Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล

Published by eakanan.wan, 2020-05-15 04:51:25

Description: Unit 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล

Search

Read the Text Version

ความร้เู บือ้ งต้นเกี่ยวกบั ระบบสขุ าภิบาล

จดุ ประสงคท์ ั่วไป 1. บอกความหมายของระบบสุขาภิบาลได้ 2. มีความเข้าใจขอบเขตของระบบสขุ าภิบาล 3. บอกองคก์ รและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั ระบบ สุขาภิบาล 4 บอกความหมายของระบบสุขาภิบาลในอาคารได้ 5. บอกวัสดุที่ใช้ทาท่อในงานท่อสขุ าภิบาลได้ 6. ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบสขุ าภิบาล

การเลือกใช้ท่อ ความหมายของ ขอบเขตของ และมาตรฐานทอ่ ระบบสขุ าภิบาล ระบบสุขาภิบาล วสั ดุทีใ่ ช้ทางานท่อ ความรู้เบือ้ งตน้ กฎหมายที่ ในงานประปาและ เกีย่ วกับระบบ เกี่ยวขอ้ ง สขุ าภิบาล สขุ าภิบาล ระบบสขุ าภิบาล ในอาคาร สญั ลกั ษณ์และตวั ยอ่ ของ ระบบทอ่ และอุปกรณใ์ น งานสขุ าภิบาล

ความหมายของระบบสุขาภิบาล ระบบสุขาภิบาลมคี วามหมายกว้างขวาง ขึ้นอยู่กับว่าจะ นามากล่าวในแง่ใด ถ้ากล่าวในแง่ของสุขอนามัย ก็จะมี ความหมายไปในแง่ของการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยวิธีการทาง สุขอนามัย (Hygienic means) เพื่อป้องกันใหห้ ่างไกลจาก อันตรายจากของเสีย การป้องกันดังกล่าวจะต้องอาศัย กระบวนการทางวิศวกรรม หรือเทคโนโลยีเข้าไปจัดการหรือ แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน กระบวนการทางวิศวกรรมในส่วนหลังน้ี จงึ เกิดข้นึ เรียกว่า วศิ วกรรมสขุ าภบิ าล

ความหมายของระบบสขุ าภิบาล ซ่ึงมีการจัดการศึกษาขึ้นในระดับปริญญาตรีท่ีก็ เรียนวิชาทางด้านสุขาภิบาลเป็นบางวิชาในสาขา วิศวกรรมโยธา ต่อมาได้มีการเปลี่ยนเป็นวิศวกรรม ส่ิงแวดล้อมเพ่ือให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่คลอบคลุมทั้ง ในน้า บนดิน และในอากาศ และทาการสอนด้วยกัน หลายแห่ง

ความหมายของระบบสุขาภิบาล แต่โดยสรุป ระบบสุขาภิบาล หมายถึง งานที่เกี่ยวข้อง กับงานสารวจ จัดหาแหล่งน้าดิบ และการสร้างแหล่งเก็บน้า งานสร้างสถานีรับน้าดิบ งานลาเลียงน้าดิบมายังโรงกรองน้า งานทาความสะอาดน้าหรืองานโรงกรองน้า งานแจกจ่ายน้า ไปยังผู้อุปโภคและบริโภค งานซ่อมบารุง และการใช้งาน ระบบท่อ เครื่องสุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ ท่ีจาเป็นสาหรับนาน้า เขา้ ไปในอาคารและนาของเสยี ท่ใี ชน้ ้าชะลา้ งออกจากอาคาร

ความหมายของระบบสุขาภิบาล ระบบรวบรวมน้าเสีย ระบบบาบัดน้าเสีย ระบบ ระบายน้าฝน ซ่ึงเกี่ยวข้องกัน 3 ส่วนคือ วิศวกรรมการ ประปา (Water supply engineering) ระบบท่อ ป ร ะ ป า ใ น อ า ค า ร ( Plumbing) แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ร ม สง่ิ แวดล้อม



น้าเสียหลงั จากการบาบดั แลว้ การลาเลยี งน้าจากแหล่งนา้ ปล่อยลงสธู่ รรมชาติ ธรรมชาติไปยังโรงกรองน้า กระบวนกำรบ้ำบดั น้ำเสีย แหล่งนำ้ ธรรมชำติ อ่ำงเกบ็ น้ำ แมน่ ้ำ กระบวนกำรทำ้ นำ้ ให้สะอำด นา้ ดิบจากแหล่งนา้ ธรรมชาติท่ีสะอาด (Raw water from clean resources) นา้ ที่ทาใหส้ ะอาดแล้ว (Purified water) น้าทีผ่ า่ นการใชแ้ ล้วกลายเปน็ น้าเสีย (Waste water from daily activities) น้าท่ผี ่านการบาบัดแล้วและมคี ุณสมบตั ิตามเกณฑ์ (Treated water with qualified criteria) การนานา้ ทใ่ี ชแ้ ลว้ การนาน้าทสี่ ะอาดแล้ว ออกนอกอาคาร เข้าไปในอาคาร กำรใช้นำ้ ภำยในอำคำร

ขอบเขตของระบบสขุ าภิบาล งานหาแหล่งน้าดิบท่มี ีคุณภาพ ตามธรรมชาติทีด่ ที ส่ี ุด งานลาเลียงนา้ จากแหล่งน้า ธรรมชาติไปยังโรงกรองนา้ งานทานา้ ให้สะอาด วิศวกรรมการประปา งานนานา้ ดีไปยงั จดุ ใช้ นา้ ภายในอาคาร (Water supply engineering) งานนาน้าท่ีใชแ้ ล้ว งานบาบัดน้าเสียกอ่ น ออกจากอาคาร ปล่อยลงสู่ธรรมชาติ ระบบสขุ าภิบาลในอาคาร (Plumbing) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental engineering)

องค์กรและกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกบั ระบบสขุ าภิบาล องค์กร กฎหมายหลกั สาระสาคัญที่เก่ียวขอ้ ง กรมโยธาธิการและผังเมอื ง พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร กาหนดหลักเกณฑ์การตดิ ตง้ั ระบบท่อใน กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2522 อาคารท้งั ทอ่ ประปาและท่อดับเพลงิ สานกั งานมาตรฐานอุตสาหกรรม การประปานครหลวง ขอ้ บญั ญตั กิ รุงเทพมหานคร เรอ่ื ง ควบคุมการ กาหนดเครอ่ื งสุขภัณฑส์ าหรบั หอ้ งน้าของ การประปาสว่ นภมู ภิ าค ก่อสรา้ งอาคาร พ.ศ. 2544 อาคารประเภทตา่ ง ๆ กรมทรพั ยากรน้าบาดาล พระราชบญั ญัตมิ าตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม กาหนดมาตรฐานของน้าดื่ม กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2511 พระราชบญั ญตั ิ การประปานครหลวง พ.ศ. 2510 การดาเนินการจดั หา และผลติ น้าท่สี ะอาด ใหค้ นในเมอื งหลวง พระราชบัญญตั ิ การประปาส่วนภมู ิภาค พ.ศ. การดาเนนิ การจัดหา และผลิตนา้ ท่สี ะอาด 2522 ใหค้ นนอกเมอื งหลวง พระราชบญั ญตั ิ นา้ บาดาล พ.ศ. 2520 ควบคุมการใช้นา้ บาดาล พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาดและความเป็น การควบคุมการขับถา่ ยในท่ีสาธารณะ ระเบยี บเรยี บร้อยของบา้ นเมือง พ.ศ. 2535

องคก์ รและกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกับระบบสุขาภิบาล องค์กร กฎหมายหลกั สาระสาคญั ที่เกีย่ วข้อง กรมโรงงานอุตสาหกรรม พระราชบญั ญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ควบคุมการปลอ่ ยนา้ เสีย กระทรวงทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม พระราชบญั ญตั ิ ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพ การปล่อยน้าเสียของอาคารประเภทต่าง ๆ ส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 นอกจากน้ันในระดับสากล ท่ีนิยมนามาใช้อ้างอิง เช่น องค์การอนามัยโลก (WHO), American Water Work Association (AWWA)

ระบบสขุ าภิบาลในอาคาร (Plumbing) ระบบที่สร้างข้ึนมาเพื่อมาสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในอาคาร ท่ีพักอาศัย อาคารสานักงาน โรงพยาบาล โรงงาน อุตสาหกรรม และอาคารพิเศษ โดยเป็นระบบที่จะอานวยให้เกิด ความสะดวก ความสบาย ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย ประหยัด พลังงานและค่าใช้จ่าย เมื่ออาคารเหล่าน้ันสร้างเสร็จแล้ว ระบบ สุขาภิบาลครอบคลุมระบบน้าดี ระบบน้าเสียและน้าโสโครก ระบบ ท่ออากาศสาหรับท่อน้าเสีย ระบบระบายน้าฝน ระบบบาบัดน้าเสีย ระบบน้าร้อน และระบบปอ้ งกันเพลงิ ไหม้

สัญลกั ษณแ์ ละตัวยอ่ ของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในงานสุขาภิบาล สญั ลักษณ์ ควำมหมำย หนำ้ ที่ Isometric Plan อา่ งล้างมอื (Lavatory) ลา้ งมือ โถปสั สาวะชาย (Urinal) ถา่ ยปัสสาวะ โถส้วม (Water closet) ถ่ายอจุ จาระ

สญั ลกั ษณแ์ ละตวั ยอ่ ของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในงานสุขาภิบาล สัญลกั ษณ์ ควำมหมำย หน้ำท่ี Isometric Plan ช่องระบายนา้ ท่พี ืน้ ระบายนา้ ลา้ งพ้นื (Floor drain) ชอ่ งระบายน้าจากฝักบวั ระบายนา้ ในหอ้ งอาบน้า (Shower drain) ชอ่ งทาความสะอาดที่พ้ืน ใชส้ อดอุปกรณ์ลา้ งท่อ (Floor cleanout) ทอ่ ระบายนา้ เสยี (Waste ระบายน้าเสยี หรือน้า pipe)หรือน้าโสโครก (Soil โสโครก pipe) ทอ่ นา้ เยน็ สง่ นา้ ด่ืม (Cold Water) ท่อนา้ ร้อน สง่ นา้ รอ้ น (Hot water supply)

สญั ลักษณ์ ควำมหมำย หนำ้ ท่ี ทอ่ อากาศ (Vent) รักษาน้าในทดี่ กั กลน่ิ ทาให้ความดันในทอ่ คงท่ี ทอ่ ดับเพลงิ (Fire line) สง่ นา้ ดบั เพลงิ ประตูนา้ (Gate valve) ปิด-เปิดนา้ เช็ควาล์ว (Check valve) ปอ้ งกันการไหลกลบั ของน้า วาล์วลดความดัน ลดความดนั ใหพ้ อเหมาะ (Pressure reducing valve) ป้มั นา้ (Water pump) เพม่ิ ความดันในเส้นท่อ ทด่ี กั ไขมนั (Strainer) แยกไขมันออกจากนา้ เสีย มาตรวัดความดัน บอกความดัน ณ ตาแหน่งท่ี ต้องการรู้ (Pressure gauge) กาจดั การสนั่ ขอ้ ตอ่ ยืดหยุ่น ใช้เช่อื มสายฉดี น้าดบั เพลงิ (Flexible connector) หัวฉดี ดับเพลิง (Fire hydrant)

สญั ลักษณ์ ควำมหมำย หนำ้ ท่ี Cleanout ช่องทาความสะอาดท่อ Manhole ชอ่ งเปดิ บารงุ รักษา Automatic air vent ทร่ี ะบายอากาศอัตโนมัติ Pressure relief valve วาล์วปลดความดนั Vent through roof ท่อระบายอากาศในสว่ นทโ่ี ผลห่ ลังคา Air chamber ห้องอากาศ Fire hose cabinet ตเู้ กบ็ สายดับเพลงิ Water meter มาตรวดั น้า Floating switch valve ประตนู ้าลกู ลอย Siamese connection ท่ีต่อสายดบั เพลิงนอกอาคาร Elbow turned up ทอ่ ข้ึนแนวดง่ิ Elbow turned down ท่อลงแนวด่งิ Connection or Tee up สามทางขนึ้ Connection or Tee down สามทางลง



สญั ลกั ษณ์ ขอ้ ต่องอแบบเช่อื ม

ขอ้ ต่องอ ดำ้ นบน ดำ้ นขำ้ ง ด้ำนหนำ้

วำล์วกันกลบั ด้ำนบน ดำ้ นขำ้ ง ด้ำนหน้ำ

สญั ลกั ษณ์ วำลว์ กันกลบั แบบเช่อื ม

ภำพฉำยสำมด้ำน (Double Line) ด้ำนบน ดำ้ นขำ้ ง ดำ้ นหนำ้

ภำพฉำยสำมดำ้ น (Single Line) ดำ้ นบน ดำ้ นขำ้ ง ด้ำนหน้ำ





ภาพฉายสามด้าน



ภำพฉำยดำ้ นบน (Single Line)

วัสดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล 1) ท่อเหล็กกล้าชนิดอาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipe) ท่อเหล็กกล้าชนิดอาบสังกะสีทามาจากเหล็กเหนียว อาบสังกะสีทั้ง ดา้ นนอกและด้านในเพอื่ ป้องกันสนิม มีความแขง็ แรงมากกว่าท่อชนิด อน่ื ๆ ราคาปานกลาง แต่มีข้อเสียคือ ตะกรันจับได้ง่าย ความยาว ท่อนละ 6 เมตร ท่อเหล็กอาบสังกะสีจะใช้เปน็ ท่อน้าเย็น ท่อน้าเสีย ภายในอาคาร ทอ่ ระบายอากาศ

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสุขาภิบาล การต่อท่อเหล็กนี้โดยท่ัวไปใช้วิธีตอ่ กันด้วยเกลยี วหรือเชื่อมใน กรณีทีเป็นท่อขนาดใหญ่ และต้องการให้รอยต่อทนความดันสูง เช่น ท่อดับเพลิง ท่อเหล็กจะต้องมีขนาด ความหนาและน้าหนักตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่ี 277-2532 ซึ่งมีชนิดหนา ปาน กลาง และ บาง สังเกตได้โดยสีทค่ี าดท่อโดยท่อหนาคาดสีน้าเงิน ท่อ หนาปานกลางคาดสเี ลือดหมู ทอ่ บางคาดสีเหลือง ตามลาดบั

วสั ดุที่ใชท้ าทอ่ ในงานประปาและสขุ าภิบาล มาตรฐานของท่อที่ใช้เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ มอก. จะแสดงขนาดและน้าหนักมาตรฐานของท่อประเภทต่าง ๆ เรียกกันว่าตารางท่อ โดยแยกตามความหนาของท่อ ท่อ Class A จะเปน็ ท่อบาง ท่อ Class B จะเปน็ ท่อปานกลาง ท่อ Class C จะเป็นท่อหนา การเรียกขนาดจะใกล้เคียงกับเส้นผ่านศูนย์กลาง ภายใน

วัสดุที่ใชท้ าท่อในงานประปาและสุขาภิบาล 2) ท่อเหล็กหล่อ (Cast Iron Pipe) ท่อเหล็กหล่อทาข้นึ จาก เหล็กผสมคาร์บอน จึงมีความแข็งแต่เปราะ มีขนาดเป็น 2 ขนาด คือกลมุ่ ขนาดเล็ก  2\"-4\" ขนาดใหญ่  100 มม. ขน้ึ ไป ขนาด เล็กอาบยางมะตอย เพื่อป้องกันสนิมใช้เป็นท่อระบายน้าโสโครก ยาวท่อนละ 5 ฟตุ (1.50 ม.) ตอนปลายท่อบานขยายออกเปน็ ปาก ระฆงั เพื่อรับปลายทอ่ ทีจ่ ะมาต่ออีกด้านหน่ึง

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดุที่ใช้ทาท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล อปุ กรณ์ข้อต่อมีหลายประเภท ท้ังการใช้เชือกปออัดแลว้ หยอดด้วย ตะกั่ว ซ่ึงเรียกว่าวิธีอัดหมันตะกั่ว ถ้าเป็นท่อขนาดใหญ่ ใช้เป็นท่อ ส่งนา้ ประปาภายนอกอาคาร การต่อท่อเหล็กหล่อประเภทน้ีโดยการ ใช้หน้าจาน (flange) หรือ การใช้ปลอกเหล็กอัดด้วยแหวนยาง แลว้ แตช่ นดิ ของการใช้งาน

วัสดุทีใ่ ชท้ าทอ่ ในงานประปาและสุขาภิบาล 3) ท่อทองแดง (Copper pipe) เปน็ ท่อที่มีความแข็งแรง แต่ ราคาแพงทนทานต่อการกัดกร่อนไดด้ ี มีผิวเรียบ และเกิดตะกรันจับ ถ้าอายุการใช้งานนาน ใช้เป็นท่อส่งน้าร้อนภายในอาคาร ขนาดที่ ผลิตออกจาหน่าย มีทั้งแบบอ่อนและแบบแข็ง แบบอ่อนเป็นขด แบบแข็งเป็นท่อนท้ังสองแบบมีชนิดหนา(K) ปานกลาง(L,M) บาง (DWV) การต่อท่อทองแดงนี้ถ้าเป็นแบบมีเกลียวก็ต่อแบบเกลียว ถา้ ไมม่ ีเกลียวก็ต่อโดยการเช่ือม

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดุที่ใช้ทาทอ่ ในงานประปาและสขุ าภิบาล 4) ท่อกระเบื้องใยหิน (Asbestos cement pipe) ท่อ กระเบ้ืองใยหินหรือท่อซีเมนต์ใยหินทามาจากเส้นใยแอสเบสตอส ผสมกับซเี มนตแ์ ล้วอัดด้วยความดันสูง มีความคงทน แข็งแรงไม่เป็น สนมิ ผิวเรยี บ ใชเ้ ป็นท่อสง่ นา้ ประปาขนาดใหญห่ รือระบายน้าเสีย มี ท้ังประเภทที่รับแรงดันและไม่รับแรงดัน การตอ่ ท่อชนิดน้ีจะต่อโดย ใช้ซีเมนต์พลาสเตอร์ยาท่ีปากระฆงั หรือใช้ข้อต่อกลม ท่ีมีแหวนยาง อยภู่ ายใน แล้วแต่ชนดิ ของการใช้งาน

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดุที่ใช้ทาท่อในงานประปาและสุขาภิบาล 5) ท่อคอนกรีต (Concrete pipe) ท่อคอนกรีตมีทงั้ แบบไม่ เสรมิ เหลก็ และแบบเสริมเหล็ก มีขนาดต้ังแตเ่ สน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 30 ซม.ขึ้นไปความยาวปกตทิ ่อนละ 1 เมตร ใชส้ าหรับเป็นท่อระบาย น้าภายนอกอาคาร (Building Sewer) โดยฝังดิน การต่อท่อใช้วธิ ี สวมเขา้ ด้วยกันแลว้ ยาดว้ ยปูนซเี มนต์

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดุที่ใชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล 6) ท่อพีวีซี (Polyvinyl chloride pipe) ท่อพีวีซีผลิตขึ้น ดว้ ยสารสังเคราะห์ น้าหนักเบาทนต่อการกัดกร่อน ไม่มีตะกรัน จับผนังท่อ แต่บอบบางแตกหักง่าย และไม่เหมาะสมกับที่มีแสงแดด ขนาดเท่ากับท่อเหล็กอาบสงั กะสี ท่อพีวีซีแข็งสาหรับใช้เป็นท่อน้าดี หรือท่อระบายน้าจะต้องได้ตามมาตรฐานลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มี ขนาดตามความหนา 3 ขนาด ชนิดหนาสีฟ้าใช้เป็นท่อน้าดี ชนิด กลาง สีเทาใช้เป็นท่อระบายน้า ชนิดบางสีเหลือง ใช้เป็นท่อร้อย สายไฟ

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วสั ดทุ ีใ่ ช้ทาท่อในงานประปาและสุขาภิบาล นอกจากน้ีท่อสีฟา้ ยังมีอีก 3 ช้ันคือ ชั้น 5, 8.5 และ 13.5 โดย แบ่งตามความสามารถในการรับแรงดันภายในคือ 5, 8.5 และ 13.5 กก/ซม2 ตามลาดับ การต่อท่อพีวีซีน้ีโดยท่ัวไปจะใช้น้ายาทาความ สะอาดบริเวณท่ีจะต่อกัน แล้วจึงใช้น้ายาเช่ือมท่อของบริษัทผู้ผลิต ทาต่อเช่ือม ตามวิธีการ หรือเช่ือมด้วยความร้อน หรือต่อโดยใช้ปาก ระฆัง สาหรับท่อขนาดใหญ่ ข้ึนอยู่กับท่อท่ีจะนามาใช้ ความยาว ปกติ 4 เมตร

วสั ดุทีใ่ ช้ทาทอ่ ในงานประปาและสขุ าภิบาล 7) ท่อพีอี (Polyethylene Pipe) ท่อพีอมี ีทงั้ ชนิดทอ่ อ่อน และทอ่ แขง็ สีดา ขนาดท่อ  3/4-12 ทอ่ อ่อนเปน็ มว้ นความ ยาวต่อมว้ นเทา่ กบั 50, 100, 150, 200 เมตร ท่อแขง็ เป็นท่อนๆ ละ 6 เมตร มที ง้ั ชนดิ ความหนาแนน่ สงู (HDPE) รบั แรงดนั ได้สูงใช้ กบั งานทอ่ ส่งน้าประปา ทอ่ ชลประทาน ทอ่ ส่งน้าใตท้ ะเลหรือทอ่ นา้ ทงิ้ โรงงานอุตสาหกรรม และความหนาแน่นต่า (LDPE) ใช้กบั ท่อใน งานเกษตรกรรมการต่อท่อใชว้ ธิ สี วมอดั ข้อตอ่ แลว้ รัดดว้ ยตวั จบั ยดึ (Clamp) หรือใช้การตอ่ แบบบานปลายทอ่ คล้ายกับท่อพีบี

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

วัสดทุ ี่ใชท้ าทอ่ ในงานประปาและสุขาภิบาล 7) ท่อพีพีอาร์ (Polypropylene Random Copolymer) เป็นพลาสติกคุณภาพสูงชนิดหน่ึงท่ีคิดค้นและพัฒนาข้ึนเพ่ือใช้ ทดแทนท่อโลหะอย่างท่อทองแดง มีคุณสมบัติทางเคมีและทาง กายภาพที่เหมาะกบั การใชใ้ นงานท่อน้าอ่นุ ทอ่ น้ารอ้ น สามารถติดตัง้ ร่วมกับท่อชนิดอื่นได้ตามลักษณะงาน การต่อท่อสามารถใช้วิธี เช่อื มตอ่ กบั ขอ้ ต่อด้วยความรอ้ น

วสั ดุทีใ่ ชท้ าท่อในงานประปาและสขุ าภิบาล

การเลือกใช้ทอ่ และมาตรฐานทอ่ ชนิดท่อ ทอ่ ประปา ท่อประปาภายใน การใชง้ าน ท่อโสโครก,ท่อ ท่อระบาย บรกิ าร อาคาร ท่อนา้ ร้อน ระบายอากาศ น้านอกอาคาร 1.ทอ่ เหลก็ กล้าชนดิ อาบสงั กะสี (Galvanized Steel Pipe) X X X 2. ท่อเหล็กหล่อ (Cast Iron Pipe) ขนาดเล็ก X X X ขนาดใหญ่ X X 3. ท่อทองแดง (Copper Pipe) ชนิดหนา (K) X XX 4. ท่อกระเบ้ืองใยหิน (Asbestos Pipe) -ไมท่ นความดนั - ทนความดนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook