเทศของ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ในปี พ.ศ. 2498 โดยจดั ต้งั คณะกรรมการเกี่ยวกบั พลงั งานปรมาณูในประเทศไทย เพ่ือเจราจาตกลง ร่วมกบั คณะทูตโครงการพลงั งานปรมาณูเพือ่ สนั ติ ของสหรัฐอเมริกา - ภายหลงั เจรจาขอ้ ตกลง ทางประเทศไทยจดั ต้งั สานกั งานพลงั งานปรมาณู เพื่อสันติข้ึนในปี พ.ศ. 2504 ภายใต้กฎหมายพระราชบัญญัติพลังงาน ปรมาณูเพอื่ สันติ พ.ศ. 2504

นิวเคลยี ร์ในเมืองไทย • ประเทศไทย นาสารกมั มนั ตรังสีมาใชใ้ นการรักษา อุตสาหกรรมทางการ ผลิตสินคา้ และสินคา้ ทางการเกษตร รวมถึงการควบคุมปริมาณรังสีที่ อาจจะเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ และการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ในโรงเรียน โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั และหน่วยงาน ต่าง ๆ

หน่วยงานทีศ่ ึกษานิวเคลยี ร์ในประเทศไทย • นอกจากสานกั งานพลงั งานปรมาณูเพอื่ สนั ติ ยงั มีหน่วยงานอื่น ๆ ในประเทศไทย ท่ีทาการศึกษาและวจิ ยั ทางนิวเคลียร์ อยา่ งเช่น • สานกั งานปรมาณูเพ่ือสนั ติ • สถาบนั เทคโนโลยนี ิวเคลียร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) • ดูแลโดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม

หน่วยงานทศ่ี ึกษานิวเคลยี ร์ในประเทศไทย • ทางการศึกษา • ภาควชิ านิวเคลียร์เทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั • The Fast Neutron Research Facility และศูนยว์ จิ ยั ไอออนบีม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, • ภาควชิ ารังสีประยกุ ตแ์ ละไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, • ศูนยบ์ ริการฉายรังสีแกมมาและวจิ ยั นิวเคลียร์เทคโนโลยี สถาบนั วิจยั และ พฒั นาแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

หน่วยงานทศ่ี ึกษานิวเคลยี ร์ในประเทศไทย • ทางการรักษา • นาสารกมั มนั ตรังสีและรังสีใชใ้ นทางการแพทยใ์ นโรงพยาบาล ในกรุงเทพฯ 26 แห่ง ปริมาณฑล 15 แห่ง ต่างจงั หวดั 9 แห่ง • องค์กรอสิ ระ • สมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย • สมาคมการทดสอบโดยไม่ทาลายแห่งประเทศไทย • สมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย • ราชรังสีแพทยว์ ทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย • สมาคมรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีร่วมรักษาไทย

ประโยชน์ของนิวเคลยี ร์ • ทางการแพทย์ • เป็ นการนาสารกัมมันตรังสีและรังสีมาใช้ในการ รักษาผคู้ น ท่ีช่วยในการวินิจฉยั โรคต่อการรักษาของ แพทย์ รวมถึงการใชส้ ารเคมีในการรักษาอยา่ งถูกวิธี และการฆ่าเช้ืออุปกรณ์ทางการแพทยใ์ ห้สะอาดและ ปลอดภยั ในการรักษา

ประโยชน์ของนิวเคลยี ร์ • ทางอุตสาหกรรม เป็นการแปรรูปพลงั งานนิวเคลียร์มาใชใ้ นการอุตสาหกรรมในการผลิตสินคา้ ต่าง ๆ อยา่ งอญั มณี รวมถึงการหาแหล่งเช้ือเพลิงต่าง ๆ ภายในประเทศ

ประโยชน์ของนิวเคลยี ร์ • ทางด้านการเกษตร • เป็นการนารังสีทางนิวเคลียร์มาปรับปรุงพนั ธุกรรมทางการเกษตร ในการ ถนอมอาหาร รวมถึงการแปรรูปผลิตภณั ฑเ์ กษตรใหเ้ กิดผลในทางเศรษฐกจิ

ทมี่ าของข้อมูล • นิวเคลียร์และการใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยนี ิวเคลียร์, สถาบนั เทคโนโลยี นิวเคลียร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) • 50 ปี บนเส้นทางสนั ติ เทคโนโลยนี ิวเคลียสไทย , สถาบนั เทคโนโลยนี ิวเคลียร์ แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) • มารี คูรี มารดาแห่งวงการเคมี , สานกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ , https://bit.ly/2MJ1v82 • https://bit.ly/36LLNzV , ความมนั่ คงปลอดภยั ทางนิวเคลียร์และรังสีภายใต้ พระราชบญั ญตั ิพลงั านนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook