Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการ ป.ป.ช. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

วารสารวิชาการ ป.ป.ช. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

Published by journal.nacc, 2022-02-18 01:51:26

Description: วารสารวิชาการ ป.ป.ช. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

Search

Read the Text Version

วารสารวชิ าการ ป.ป.ช. NCCC Journal ISSN 1906-2087 ปท่ี ๑ ฉบบั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๑ เจา ของ วตั ถุประสงค สำนักงานคณะกรรมการปอ งกัน และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ ● เพื่อเปนแหลงรวบรวมและเผยแพรผลงานวิจัย ๑๖๕/๑ ถนนพิษณโุ ลก เขตดสุ ิต และผลงานทางวิชาการอ่ืนดานการปองกันและ กทม. ๑๐๓๐๐ ปราบปรามการทุจรติ โทรศพั ท ๖๖-๒๒๐๗-๐๑๗๑ โทรสาร ๖๖-๒๒๐๗-๐๑๗๑ ● เพื่อใหมีการใชประโยชนจากผลงานวิจัย ผลงาน E-mail : [email protected] วิชาการ และการสรางความตระหนักในการตอ [email protected] ตานการทุจริตรว มกัน ทปี่ รกึ ษา ● เพื่อใหเกิดความรวมมือและประสานงานในการ ศาสตราจารย ดร. เมธี ครองแกว บริหารจัดการขอมูลงานวิจัยดานการปองกันและ ศาสตราจารย ดร. ภักดี โพธศิ ริ ิ ปราบปรามการทุจริตระหวางหนวยงานและ สถาบันการวิจัยตางๆ บรรณาธกิ าร ศาสตราจารย ดร. วนั เพญ็ สรุ ฤกษ ● เพื่อใหมีการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและ เอกสารส่ิงพมิ พตา งๆ กบั หนว ยงานและเครือขา ย กองบรรณาธิการ ทเ่ี กย่ี วของ รองศาสตราจารย ดร.โกวิทย กังสนนั ท ศาสตราจารย ดร. จตุรนต ถริ ะวัฒน กำหนดออก ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. ดารารตั น รายป อานันทนะสุวงค ผชู วยศาสตราจารย ดร. รววิ รรณ เทนอสิ สระ ภาพปก อาจารยส ามารถ ศรจี ำนงค จดั พิมพเพือ่ เผยแพรเ ฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ กองการจดั การ วโรกาสเจริญพระชนมายคุ รบ ๓๖ พรรษา นายชยั ยศ สนิ ธุประสทิ ธิ์ ผจู ัดการ ภาพถา ยโดย ศาสตราจารย ดร. ศกั ดา ศิริพันธ นางรัชนศิ เกยี รติภญิ โญ ผูชว ยผูจัดการ นางศิริรตั น วสวุ ัต บทความในวารสารน้ีเปนสวนหนึ่งของการ นางจินตนา พลอยภัทรภญิ โญ เผยแพรเอกสารทางวิชาการ มิใชเปน ความเหน็ นางสุนยี  ธนสู ทิ ธ์ิ ของสำนักงานคณะกรรมการปองกันและ นายพชิ ติ คำมา ปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ นางสาวสุธดิ า รักษแกว

NCCC Journal ISSN 1906-2087 Vol 1 No.1 : January 1, 2008 Publisher Objectives ● To serve as the center for compiling and The National Counter Corruption Commission disseminating research findings and other academic works on corruption prevention and 165/1 Pitsanuloke Road, Dusit District, suppression. Bangkok 10300 ● To encourage the use of the research findings Telephone : 66-2207-0171 and academic works and to enhance public Fax : 66-2207-0171 awareness to collectively counter the E-mail : [email protected] corruption. ● To promote collaboration and coordination in [email protected] managing research information on countering corruption among the agencies and research- Advisory Board based institutions. ● To promote the exchange of information and Professor Dr. Medhi Krongkaew documents among the concerned agencies and Professor Dr. Pakdee Pothisiri networks. Chief Editor Publishing Period Annual Professor Dr.Vanpen Surarerks Views expressed in the articles published in Editorial Board this Journal exclusively belong to the authors. and do not necessarily reflect the official Assoc. Prof. Dr. Kowit Kangsanun position of the NCCC. Professor. Dr. Jaturon Thirawat Asst. Prof. Dr. Dararatt Anantanasuwong Asst. Prof. Dr. Rawiwan Tenissara Lecturer Samart Srijumnong Managerial Board Mr. Chaiyot Sintuprasit Manager Mrs. Ratchanij Kiatpinyo Asst. Manager Mrs. Sirirat Vasuvat Mrs. Chintana Ploypatarapinyo Mrs. Sunee Tanusit Mr. Pichit Khamma Miss. Suthida Rakkaew

สารบัญ ผูกอตัง้ สำนักงาน ป.ป.ป.-ป.ป.ช. สารจากประธานกรรมการ ป.ป.ช. บทบรรณาธกิ าร ตอนท่ี ๑ แนวคดิ เก่ียวกับจติ สำนกึ ดา นจริยธรรมในสังคมไทย การเสริมสรา งจริยธรรมเพ่ือประโยชนส ุขของประชาชน ๒ ดร. สุเมธ ตนั ติเวชกลุ ๕ ผูท ำงานเพ่อื สาธารณะ ๗ ฯพณฯ ศาสตราจารย นายแพทยเ กษม วัฒนชัย ๑๖ แนวคดิ การทุจรติ คอรร ปั ชนั ในสงั คมไทย ๒๐ ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานนั ท ปนยารชุน ๒๓ ๒๕ ตอนที่ ๒ ขอคดิ และหลักการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ จากกรรมการ ป.ป.ช. ๒๗ ขอ คิดในการจดั ทำยุทธศาสตรภารกิจหลกั ของชาติ ๓๓ ในงานปองกันและปราบปรามการทุจรติ ๕๒ ปานเทพ กลาณรงคราญ ขอคดิ และหลักการดานการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ ๖๖ ภักดี โพธศิ ริ ิ ขอคดิ และหลักการดา นการปองกนั และปราบปรามการทุจริต กลา นรงค จันทกิ ขอ คิดและหลักการดา นการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต ประสาท พงษศวิ าภัย ขอคิดและหลักการดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต ใจเด็ด พรไชยา ผลประโยชนสว นตนจากความสญู เสยี สว นรวม : การรบั มือกับการ ทุจรติ จากผลประโยชนทบั ซอนในประเทศไทย เมธี ครองแกว วิธไี ตส วนคดีทุจริตและการทำสำนวนของ ป.ป.ช. วิชา มหาคณุ ตอนที่ ๓ บทความวชิ าการเก่ียวกบั การตอตา นการทุจริตคอรรัปชนั ทจุ รติ คอรร ปั ชนั กับประเด็นทางวฒั นธรรม สริ ิลกั ษณา คอมันตร

นิตริ ฐั ในมิตขิ องสงั คมไทย ๘๓ วสุ สิงหัษฐติ ๙๕ ๑๐๕ ความรบั ผดิ ชอบของภาคธรุ กิจเอกชนตอสงั คม จากภาระสูยุทธศาสตร เอกชยั อภิศกั ดก์ิ ลุ ๑๒๒ ๑๒๕ Anti-Money Laundering Laws and Cases in the United States ๑๒๗ Chief Judge B.Lynn Winmill ๑๓๓ US. District Court–District of Idaho ๑๓๗ ตอนท่ี ๔ ปกิณกะเรือ่ ง ป.ป.ช. จากกองบรรณาธิการ ศัพทนารเู รอ่ื ง ป.ป.ช. : การฉอ ราษฎรบ งั หลวงและการทุจริต การสนบั สนุนทนุ วจิ ยั ของสำนักงาน ป.ป.ช. ปงบประมาณ ๒๕๕๐-๒๕๕๑ สรปุ รายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชุดปจจุบนั (๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ - ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๐) หลกั เกณฑการรบั บทความลงพมิ พใ น “วารสารวชิ าการ ป.ป.ช.” ไทย-องั กฤษ แบบบอกรบั การเปนสมาชิกวารสารวิชาการ ป.ป.ช.

Table of Content Founding Father of the OCCC - NCCC Words from the NCCC Chairperson Editorials Part I : Conceptual Framework Regarding Moral Consciousness in Thai Society Strengthening Morality for the People’s Beneficial Happiness Dr. Sumet Tantiwechakul Public Servant – the People Who Serve the Public H.E. Professor Kasem Watanachai (M.D.) Concept of Corruption in Thai Society H.E. Former Prime Minister Anand Panyarachun Part II : The NCCC Commissioner on Corruption Prevention and Suppression On Strategies to Carry out the National Agenda in Preventing and Suppressing Corruption Mr. Panthep Klanarongran On Corruption Prevention and Suppression Prof. Dr. Pakdee Pothisiri On Corruption Prevention and Suppression Mr. Klanarong Chanthick On Corruption Prevention and Suppression Mr. Prasat Phongsiwapai Suggestions and Principles for the Corruption Prevention and Suppression Mr. Jaided Pornchaiya Private Gains from Public Losses : How Thailand Copes with Corruption from Conflict of Interest Prof. Dr. Medhi Krongkaew Standard Operational Procedures for Investigating Corruption Cases and the NCCC’s File of Inquiry Professor Vicha Mahakun Part III : Academic Articles on Countering Corruption Corruption and Cultural Issues Assoc. Prof. Dr. Sirilaksana Khoman Legal State in Thai Society Lecturer Wasu Sinhashthita Private Sector’s Social Responsibility: From Obligation to Strategy Dr. Ekachai Apisakul Anti-Money Laundering Laws and Cases in the United States Chief Judge B. Lynn Winmill US. District Court-District of Idaho

Part IV : Miscellaneous on NCCC from the Editorial Board Terminology on NCCC NCCC’s Research Fund for Budgetary Year 2007-08 Summary of the Operation Under the Present NCCC (September 22, 2006 - December 31, 2007) Call for Papers to be Published in the NCCC Journal NCCC Journal Subscription Form

ฯพณฯ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๑๖ - พ.ศ. ๒๕๑๘) ผกู อ ตัง้ สำนกั งาน ป.ป.ป.-ป.ป.ช. รฐั บาลสมัย ฯพณฯ นายสญั ญา ธรรมศักดิ์ เปน นายกรฐั มนตรี (พ.ศ. ๒๕๑๖) ไดม เี จตจำนงที่จะปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ เพ่ือสนองตอบเสียงเรียกรองของประชาชนจาก ทั่วสารทิศในชวงเหตุการณประวัติศาสตรการชุมนุมเรียกรองประชาธิปไตยเม่ือวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ แตไดม าประกาศใชเปนพระราชบัญญัตเิ ก่ยี วกับเร่อื งนีใ้ นป พ.ศ. ๒๕๑๘ และไดแ ตง ตงั้ “คณะกรรมการปองกัน และปราบ-ปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ”-ป.ป.ป. สวน “สำนักงาน ป.ป.ป.” ไดมาจัดต้ังขึ้น ภายหลังในป พ.ศ. ๒๕๒๐ การปฏิบัติหนาท่ีตามภารกิจหลักของคณะกรรมการ ป.ป.ป. แมจะไดดำเนินการติดตอกันมานานรวม ๒๕ ป หรือประมาณ ๑๐ ปท่ีผานมา รัฐบาลในสมัยน้ันจึงไดตระหนักถึงความจำเปนท่ีตองปรับปรุงพัฒนา แนวทางการรณรงคตอสูกับปญหาการทุจริตใหมีประสิทธิภาพมากข้ึนกวาเดิม โดยไดกำหนดใหมีองคกรตรวจ สอบการใชอำนาจรัฐที่เปนอิสระจากฝายบริหารตามรัฐธรรมนูญแหงราช-อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และตอมาอีก ๒ ป จึงไดแตงตั้ง “คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ”-ป.ป.ช. และจัดตั้ง “สำนักงาน ป.ป.ช.” ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศักราช ๒๕๔๒ ขึ้นแทนองคกรและหนวยงานเดิมหรือ ป.ป.ป. องคกรปรับใหม หรือ ป.ป.ช. ไดใหความ สำคัญกับการสงเสริมใหประชาชนทุกภาคสวนหรือทุกคนมีสวนรวมท้ังความคิดเห็นและการกระทำ เพ่ือ สัมฤทธิผลในภารกจิ หลักดา นการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ ไดใ นท่สี ุด

The government under the premiership of His Excellency Sanya Dharmasakti, the 12th Prime Minister of Thailand, B.E. 2516-18, Founding Father of the OCCC – NCCC, conceived of the idea of setting up a counter-corruption agency to prevent and suppress corruption and wrongdoing in the government sector, in response to the clamoring demand from the people who came out onto the streets in the struggle for democracy on October 14, B.E. 2516. The “Commission on Counter Corruption (CCC)” and its secretariat office (OCCC) were set up. After more than 25 years of operation (about 10 years ago) the government at that time realized the need to revise the strategies to fight corruption in a more effective way. It then established the “National Counter Corruption Commission” with mandate from the B.E. 2540 Constitution as an independent agency free from the executive branch, as well as the Office of the National Counter Corruption Commission” according to the B.E. 2542 Constitution-annex law on the prevention and suppression of corruption, to replace the former Counter Corruption Commission and its office. The new feature was its autonomy to deal with the problems related to corruption. It also encourages people in all sectors of society to participate in the fight against corruption, in order to achieve its goals and mission.

สารจากประธานกรรมการ ป.ป.ช. นายปานเทพ กลา ณรงคราญ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มุงมั่นที่จะดำเนินการเพื่อปองกันและปราบปรามการทุจริตทั้งภาครัฐและ ภาคการเมือง ทั้งในระดับสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ิน และสรางความรวมมือกับตางประเทศ และองคกรระหวางประเทศเพื่อตอตานการทุจริตที่ขยายพรมแดนมากขึ้นในปจจุบัน โดยจะใชเคร่ืองมือและ กลไกตามรัฐธรรมนูญใหมใหเต็มท่ี เชน ดำเนินการเพื่อใหมีการถอดถอนผูทุจริตออกจากตำแหนง การตรวจ สอบทรัพยสินและหน้ีสินของผูดำรงตำแหนงทางการเมืองและเจาหนาท่ีของรัฐ การเปดเผยบัญชีทรัพยสินและ หน้ีสินของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภาตอสาธารณชน การใช มาตรการปองกันและปราบปรามการกระทำท่ีเปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชน สวนรวม ซึ่งเปนชองทางใหเกิดการทุจริต การกำกับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผูดำรงตำแหนงทาง การเมือง ซึ่งหากการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมเปนกรณีรายแรงจะนำไปสูการไตสวนเพ่ือ ถอดถอน การจัดตั้งกรรมการ ป.ป.ช. จังหวัด เพื่อใหปฏิบัติภารกิจปองกันและปราบปรามการทุจริตไดอยาง กวางขวางข้ึน ทั้งนี้โดยมียุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตเปนแกนประสานความ รว มมือจากทุกภาคสวนดวย กระบวนการดำเนินงานดังกลาวขางตน จำเปนตองอาศัยองคความรูทางวิชาการเปนพ้ืนฐาน ดังน้ัน ผลงานวิชาการที่ไดมาจากการศึกษาวิจัยอยางเปนระบบ จึงเปนสิ่งสำคัญย่ิงที่จะชวยชี้แนะ แกไขปญหา ขอขัดของ เสนอแนวทางการปฏิบัติท่ีเหมาะสม ตลอดจนสนับสนุนและพัฒนากระบวนการทำงานเพ่ือใหการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตเปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพและเกิดสัมฤทธิผล ผมหวังวา วารสารวิชาการ ป.ป.ช. ฉบับแรกและฉบบั ตอ ๆ ไป จะเปนแหลงความรูและแหลง อา งอิงทาง วิชาการ อันเกิดจากการระดมความคิดทางวิชาการและจากประสบการณ ตลอดจนเกิดจากการศึกษาวิจัยของ ผูทรงคุณวุฒิท้ังหลาย ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคสวนอื่นๆ ท่ีจะเปนประโยชนในการ กำหนดทิศทางของกระบวนการปองกันและการปราบปรามการทุจริตของประเทศ ท้ังในดานทฤษฎีและ การปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน รูปธรรม เพ่ือใหป ญ หาการทจุ ริตที่มีแนวโนมสงู ขน้ึ และมีความสลับซับซอนมากข้นึ ใหลดนอย ถอยลงอยางมนี ัยสำคญั

คณะกรรมการ ป.ป.ช. พ.ศ. ๒๕๔๙ - ปจจบุ นั นายปานเทพ กลาณรงคราญ ประธาน นายกลานรงค จนั ทกิ นายใจเดด็ พรไชยา นายประสาท พงษศวิ าภยั ศาสตราจารยภ กั ดี โพธิศริ ิ ศาสตราจารยเมธี ครองแกว นายวิชา มหาคุณ นายวิชัย วิวติ เสวี นางสาวสมลักษณ จดั กระบวนพล

»‚·èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ บทบรรณาธกิ าร แนวคดิ ในการจดั ทำวารสารวชิ าการ ป.ป.ช. เปน ครง้ั แรกน้ี ไดร เิ รมิ่ มาจาก ศาสตราจารย ดร. เมธี ครองแกว กรรมการ ป.ป.ช. และประธานอนุกรรมการฝายวิจัย ที่ไดเห็นถึงความสำคัญของการเผยแพรผลงานวิจัยและ หรือผลงานทางวิชาการอื่นดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตในวงราชการและการเมือง ที่กรรมการ ป.ป.ช. มอี ำนาจหนา ท่ใี นเร่ืองนต้ี ามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยการปองกันและปราบปรามการ ทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ สำนักงาน ป.ป.ช. จึงไดมีสวนรับผิดชอบงานนี้โดยตรง ตั้งแตปลายเดือนมิถุนายนท่ีผานมา (๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐) โดยเฉพาะในการสรรหาและคัดเลือกผลงานทาง วิชาการดังกลาวทั้งไทยและตางประเทศเพ่ือนำมาลงพิมพเผยแพรเปนประจำรายปอยางตอเนื่อง พรอมกับ การจัดทำบทแปลส้ันๆ ภาษาอังกฤษ - ไทย ประกอบบทความวิชาการนั้นๆ สำหรับเนื้อหาสาระท่ีโดดเดน นารู และนาสนใจศึกษาคนควาเสริมความรู เพ่ือการเผยแพรในวงวิชาการนานาประเทศไดอยางกวางขวางและ แพรหลาย ตลอดจนการนำไปใชประโยชนอยางทั่วถึงในหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน กลุม องคกรเอกชน มูลนิธิ สถาบันการศึกษา องคกรอิสระ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และสวนบุคคลท่ีเก่ียวของ และสนใจโดยท่วั ไป เปาหมายหลักก็เพื่อใหสังคมหรือทุกคนในสังคมเกิดการรับรู มีความตระหนัก และต่ืนตัวท่ีจะเขามา มสี ว นรว มในงานปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ใหบ รรลผุ ลอยา งจรงิ ใจและจรงิ จงั ตลอดจนมกี ารแลกเปลย่ี น ขอมูลขาวสารในเรื่องนี้ รวมทั้งการเผยแพรประชาสัมพันธนโยบาย ทิศทาง เปาหมายการดำเนินภารกิจหลัก ในยุทธศาสตรช าตดิ านการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตอยา งกวา งขวางและทวั่ ถึง แนวคดิ เกยี่ วกับจติ สำนกึ ดา นจริยธรรมในสังคมไทยเรอื่ งการตอ ตา นการทุจริตนัน้ นับวนั จะหา งหายและ ลืมเลือนไปจากสังคมไทยยุคใหมที่มุงใหความสำคัญกับผลประโยชนทางวัตถุนำหนาจิตสำนึกหรือจิตวิญญาณ ท่ีรวมกันรับผิดชอบตอสังคม ดังพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ไดอัญเชิญมาอางไวในบทความเร่ือง “การเสริมสรางจริยธรรมเพื่อประโยชนสุขของประชาชน” ที่วา “ภายใน ๑๐ ป เมืองไทยนาจะเจริญ ขอสำคัญ คือตองหยุดการทุจริตใหสำเร็จ และไมทุจริตเสียเอง” และ ฯพณฯ องคมนตรี ศาสตราจารย นายแพทยเ กษม วฒั นชัย กไ็ ดสรุปไวช ดั เจนในบทความเร่อื ง “ผูท ำงานเพอื่ สาธารณะ” วาทุกคนหรือทุกภาคสวนในสังคม ไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนตองยอมรับและปฏิบัติ ตามคำสอนของศาสนาหลกั ในโลกท่ีเนน “การยึดความสตั ย ความจริง การมีศักดิ์ศรีแหง ความเปน คนเทา เทยี ม กัน และการมีความรักความเมตตาตอกันและกัน” ซึ่ง ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ปนยารชุน เอง ก็ไดเนนย้ำจากการใหสัมภาษณในบทความเรื่อง “แนวคิดการทุจริตคอรรัปชันในสังคมไทย” วาจำเปนตองนำ เสาหลักใหญของระบอบประชาธิปไตยท่ีเชื่อมโยงกันมาเปนกลยุทธชวยลดปญหาการทุจริตคอรรัปชัน อาทิ หลักนิติรัฐ (ซ่ึงสามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากบทความเรื่อง “นิติรัฐในมิติของสังคมไทย” (11)

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. ของอาจารยวสุ สิงหัษฐิต) ความโปรงใส การยอมรับผิด เสรีภาพในดานขาวสาร และความเปนอิสระของ กระบวนการยตุ ธิ รรม เปน ตน ขอคิดและหลักการดานภารกิจหลักในการปองกันและปราบปรามการทุจริตจากกรรมการ ป.ป.ช. ชุดปจจุบันสวนใหญ ในภาพรวมแลวก็ไมตางจากของผูทรงคุณวุฒิท่ีกลาวถึงแลว โดยเฉพาะประธานกรรมการ ป.ป.ช. ทานปานเทพ กลาณรงค-ราญ ที่เนนวา “ทุกคนหรือทุกภาคสวนตองรวมมือรวมใจกันขจัดการทุจริต คอรรัปชันออกไป โดยใหเปนวาระแหงชาติตามที่รัฐบาลไดประกาศไปแลว” ในขณะที่ทานภักดี โพธิศิริ ก็ได พูดถึงการพัฒนาปรับโครงสรางของสำนักงาน ป.ป.ช. ยุคใหมตามรัฐธรรมนูญใหม ฉบับป พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อตอสูกับปญหาการทุจริตคอรรัปชันท่ีนับวันแตจะเพิ่มความซับซอนซอนเง่ือนมากขึ้นอยางทันทวงที โดยอาศัยความรวมมือรวมใจกันในระหวางผูที่มีสวนเก่ียวของและไดเสียทุกภาคสวนใหบรรลุเปาหมาย ในอนาคตอันใกล คือ “สังคมไทยมีวินัยและยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรม ทุกภาคสวนรวมกันปองกันและ ปราบปรามการทุจริต” ทานกลานรงค จันทิก ก็เนนขอคิดและหลักการดานใหภาคประชาชนเขามามีบทบาทท่ี สำคัญยิ่งในเรื่องของการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐ ดวยจิตสำนึกของการทำดี การสรางความกดดันทางสังคม การชวยกันเปนหูเปนตา และตองเปล่ียนทัศนคติคานิยมใหมวา “ทุกคนตองชวยกันและทุกคนตองกลายืนหยัด ทำในส่งิ ทถ่ี กู ตอ งโดยไมเ กรงกลัวตอ ส่ิงใด” เพราะการทุจรติ เปนสงิ่ ทำลายทุกส่ิงทกุ อยา ง ทั้งระบบเศรษฐกจิ และ ระบบสงั คม ทานประสาท พงษศ ิวาภัย เอง กไ็ ดส รุปขอคิดและหลกั การสำหรับภารกิจหลกั ของ ป.ป.ช. ในการ ตอตา นคอรร ปั ชนั ใหไดผ ลสำเรจ็ วา หัวใจสำคญั คือ “มกี ารประสานงานในลกั ษณะทมี งาน ท่ีรวมตวั จากทกุ ภาค สวน คือ กำปน ท่ีกลายเปนพลังตอสูและทำลายคอรรัปชัน” น่ันเอง สวนทานใจเด็ด พรไชยา ไดเนนระบบ บริหารงานของกรรมการและสำนักงาน ป.ป.ช. เพ่ือการตอตานและปราบปรามการทุจริตดวยกฎหมายหรือ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยตั้งแตเร่ิมแรกในป พ.ศ. ๒๕๑๘ จนปจจุบัน ป พ.ศ. ๒๕๕๐ สำหรับ ทานเมธี ครองแกว แมจะนำเสนอรูปแบบของการทุจริตในเร่ืองของผลประโยชนทับซอน หรือ Conflict of Interest ในสังคมไทย ท่ีเจาหนาที่ของรัฐที่เก่ียวของไดรับผลประโยชนเฉพาะตนอันไมสมควรในหลายรูปแบบ เพราะประโยชนนั้นนาจะเปนของรัฐหรือสวนรวม แมจะมีกฎหมายหลายฉบับในปจจุบันรวมท้ังฉบับท่ีจะออก ใหมเ รว็ ๆ น้ี ที่มีบทบญั ญตั ิในการกำจดั และปองปรามการขัดกันของประโยชนด งั กลา ว แตก ย็ ังเนน วา การดำเนนิ การตามกฎหมายจะสัมฤทธิผลไดอาจตองเสริมดวยการสรางคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานของเจาหนาท่ี รัฐ โดยมีประมวลจริยธรรมของแตละหนาท่ีการงานเปนเคร่ืองชวยสำคัญ และสุดทายทานวิชา มหาคุณ ก็ไดให ความสำคญั กบั ประเดน็ วธิ ีการไตสวนคดที จุ รติ และการทำสำนวนของ ป.ป.ช. ทม่ี อี ำนาจหนา ทตี่ ามกฎหมายนัน้ จนปจจุบันก็ยังมีปญหาอยูมากมาย โดยเฉพาะการท่ีกรรมการ ป.ป.ช. ตองเปนประธานอนุกรรมการไตสวน ทุกเร่ือง ตลอดจนปญหาเก่ียวกับกระบวนการ อันชอบดวยกฎหมาย หรือ Due Process of Law และวิธีการ ไตสวน ซ่ึงลวนแลวแตยังมีปญหาอุปสรรคหลากหลายและมากมาย ไมวาจะเปนคดีสำคัญมากหรือนอย หรือเปนคดีเล็กหรือคดีใหญก็ตาม ทำใหการไตสวนเปนไปอยางลาชา ดังน้ัน กรรมการ ป.ป.ช. จึงควรเปนเพียง ผูกำกับดูแลการไตสวนเฉพาะเรื่องที่มีความสำคัญ หรือมีความสลับซับซอนยุงยาก หรืออยูในความสนใจของ ประชาชนก็นาจะเพียงพอ ไมใชทำสำนวนเองทุกเรื่อง เพราะจะทำใหกระบวนการไตสวนเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพไดมากกวา ท่ีเปน อยูใ นปจจุบัน (12)

»‚·Õè ñ ©ºÑº·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ บทความอื่นๆ เก่ียวกับการตอตานการทุจริตคอรรัปชันในวารสารนี้ก็ลวนแลวแตเปนการให รายละเอียดจากผลการศึกษาวิจัยและหรือจากผลงานวิชาการอื่นๆ ที่ชวยสรางเสริมความรูความเขาใจ และเปนประโยชนแกงานในภารกิจหลักของคณะกรรมการและสำนักงาน ป.ป.ช. ไมวาจะเปนการนำเสนอใน แงมุมใหมของประเด็นทางวัฒนธรรมกับปญหาการทุจริตคอรรัปชันที่ผูเสนอนำมาวิเคราะหในเชิงสถิติหรือ เศรษฐมิติท่ีพบวา “การพฒั นาทางเศรษฐกิจและการออกแบบโครงสรา งเชิงสถาบนั เพอื่ ตอ สูก บั ปญหาการทุจรติ คอรรัปชัน ยังคงเปนเง่ือนไขจำเปนที่จะชวยลดปญหาการทุจริตคอรรัปชัน” แมมิติทางวัฒนธรรมที่มีนัยสำคัญ ตอ ระดบั ความโปรง ใสของสงั คมจะมมี ากนอ ยเพยี งใดกต็ าม นอกจากนนั้ จะไดร แู ละเขา ใจไดช ดั เจนวา “หลกั นติ ริ ฐั ของประเทศไทยเปนอยางไร และมีความสัมพันธกับปญหาการทุจริตคอรรัปชันอยางไรบาง เพ่ือประโยชน ในการกำหนดแนวทางแกไขปญหาทุจริตคอรรัปชันไดอยางมีประสิทธิภาพ” ยิ่งกวานั้น ไมเฉพาะแตภาค ประชาชนเทานั้นท่ียอมรับกันในสังคมไทยวา ทุกคนตองมีจิตสำนึกดานจริยธรรมและเขามามีสวนรวมในการ ตอ ตานปราบปรามและปองกันการทจุ ริต “ภาคธรุ กิจเอกชนก็มีความสำคญั ไมน อยไปกวากนั ในแงม มุ ของความ รับผิดชอบตอสังคม” มีการกระทำที่เสมอภาคและโปรงใสตลอดจนมีกฎกติกาเกี่ยวกับจริยธรรมในการ ประพฤติตนของผูบริหารและหรือผูประกอบการ อันจะสงผลตอการสรางมูลคาเพ่ิมแกวงการธุรกิจเอกชนหรือ เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวมไดอยางย่ังยืน และไดเสนอมุมมองที่ บี ลิน วินมิลหัวหนาตุลาการศาลของ มลรัฐไอดาโฮ ประเทศสหรัฐอเมริกานำมาอางอิงไวอยางนาฟงในบทความเก่ียวกับกฎหมายและคดีการตอตาน การฟอกเงินในประเทศสหรัฐอเมริกาเก่ียวกับผลของความหายนะจากการทุจริต คือ “ผลกระทบที่แทจริงของ การทุจริตในปจจุบันเปนท่ียอมรับกันอยางกวางขวางวาการทุจริตนั้นไดเบี่ยงเบนธุรกิจการตลาดและการ แขงขัน การแพรขยายพฤติกรรมความเห็นแกตัวและการเยาะเยยถากถางของประชากรในชาติดวยกัน มีการ บอนทำลายหลักนิติธรรมและสรางความเสียหายตอความชอบธรรมของรัฐบาล รวมท้ังไดกัดกรอนทำลาย คุณธรรมของภาคเอกชนไปพรอ มๆ กันดวย” สาระในวารสารวิชาการ ป.ป.ช. ฉบับแรกน้ี จะชวยเสริมสรางความรู ความเขาใจ ความตระหนัก และการมีจิตสำนึกดานจริยธรรม ความซื่อสัตยสุจริต ตลอดจนความรับผิดชอบรวมกันของทุกภาคสวนในการ ชวยลดปญหาการทุจริตคอรรัปชันหรือการโกงกินในสังคมไทย และจะไดรับพรถาปฏิบัติตนไดตามแนว พระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว ดงั นี้ …“แตถาไมทุจริต สุจริต และมีความต้ังใจมุงมั่นสรางความเจริญ ก็ขอใหตออายุไดถึง ๑๐๐ ป สว นคนไหนที่มีอายมุ ากแลว ขอใหแ ข็งแรง ความสจุ รติ จะทำใหป ระเทศไทยรอดพนอนั ตราย” (13)

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. Editorial : The publication of the NCCC Journal was initiated by Professor Dr. Medhi Krongkaew, NCCC Commissioner and Chairperson of the Sub-Committee on Research. Professor Medhi places great significance on the publication of research findings and other academic articles related to the prevention and suppression of corruption in government agencies and the political mechanism. The NCCC is empowered to fight such corruption under Article 105 of the Law on the Prevention and Suppression of Corruption, B.E. 2542. The Editorial Board of the Journal has been responsible for this publication since June 28, 2007. It has been involved in the selection of articles written both by Thai and foreign authors to be published in this annual Journal. In order to stimulate interest and broaden dissemination, translations of salient parts of each article into either Thai or English have been included. The Editorial Board hopes that this Journal will be useful and relevant to agencies or organizations in the public, private, and civil society sectors as well as non-governmental organizations, foundations, educational institutions, independent organizations, local administrative organizations, and interested individuals at large. The prime goal is to foster awareness in society and encourage societal participation in the prevention and suppression of corruption. We also hope to stimulate wider exchange of information and the sharing of knowledge. The Journal also serves as a platform to publicize policies, goals, and progress in carrying out the NCCC’s strategic mission to prevent and suppress corruption. The moral will to counter corruption in Thai society has become weakened at the present time, with material gains taking precedence over social responsibility. His Majesty the King fully recognizes this, and is quoted by Dr. Sumet Tantiwechakul in his article on “Strengthening Morality for People’s Happiness-inducing Benefit”, as saying “…In 10 years, Thailand should be prosperous, but the problem is that we have to succeed in combatting corruption and should not commit it ourselves.” His Excellency Professor Kasem Watanachai clearly concludes in his article, “Public Servants – People Who Serve the Public” that everyone in every sector – public, private or civil society should live up to the teachings of their religions that exhort people to follow the path of “honesty, truth, equality in human dignity, and love and kindness for one another.” The former Prime Minister, His Excellency Anand Panyarachun also pointed out in his interview on “Concept of Corruption in Thai Society” that it is necessary to maintain the foundations of democracy to serve as the strategy to reduce corruption. One of these foundations is the concept of the rule of law, which readers can further find in the article “Rule of Law in Thai Society” by Wasu Sinhashthita. Other foundations include transparency, accountability, freedom of the press, and integrity of the justice system. Similar concepts and principles in preventing and suppressing corruption are propounded by the NCCC Commissioners. The NCCC Chairperson, Mr. Panthep Klanarongran, in particular, states that “every individual or sector has to lend a hand in eradicating corruption and this has been declared a national agenda by this government”. Professor Dr. Pakdee Pothisiri also emphasizes that in restructuring the Office of the NCCC in compliance with the B.E. 2550 Constitution, to efficiently combat corruption which has become complex, cooperation from all the stakeholders in society is vital in order to attain the goal of “a Thai society whose people are self-disciplined, steadfast in morality, with every sector working together to prevent and suppress corruption.” Mr. Klanarong Chanthick focuses on the concept and principle of empowering civil society to take on an important role in monitoring the use of state power, through social consciousness, social pressure, watching out for any wrongdoing, and adopting a new set of values whereby “everyone helps one another to maintain integrity without fear of intimidation.” This strategy must be adopted as corruption can have destructive consequences, no matter what the economic or social system. In regard to this, Mr. Prasat Phongsiwapai (14)

»‚·Õè ñ ©ººÑ ·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ concludes in his article that “…for the NCCC to effectively counter corruption, the key principle is to work collaboratively with every sector in society and build up a strong teamwork. This united force serves as the powerful fist to fight a winning battle against corruption.” Mr. Jaided Pornchaiya focuses on the administrative system used by the NCCC Commissioners and the secretariat office to suppress corruption within the legal framework provided by the earlier B.E. 2518 Constitution up to the present B.E. 2550 one. Professor Dr. Medhi Krongkaew, focuses on conflict of interest in Thai society that involves government officials extracting or amassing benefits unlawfully. Though many laws have been issued to prevent and suppress such corruption, the enforcement of the law requires that some effort must be undertaken to improve the officials’ morality and ethics. These moral guidelines should be laid down specifically for each of type of public office. Last but not least, Professor Vicha Mahakun points out the importance of the procedures to investigate corruption cases under the authority of the NCCC Many problems and difficulties are encountered in these procedures, particularly the requirement that the NCCC Commissioners have to chair every investigative committee for all cases, big or small. This causes delays in the investigation. The author recommends that the NCCC Commissioners serve only as supervisors and oversee only the significant or complicated cases of interest to the general public. It is not feasible for the NCCC to investigate and prepare detailed case files for every case. A selective practice should make the investigation more effective. Other articles on countering corruption in this Journal present details from research findings or academic work which would enhance knowledge and understanding and contribute towards the mission carried out by the NCCC. The cultural aspect of corruption is investigated in one paper using statistics and econometrics. The findings show that while cultural factors do indeed determine the level of corruption, economic and political factors also play a prominent role. This suggests that “economic development and the design of an appropriate institutional framework can have an impact in reducing corruption”. However, though the cultural aspect is significant, there is a need to realize “the principle of legal state in Thai society and how it interacts with corruption in order to set up proper guidelines for solving the problem of corruption in an effective way.” Moreover, not only does civil society have to realize that everyone must uphold morality and take part in the war against corruption, “the private sector has no less significant role in being responsible to society.” They too have to operate on the basis of equality and transparency as well as to have a code of conduct for the management or entrepreneur, which should lead to a sustainable way of creating value to their business or to the economy. This point is also made by Chief Judge B. Lynn Winmill, US. District Court–District of Idaho who wrote about law and cases of money laundering which could lead to disastrous consequences. He says “The true impact of corruption is now widely acknowledged: corruption distorts markets and competition, breeds cynicism among citizens, undermines the rule of law, damages government legitimacy, and corrodes the integrity of the private sector.” The content of this first issue of the NCCC Journal, should enhance knowledge, understanding, awareness, and moral consciousness and honesty as well as the mutual responsibility of every sector in reducing corruption in Thai society. May those who adhere to moral values receive the blessings of our beloved King: “I wish those who stay away from it (corruption), those who are honest and determined to create prosperity for the country, long life up to 100 years with good health, and for those who have already lived long, good health as well. Only honesty will save Thailand from destruction…” (15)

วา ง

»‚·Õè ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ๑ตอนที่ แนวคดิ เกี่ยวกบั จิตสำนกึ ดา นจริยธรรมในสงั คมไทย Conceptual Framework Regarding Moral Consciousness in Thai Society 1

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. การเสริมสรางจริยธรรมเพ่อื ประโยชนสุขของประชาชน ดร. สุเมธ ตันตเิ วชกุล* ...“ภายใน ๑๐ ปเมืองไทยนาจะเจริญ ขอสำคัญ คือ ตองหยุดการทุจริตใหสำเร็จ และไมทุจริต เสยี เอง”... ...“ถาทุจริตแมแตนิดเดียวก็ขอแชงใหมีอันเปนไป พูดอยางนี้หยาบคาย แตวาขอใหมีอันเปนไป แตถ าไมทุจริต สจุ รติ และมคี วามตงั้ ใจมงุ ม่ันสรางความเจรญิ กข็ อใหตออายุไดถงึ ๑๐๐ ป สวนคนไหน ทมี่ ีอายมุ ากแลว ขอใหแขง็ แรง ความสจุ ริตจะนำใหประเทศไทยรอดพนอนั ตราย”... พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระราชทานแกคณะผวู า ราชการจงั หวัดแบบบูรณาการ ในโอกาสเขา เฝา ถวายสัตยป ฏญิ าณ เม่ือวนั ที่ ๘ ตลุ าคม ๒๕๔๖ สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ “…In 10 years, Thailand should be prosperous but the point is we have to succeed in suppressing corruption and should not commit it ourselves.” “…If one commits corruption, no matter how small, I wish he faces calmity. do not mean to be rude but I want the person to feel the consequence. On the contrary those who are honest and steadfast in their duties to create prosperity for the country, may they live to reach the age of 100 years, and have good health. Only honesty will save Thailand from devastation…” Excerpted from His Majesty the King’s address to the provincial governors under the pilot project on integrated administrative system at their audience to pledge in His Majesty’s presence on October 8, 2003, at Chitralada Palace. (Translated by Editorial Board) *ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล (Dr. Sumet Tantiwechakul) กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา (The Chaipatana Foundation) ๖๐๘ สนามเสือปา พระราชวังดุสิต ถนนศรีอยุธยา เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ 2

»‚·èÕ ñ ©ººÑ ·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ สถานะของประเทศไทยทกุ วนั น้ี มโี รครา ยโรค …“ ถาทุจริตแมแตนิดเดียว ก็ขอแชงใหมีอัน หนึ่ง ซ่ึงเกาะกินมาเปนเวลานานแลว โรคน้ีไมใชโรค เปนไป พูดอยางน้ีหยาบคาย แตวาขอใหมีอันเปนไป รายท่ีเพิ่งเกิดขึ้น หากแตเกิดมานานแลว และคิดวา แตถาไมทุจริต สุจริต และมีความตั้งใจมุงม่ันสราง เปนโรคท่ีรายแรงย่ิงกวา โรคติดตอใด ๆ ทง้ั ส้ิน เพราะ ความเจริญ ก็ขอใหต ออายุไดถ งึ ๑๐๐ ป สว นคนไหน โรครายท่ีเกิดขึ้นกับรางกายก็จะทำลายแคตัวคนที่ ท่ีมีอายุมากแลว ขอใหแข็งแรง ความสุจริตจะนำให เปนโรคเทาน้ัน แตโรครายท่ีกำลังกลาวถึงน้ีทำลาย ประเทศไทยรอดพนอันตราย”... ระบบท้ังระบบ โรคน้ัน คอื “โรคคอรรปั ชนั ” ซงึ่ ตอน น้กี ำลงั กระจายไปทั่ว โดยไมเ ลือกเพศ ไมเลอื กสถานะ แสดงวาอาการโรคคอรรัปชันนี้หนักจน ไมเลอื กหนวยงาน ไมเ ลือกสถานทใี่ ด ๆ ท้ังสน้ิ กระทั่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตองทรงลงมา ส่ังสอนอยางคอนขางรุนแรงเด็ดขาด แลวพวกเรา ความรุนแรงของโรคคอรรัปชันนั้นเปนที่รับรู เปนพสกนิกรชาวไทยจะไมรับใสเกลาใสกระหมอม กันในระดับสากล เพราะแตละปจะมีองคกรเพื่อ นำไปปฏิบัติหรือ จึงถึงเวลาแลวที่เราจะตองชวยกัน ความโปรงใสระหวางประเทศ ซึ่งเปนองคกรศึกษา ขจัดทุกขที่เกิดจากเร่ืองนี้ เพ่ือทำแผนดินของเราน้ัน การคอรรัปชันระดับโลกประกาศผลออกมาทุกปวา ใหเกิดประโยชนสขุ ประเทศใดมีระดับการคอรร ปั ชนั เปน อยางไร สำหรบั ประเทศไทยน้ันไมเคยสอบผานเลย ดังนั้น ใครท่ีพูด แผนดินไทย เปนแผนดินท่ีเราตองรัก ตอง วาบานเมืองเจริญข้ึน การทุจริตคอรรัปชันควรจะ รักษา ไมใ ชม ากอบโกยกับแผนดนิ น้ี ดงั นั้น พสกนิกร ลดลง ผลกลับปรากฏวาไมใชเลย คะแนนของ ไทยทุกคนไมวาจะอยูในสถานะใด จะเปนขาราชการ ประเทศไทยไมเคยดีขึ้น โดยในป ๒๕๔๑ จาก นักธุรกิจ ผูนำทองถิ่น หรือประชาชนธรรมดา ก็มี คะแนนเต็ม ๑๐ ได ๓.๐ ป ๒๕๔๒ – ๒๕๔๕ หนาท่ีจะตองรักษาแผนดินดวยกันทั้งน้ัน เราทุกคน ไดปละ ๓.๒ เทากัน ป ๒๕๔๖ ไดคะแนน ๓.๓ จึงตอ งทะนถุ นอมแผนดินของเรา ป ๒๕๔๗ ไดคะแนน ๓.๖ ป ๒๕๔๘ ไดคะแนน ๓.๘ อยใู นอันอับที่ ๕๙ จากประเทศทสี่ ำรวจทัง้ หมด คำวา “ประโยชนสุข” น้ันมีความหมายท่ี ๑๕๙ ประเทศ ในขณะท่ีประเทศเพ่ือนบานของเรา ลึกซ้ึงมาก เพราะคำน้ีไดถูกกำหนดไวเปนเปาหมาย เชน ประเทศมาเลเซียสอบผานได ๕.๑ ฮองกงได ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงแสดงเมื่อ ๖๑ ๘.๓ ญ่ีปุนได ๗.๓ ไตหวันได ๕.๙ ประเทศสิงคโปร ปกอน ในวันที่เสด็จขึ้นครองราชยไดทรงประกาศ ทำไดถ ึง ๙.๔ เขาทำไดอยา งไร เมอื่ ไดร บั รูอ ยา งน้แี ลว เปาหมายในการครองแผนดินของพระองคไววา เราจึงจำเปนตองหันมาดูตัวเองบาง พระบาทสมเด็จ “...เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ไดทรง พระเจา อยหู ัวทรงเหน็ วา การทุจรติ คอรร ปั ชันเปน ภัย กำหนดไววาประโยชนใดๆ ท่ีไดสรางน้ัน ไมไดเปน อันตรายของแผนดิน ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งแก เพียงประโยชนอยางเดียวเทาน้ัน แตจะตองเปน คณะผูวาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ในโอกาสเขา ประโยชนที่ตองบันดาลความสุขใหเกิดขึ้นได เพราะ เฝาถวายสัตยปฏิญาณเม่ือวันท่ี ๘ ตุลาคม ๒๕๔๖ ถาแคเกิดประโยชนเฉยๆ แครวยเฉยๆ แลวไมมี ในสว นท่เี กยี่ วกับการคอรรัปชนั ไววา ศีลธรรม เปนความร่ำรวยที่เกิดข้ึนจากความไร ศีลธรรม เกิดจากการคอรรัปชัน คงไมใชเปนส่ิงท่ี …“ ภายใน ๑๐ ป เมืองไทยนาจะเจริญ พระองคทานทรงปรารถนา ขอสำคัญคือ ตองหยุดการทุจริตใหสำเร็จ และ ไมท จุ ริตเสยี เอง ”… ดังนั้น ในการรวมกันแกปญหาคอรรัปชัน ทุกภาคสวนของสังคมตองรวมกันแก ซ่ึงแบงออกได หลายระดบั ไดแก 3

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. ระดับแรก คือ รัฐบาลตองทำการอยาง สอดคลองกับภูมิศาสตรและลักษณะของผูคนแตละ เด็ดขาดโดยหนว ยงานของรฐั ท่ีมีสวนรบั ผิดชอบ เชน แหง หรอื แตละสังคมซงึ่ ไมเ หมอื นกัน สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) สำนักงานปองกันและ พระองคท รงสอนวา คนไทยตอ งรู รกั สามคั คี ปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.) สำนักงาน รูวาทำอะไรอยู หนทางแกไขมีอยางไร แลวลงมือ ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ กระทรวงยุติธรรม และ ปฏิบัติ มีความปรารถนา มีความรักเปนพลังผลักดัน องคกรอิสระที่เกี่ยวของ เปนตน ตองทำใหเปน และตอ งมีความสามคั ครี ว มมือรว มใจกันทำ กระแสระดับชาติ การปองกันการทุจริตคอรรัปชัน คือ ตองยึด ระดับท่ีสอง ระดับสังคมสวนรวม ภาคธุรกิจ หลัก “เศรษฐกิจพอเพียง” ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา ภาคราชการ ภาคชุมชน ภาคทองถ่ินตาง ๆ ตองรวม อยูหัวพระราชทานมาเปนแนวทางในการดำเนินชีวิต พลังตอตาน คือ พอใจในสิ่งท่ีมีอยู มีความพอประมาณ จะไดไมมี กิเลส ตัณหา จนเกินเหตุ ทำใหตองแสวงหาโดย ระดับที่สาม กระทรวง กรม บริษัท หางราน มิชอบ การดำเนินชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตา ง ๆ วางมาตรการเฉพาะในแตล ะแหง คือ ทำอะไรตอ งเดนิ เสนทางสายกลางตลอด ทำอะไร ดวยเหตุดวยผล ต้ังอยูในความพอดี และมีภูมิคุมกัน ระดับที่สี่ ระดับตัวบุคคลทุกคนมีจิตสำนึก ตลอดเวลา และทุกอยางตองตั้งอยูบนพ้ืนฐานของ ท่ดี ีอยูในธรรมะ ความรู รอบรู รอบคอบ และคณุ ธรรมจริยธรรม ในการดำเนินชีวิตของพสกนิกรไทยทุกคน คนไทยทุกคนจึงควรดำเนินชีวิตตามรอย ตองเดินตามรอยพระยุคลบาทที่ทรงปฏิบัติ พระบาท พระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซ่ึง สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระปฐมบรมราชโองการ จะทำใหชีวิตพบกับความปกติสุขท้ังกายและใจ เม่ือเสด็จขึ้นครองราชยวา “เราจะครองแผนดินโดย ยึดความร่ำรวยอยางยั่งยืน และนำไปสูความสุข คือ ธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” “ประโยชนสุข” นนั่ เอง ธรรมะท่ีทรงใช คือ ทรงใชความดีในการปกครอง แผน ดิน พระองคท รงสอนคนไทยโดย ทรงทำใหด ูมา โดยตลอด ทรงเปนแบบอยางท่ีสอนใหใชความดีและ ความถูกตองในการดำเนินชีวิต และยึดความพอเพียง ในการปฏบิ ัติตน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสอนคน ไทยมา ๖๑ ปแลว ทรงสอนวิธีการดำรงชีวิต ทรง สอนการดำรงตน ทรงสอนวิธีการปฏิบัติงาน ฯลฯ และทรงปฏิบัติพระองคใหดูเปนแบบอยางในเร่ือง ตาง ๆ โดยเฉพาะความเรียบงาย ความประหยัด และ ความมวี นิ ยั พระองคทรงสอนวาจะทำอะไรก็ตามทรงให ยึด “ภูมิสังคม” เปนท่ีต้ัง คือ ตองยึดถือความ 4

»‚·Õè ñ ©ººÑ ·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ผทู ำงานเพื่อสาธารณะ ฯพณฯ ศาสตราจารย นายแพทยเ กษม วัฒนชยั * ความเปน คน มีศักด์ิศรีเทาเทียมกัน ความเสมอภาคในอุดมการณ ของประชาธิปไตยจึงจะเกิดข้ึนได และหากเชื่อ หากศึกษาเปรียบเทียบในหลักคำสอนของ เชนน้ัน บานเมืองจะตองจัดระบอบการปกครองท่ีให ศาสนาหลักในโลกน้ี ลวนแตมุงสรางคนดีท้ังนั้น โอกาสทุกคนไดพัฒนาสูงสุดตามศักยภาพของตนเอง และคำสอนจะพอ งกนั ใน ๓ ประเด็นหลัก คอื ในขณะเดียวกันก็ตองสรางกรอบมาตรฐานใหทุกคน ตอ งรบั ผดิ ชอบตอ สาธารณะดวย ๑. สอนใหทกุ คนยึดความสัตยความจรงิ ๒. สอนใหทุกคนตระหนักวาคนเราเกิดมามี All the prime religions in this world aim ศักดิ์ศรีแหงความเปน คนเทาเทยี มกนั at creating good people. Their preaching is often ๓. สอนใหทุกคนมีความรักความเมตตาตอ based on the three following aspects: กนั และกนั 1. It teaches everybody to adhere honesty ในสังคมหน่ึงๆ ยอมมีการพัฒนาแบบโครง- and truth. สรางสังคมต้งั แตอดีตจนถึงปจ จบุ นั ในแตล ะรปู แบบ ของสังคมยอมประกอบดวยผูทำหนาที่บริหาร 2. It teaches everybody to realize that we ปกครอง ผูทำธรุ กจิ การคา และผูท ำหนาทีอ่ นื่ ๆ เรียก all are born with equal human dignity. กันในปจจุบันวา ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาค ประชาชน 3. It teaches everybody to love and be kind to one another. ทุกคนตองรับรูวาแตละบุคคลปฏิบัติหนาที่ ตามตำแหนง - บทบาท - ความรบั ผิดชอบ สว นยศถา Each society evolves along a societal บรรดาศักดิ์ ความมีจน และลำดับช้ันตางๆ เปนเร่ือง structure from the past till the present. Each societal ของโครงสรางสังคม โดยในความเปนจริงแลวทุกคน structure always consists of those who govern, who trade, and who do other things. These three substructures are presently known as the public, private, and civil society sectors. *ฯพณฯ ศาสตราจารย นายแพทยเกษม วัฒนชัย (H.E. Professor Kasem Watanachai M.D.) องคมนตรี ทำเนียบองคมนตรี (Office of the Privy Councilor) พระราชอทุ ยานสราญรมย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐ 5

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. Everybody has to realize that people คนที่ตัดสินใจเขารับราชการ หรือทำงาน execute their task along their position, role, and การเมือง หรือทำงานภาคประชาชน ทานควรจะถาม responsibility. The ranking status, wealth or ตัวเองกอนวาทานตองการอะไรในชีวิต? ใจทานพอ poverty, and other forms of stratification are a แลวหรือยัง? และตัวทานพรอมแลวหรือไม? ในสิ่ง matter of societal structure. In fact, everybody has ตอ ไปนี้ equal dignity, the precondition for democracy to emerge. If this assumption is agreed upon, society พอในสง่ิ ท่ีได then has to set up a governing system to provide พอในสงิ่ ท่มี ี opportunities for everybody to develop to the peak พอในส่ิงท่เี ปน of their capacity. At the same time, the system พรอมในดานเจตคติ has to set up a framework to ensure everybody’s พรอมในดา นความรู responsibility to the public. พรอ มในดานทักษะ (Translated by Editorial Board) เพราะหากทานไมพอ จากสิ่งที่ทานพึงได พึงมี พึงเปน จากระบบราชการจากระบบการเมือง งานเพื่อสาธารณะ หรือจากภาคประชาชน สุดทายทานก็จะตกเปนทาส ของกเิ ลสตณั หา ทุจริต ฉอราษฎรบงั หลวง ไมร ูจักอม่ิ ผูปฏิบัติงานภาครัฐ ถือไดวาเปนผูทำงานเพ่ือ ไมรจู กั พอ สาธารณะโดยตรง ทั้งนักการเมืองและขาราชการ ประจำ และเพราะหากทานไมพรอม คือประกอบ เจตคติท่ีผิด ความรูดอย ขาดทักษะ แตท่ีไดเขามา ผูประกอบธุรกิจเอกชน มีหนาที่ผลิตสินคา ทำงานเพราะมีเสนสาย เพราะฐานเสียงดี หรือเพราะ และใหบริการ โดยในที่สุดแลวตางหวังกำไรในธุรกิจ ปจจัยอะไรก็แลวแต นอกจากทานจะไมสามารถทำ ของตน แตถึงกระน้ันผูประกอบธุรกิจเอกชนก็ตอง ประโยชนใหแกสาธารณะแลว ทานยังอาจทำผิดตอ ตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสาธารณะอยูทุก สาธารณะไดห ลายๆ ประการอกี ดว ย ยางกาว หากปลาเอาเปรียบน้ำจนทำใหน้ำเนาเสีย ปลากอ็ ยไู มไ ดเ ชน กัน คนท่ียังไมพอและยังไมพรอม จึงไมควรมา ทำงานเพ่ือสาธารณะ ไมวาจะเปนขาราชการประจำ สวนผูทำงานภาคประชาชน ไมวาจะเปนภาค นกั การเมือง หรืองานอาสาประชาชน วิชาการ การศาสนา การศึกษา ส่ิงแวดลอม และงาน อ่ืนๆ อีกมากมายยอมตองพัฒนาจิตสาธารณะและ ในขณะเดียวกัน ระบบหรือระบอบท่ีแตละ จิตอาสาไปพรอมๆ กัน จึงจะปฏิบัติหนาท่ีไดเต็มเม็ด ประเทศขวนขวายออกแบบเพื่อการจัดการบานเมือง เต็มหนว ย จึงควรเปนระบบหรือระบอบที่เปดทางใหคนที่ พอแลวและพรอมแลวเขามาทำงาน ขณะเดียวกัน พอแลว และพรอ มแลว ก็ตองปดทางไมใหคนไมพอไมพรอมเขามาสราง ความเสยี หายแกส ว นรวม คนทีม่ งุ หวังผลประโยชนท างวตั ถุ และยนิ ดที ่ี จะรับผิดชอบตอสังคมอยางเต็มเปยม เหมาะที่จะ ดำเนินธุรกิจเอกชน สรางงานและสรางผลผลิต ให เปนพลงั หลักของระบบเศรษฐกิจของประเทศ 6

»·‚ Õè ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ แนวคดิ การทุจริตคอรร ัปชันในสงั คมไทย ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานนั ท ปน ยารชุน* ปรารภนำ การสัมภาษณ ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ปนยารชุน มุงเนนประเด็นทัศนะแนวคิด จากผูทรงคุณวุฒิและผูบริหารระดับสูงท้ังในประเทศและระหวางประเทศ ท่ีมีมุมมองหลากหลายอันจะ เปน ประโยชนใ นเชงิ นโยบายและแนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ การแกไ ขปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ คอรร ปั ชนั ไมว าจะเปนโดยตรงหรือโดยออมก็ตาม เพื่อใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคดังกลาวขางตน แนวทางคำสัมภาษณ จึงประกอบดวย คำถามหลักๆ เพ่ือคำตอบสำคัญที่เก่ียวของ ๕-๖ ประการคือ ประการแรก เพื่อใหไดขอมูลพื้นฐานใน ภาพรวมเกี่ยวกับการทุจริตคอรรัปชันวาคืออะไร เกิดข้ึนไดอยางไรและเหตุที่เกิด ประการที่สอง เพ่ือให ทราบถึงแนวทางหรือกลยุทธที่เห็นวามีประสิทธิภาพในการแกไขปองกันและปราบปราม หรือลดปญหา การทุจริตคอรรัปชัน ประการท่ีสาม เพ่ือใหไดขอมูลที่ชัดเจนวาการทุจริตคอรรัปชันที่มีผลกระทบตอ สังคมไทยในภาพรวมนั้นเกิดขึ้นในวงการใดบาง ประการที่สี่ เพ่ือศึกษาถึงพัฒนาการของการทุจริต คอรรัปชันเปรียบเทียบอดีตและปจจุบันในชวงกวาทศวรรษที่ผานมา ประการท่ีหา เพ่ือใหสังคมไทยได เรงตระหนักถึงกลุมเปาหมายหลักที่ตองใหความสำคัญกับกลยุทธในการปองกันการกระทำการทุจริต คอรรัปชันเปนกลุมแรก และประการสุดทาย เก่ียวกับความรูทั่วไปสำหรับศัพทที่นิยมพูดถึงการทุจริต คอรรปั ชัน *ฯพณฯ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ปนยารชุน (H.E. Former Prime Minister Anand Panyarachun) อดีตนายกรัฐมนตรี คนท่ี ๑๘ ดำรงตำแหนง สองสมยั สมยั แรก ๒๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๓๔-๒๒ มนี าคม ๒๕๓๕ และสมยั ทส่ี อง ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๓๕-๒๓ กนั ยายน ๒๕๓๘ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. วันเพ็ญ สุรฤกษ บรรณาธิการวารสารวิชาการ ป.ป.ช. นำสัมภาษณและเรียบเรียงจากบทสัมภาษณ ฯพณฯ นายอานันท ปนยารชุน เมื่อวันท่ี ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๐ (นางจินตนา พลอยภัทรภิญโญ กองการจัดการวารสารวิชาการ ป.ป.ช. ถอดเทป) 7

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. Prelude : The interview with His Excellency เหตผุ ลสำคญั สองประการ คือ ความโลภเปนประการ Former Prime Minister Anand Panyarachun was แรก และประการที่สอง คอื การไมม จี ติ ใจทแี่ ข็งแกรง aimed at presenting various perspectives of the พอ ในการตอตา นส่งิ ท่ยี ่วั เยา และจูงใจตา งๆ นานา intellectuals and high ranking officers both at national and international levels. Their ideas should สำหรับประเด็นปญหา การทุจริตคอรรัปชัน benefit both the policy and practice in regard to the เกิดข้ึนไดอยางไรและมีสาเหตุจากอะไร น้ัน ฯพณฯ prevention and suppression of corruption of any อดีตนายกรัฐมนตรีอานันท ไดใหทัศนะแนวคิด form – explicit or otherwise. วาการเกิดคอรรัปชันขึ้นอยูกับคณุ ธรรมของตัวบุคคล แตการทุจริตหรือการฉอราษฎรบังหลวงมีหลายวิธี In order to achieve the above mentioned วิธีการงายๆ ก็คือ รับเงินโดยตรง รับเงินเพื่อทำใน goal, the interview was designed to cover major สิ่งท่ีผิดกฎหมาย เพ่ือทำในสิ่งท่ีเปนการไมถูกตอง questions to obtain six or so relevant answers: ชวยเหลือใหผูอ่ืนไดรับประโยชนในทางที่ไมถูกตอง firstly, basic information to pave the general ที่เห็นกันงายๆ ในวงราชการ ก็คือที่เราเรียกวา picture of corruption: what is it? how does it “คาน้ำรอนน้ำชา” occur? and, what are its preconditions?; secondly, the effective strategies to prevent and suppress it; วิธีการคอรรัปชันมีความซับซอน ลึกลับ thirdly, the clear evidence of its impact on Thai จับยาก หรือจับไมได เพราะไมมีบิลหรือใบเสร็จ society both in general and in specific sectors; สวนสาเหตุของการเกิดการทุจริตนาจะเปนเรื่องของ fourthly, its development by comparing the past ความเส่ือมโทรมทางจิตใจของคนท่ีมาจากสังคมท่ี and present corruptions in the past decade; fifthly, เสื่อมโทรม ดานศีลธรรม คุณธรรม และจริยธรรม the way to make Thai society aware of the problem บางคนอาจจะไมรูดวยซ้ำวา ศีลธรรมคืออะไร and identify the prime target group on which คณุ ธรรมคอื อะไร แตส ว นใหญค วรจะตอ งรวู า อะไรถกู the strategies to prevent the corruption are to อะไรผิด แตแ กลง ทำเปน ไมรูก็มี emphasize, and, lastly, identifying and defining the terms used in the discussion about corruption. อี ก ส า เ ห ตุ ห นึ่ ง ม า จ า ก ร ะ บ บ ร า ช ก า ร ที่ ขาราชการสวนใหญมีรายไดนอย สวัสดิการไม (Translated by Editorial Board) พอเพียง ตัวอยางท่ีเห็นไดชัดเจน คือ ขาราชการ กรมตำรวจ ท่ีไดรับเสียงวิพากษวิจารณ และจากการ ๑. ทัศนะแนวคิดดานความหมาย ที่มา และ สำรวจความเห็นพบวา ตำรวจเปนอาชีพที่นาเห็นใจ สาเหตุการทจุ รติ คอรรปั ชัน ถาจะมีการปราบปราม จับกุม คนผิดในกรมตำรวจ สวนใหญขาราชการชั้นผูใหญ หรือพวกนายพล การทุจริต หรือ “Corruption” หมายถึง ที่มีปญหาทุจริตคอรรัปชัน เร่ืองมักจะเงียบไมคอย “การฉอ ราษฎรบ งั หลวง” หรอื ภาษาชาวบา น หมายถงึ ถูกจับ หรือลูกนองรับแทน หรือกรณีลูกนองทุจริต “การโกงกิน” แตไมวาจะใชคำอะไร ความหมาย คอรร ปั ชนั รดี ไถเลก็ ๆ นอ ยๆ เปน จำนวนเงนิ หลกั รอ ย ก็คือ การไดผลประโยชนตอบแทนในวิถีทางที่ผิด ก็จะถูกลงโทษถาจับได ในขณะที่สาวไปไมถึงตนตอ ดวยความไมเปนธรรม ไมถูกศีลธรรม มโนธรรม รายใหญๆ ที่รับเปนหลักแสนหลักลาน เราตอง และคุณธรรม เพราะฉะนั้น ท้ังหมดก็ขึ้นอยูกับการท่ี เห็นใจตำรวจชั้นผูนอยท่ีประจำตามโรงพัก เพราะ แตล ะคนคิดวาจะมีศีลธรรม มโนธรรม และคณุ ธรรม ในตัวเองมากแคไหน ซ่ึงจะทำใหรูวาอะไรผิด อะไรถูก รูวาอะไรคือการโกงกิน รูวาอะไรคือการ ฉอราษฎรบังหลวง แลวยังทำตอไป ทั้งน้ีเพราะ 8

»‚·èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ เงินเดือนเขานอย แมงบประมาณในภาพรวมของ ขนของเขามาในรถตู ๑๐ คัน แตกลับแจงใหทางการ กรมตำรวจดูแลวอาจจะมาก แตเม่ือเทียบสัดสวน ไปจับรถตูคันหน่ึง ขณะเดียวกันก็ปลอยรถตูอีก ๙ กับจำนวนตำรวจเปนแสนแลวนับวานอยหรือไม คันไป สรุปวามีการแบงปนผลประโยชนกันสำหรับ เพียงพอ รวมท้ังเครื่องมือเคร่ืองใชหรืออุปกรณที่ รถตู ๑ คันท่ีจับได และรัฐก็ปลอยใหอีก ๙ คันทำผิด จำเปนในการรักษากฎหมาย หรือการปราบอาชญา- กฎหมาย กรรม ก็ยังขาดแคลนหรือยังไมมีประสิทธิภาพ พาหนะในการปฏิบัติการของตำรวจชั้นผูนอย เชน ๒. แนวทางหรือกลยุทธในการแกไขปญหาและ รถจักรยานยนตก็ไมมีใหใช และเทาท่ีไดยินมาแมแต ลดปญ หาการทจุ รติ คอรรปั ชนั อาวุธปนประจำกายก็ตองซ้ือเอง บางคร้ังจะไปจับ คนรายก็ตองนั่งแท็กซ่ีไป ท่ีสำคัญคือเงินเดือนของ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ปนยารชุน ตำรวจไมไดมากกวาคนอื่น จึงชวยไมไดท่ีมักพบวา ไดใหขอ คดิ วา กลยุทธสำคญั ในการชวยลดปญ หาการ สถานีตำรวจหรือโรงพักแทบทุกแหงในประเทศไทย ทุจริตคอรรัปชัน หรือการแกไขปญหาน้ี มีแนวทาง มีการหากินในสิ่งที่ไมถูกตอง ทำใหตำรวจตองไป อยู ๔ ประการ คือ ประการแรก ตองเริ่มจากการ รับจางพิเศษ อาทิ การดูแลรานทอง การรีดไถคนท่ี ส่ังสอน อบรมเด็กใหรูจักวาอะไรผิด อะไรถูก จอดรถผิด ขับรถเร็วดวยการใหจายเงินตรงโดยไม ส่ังสอนใหเด็กมีศีลธรรม คุณธรรม คานิยมที่ดีงาม ตองไปโรงพัก หรือบางรายก็ไปตั้งบริษัทรักษาความ แตคุณลักษณะเหลานี้เปนนามธรรม สอนไมได ปลอดภัย-รปภ. หรอื เปนเจา ของกิจการเดินรถในซอย จากการอานหนังสืออยางเดียว หรือไมใชเปนเพียง เก็บคาเชาหรือคาดูแลจากวินมอเตอรไซค แตถา บทเรียนเร่ืองคุณธรรมหรือบทเรียนเรื่องศีลธรรม แต ตำรวจไปเปดบอนหรืออยูเบ้ืองหลังหวยใตดินก็ดูจะ ตองไดเรียนรูจากการปฏิบัติเปนแบบอยางทั้งท่ีบาน มากไปหนอย สิ่งเหลาน้ีไดใหขอคิดวาถาทางการจะ หรือต้ังแตใ นครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย และท่ี ปรับปรุงใหคาครองชีพและเงินเดือนที่ดีขึ้น อยาให ทำงาน ถาพอ แมไ มม คี ณุ ธรรม ศีลธรรม ไมรูอะไรผิด ตำรวจช้ันผูนอยตองออกเงินตัวเองในการทำงาน นั่น อะไรถูก และโอกาสที่เด็กจะอยูในสิ่งแวดลอมเหลาน้ี กค็ อื ตอ งใหเขามพี อกินพอใช มีมาก เชนเด็กจะเห็นพอเมาเหลาอยูเร่ือยๆ หรือเห็น พอเมาแลวทุบตีแม ซ่ึงก็อาจมีผลไดทั้งสองทาง คือ นอกจากน้ัน ควรจะพิจารณาถึงปญหาเรื่อง เด็กบางคนอาจเบื่อและไมแตะตองเหลาไปเลย หรือ การโกงกินอยา งจรงิ จงั ซ่ึงจำเปน ตองมีการแกไ ข อาทิ อีกทางหนึ่งกลับตรงขาม ซึ่งเปนสวนใหญที่มักจะ การใหมีระบบการใหรางวัลการจับกุม ดังที่ทาง ชนิ กับการด่ืมเหลามากกวา แตท ้งั นีก้ ็ข้ึนอยูกับตัวเด็ก กรมศลุ กากร หรอื การทา เรือ ไดป ฏบิ ัติอยู โดยการให ดวย ประการที่สอง ตองปรับโครงสรางเงินเดือน รางวัลเปนเปอรเซ็นตในการนำจับรอยละ ๑๐ หรือ เงินชวยคาครองชีพ ใหขาราชการผูนอยอยูได ไมใช ๒๐ หรือ ๓๐ เพ่ือใหนำไปแบงกันถารวมปฏิบัติการ ใหอยูอยางฟูฟา แตใหอยูอยางพอเพียง เพราะถา เปนกลมุ แตไ ดย ินวา ผูใหญมกั จะไดมากสดุ ไมรวู า ใน ทำงานแลวไมไดผลตอบแทนในระดับท่ีสมควร เมื่อ ขณะนี้ยังมีลักษณะนี้อยูหรือไม แมกระน้ันก็ยังมี เทียบกับภาคเอกชน ท่ีนาเปนหวงคือการท่ีจะปรับ การทจุ รติ คอรร ปั ชนั หรอื การฉอ ราษฎรบ งั หลวงเกดิ ขน้ึ โครงสรางเงินเดือนน้ัน รัฐจะตองใชเงินจำนวนมาก ในหนวยงาน เชนกรณีการลักลอบขนของเถ่ือนหนี ประการท่ีสาม ตองปรับปรุงคุณภาพขาราชการ ภาษี มีการรวมมือกับทางการโดยความจริงมีแผนจะ ควบคูไปกับการปรับโครงสรางเงินเดือน แตกรณีนี้ อาจตองลดจำนวนขาราชการ ซึ่งจะไปกระทบ 9

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. กระเทือนชีวิตของผูนอยจำนวนมาก จึงตองมีวิธีการ ส่ิงเหลานี้จะไปทดแทนการที่มีเงินเดือนต่ำ แตคนก็ ไมใชเพ่ิมเงินเดือนและเพิ่มงบประมาณข้ึนมาระดับ ยังชอบใชรถยนตสวนตัวกันอยู และเงินเดือนก็ยัง หน่ึงเพียงอยางเดียว ประการท่ีส่ี ตองมีกระบวนการ จำเปนตองขึ้นสูงเร่ือยๆ ในระดับหนึ่ง กรณีรัฐรวม อ่ืนรวมชวยดวยท่ีจะตองใชระยะยาว ๕ ปถึง ๑๐ ป กับเอกชนชวยเหลือเรื่องการศึกษา เร่ืองที่พักอาศัย โดยเฉพาะการมีสวัสดิการระดับชาติ ไมวาจะเปน นับเปนรายไดทางออมของคนระดับชั้นลาง นโยบาย เร่ืองของการศกึ ษา การรักษาพยาบาล ทพ่ี ักอาศัย คอื และแผนปฏิบัติดังกลาวก็จัดเปนวิธีการแกปญหาใน เร่ืองของปจจัย ๔ รวมถึงวิธีการอ่ืนๆ ที่รัฐทำเอง ลักษณะท่ีจับตองได หรือเปนรูปธรรมที่มองเห็นได หรือเปนความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน สิ่งสำคัญที่สุดที่รัฐตองรวมกับทุกภาคสวน คือ บางกรณีรัฐอาจจะเขาไปจายคาเลาเรียนใหเลย คือ ตองพยายามสรางระบบคุณธรรมท่ีจะชวยลดการ การใหเรียนโดยไมเสียคาใชจาย การรักษาพยาบาล ฉอราษฎรบังหลวงที่ไมเคยหมดไปจากสังคมไทย ตามโครงการ ๓๐ บาทรักษาทุกโรค ขณะน้ีแผนก เชน เดียวกบั สังคมโลกโดยท่ัวไป อนาถาของโรงพยาบาลตางๆ แนนมาก แมวา นโยบายบัตร ๓๐ บาทรักษาทุกโรคของรัฐบาลท่ีผาน อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ปนยารชุน มาที่ยังทำตอเนื่องอยู จะจัดเปนโครงการท่ีดีก็ตาม มีมุมมองและแนวคิดวาระบอบประชาธิปไตยที่ แตเปนท่ีนาสนใจหรือนา สงั เกตกค็ อื รัฐบาลที่แลว ทำ ถูกตอง จะชวยลดการทุจริตคอรรัปชันได จะสังเกต มาทำไปใจไมไดอยูท่ีโครงการ เพราะใจไปอยูท่ีการ ไดจากประเทศที่มีประชาธิปไตยที่คอนขางสมบูรณ เลือกตั้งมากกวา งบประมาณท่ีใหโครงการน้ีก็นอย มาก คือประเทศที่เปนประชาธิปไตยจริงๆ การทุจริต จนเกิดความปนปวนในระบบ เพราะผลที่ปรากฏ คอรรัปชันจะนอยที่สุด เชน ประเทศนอรเวย อยางชัดเจนก็คือหมอตองทำงานมากข้ึน และทาง เดนมารก และนิวซีแลนด และประเทศใหญมี โรงพยาบาลก็รับผูปวยไมไหว ยิ่งกวาน้ัน การท่ี สัดสวนจำนวนพลเมืองมาก แตก็เปนประชาธิปไตย รัฐบาลทแ่ี ลวใชเ งินเพ่อื ไปพยุงราคาน้ำมนั ทำใหคนมี เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝร่ังเศส และ สตางค มีรถ ไดซ้ือน้ำมันถูก แตถาไดนำเงินเหลาน้ัน เยอรมนี เปนตน แตถาไปดูประเทศที่ระบอบ ไปเสริมหรือเติมใหคารักษาพยาบาลและคาสงเสริม ประชาธิปไตยยังไมเขมงวด ยังไมเขมแข็ง หรือลึกซ้ึง การศึกษาเลาเรียนก็จะเปนประโยชนอยางมากมาย หรือมีพลเมืองมาก เชน ประเทศจีน อินเดีย และ เพราะวาราคาน้ำมันตลาดโลกสูงข้ึนอยางตอเน่ือง รัสเซีย ขณะน้ีการทุจริตคอรรัปชันก็หนักสุด ถาคิด มากกวาจะลดลง เราจึงตองขึ้นตามไป แลวเราหรือ เปนจำนวนเงิน จำนวนกรณี หรือความเปนประชา- รัฐบาลจะตองไปชวยคนท่ีมีสตางคหรือมีรถขับทำไม ธิปไตยของประเทศในทวีปแอฟริกาตางๆ และของ เราอาจจะใชวิธีทำใหเขารจู ักประหยัด รถคนั หนง่ึ อาจ ประเทศไทยเราคงจะจัดอยูในระดับลางๆ คือ อาจจะ ไปดวยกัน ๒-๓ คน ผลัดกันใช หรือเคยขับรถไป เพียงรอยละ ๓๐ ลางๆ ทำไมหลายประเทศจึงมี ทุกวันติดตอกัน อาทิตยหนึ่งอาจจะพัก ๒ วัน ก็จะ ระบอบประชาธิปไตยที่เขมงวด เขมแข็ง และลึกซึ้ง ลดคาน้ำมันไดอยางท่ีรัฐบาลไทยสมัยหน่ึงก็เคยมี เพราะวาประชาธิปไตยไมไดอยูที่การเลือกต้ัง การมี นโยบายเชนนี้ หรือพยายามทำ แมแตประเทศท่ีมี รัฐธรรมนูญ การมีรัฐบาล การมีฝายนิติบัญญัติ เศรษฐกิจดีเชนเยอรมนี ก็มีวัฒนธรรมเชนน้ีอยูตลอด ฝายตุลาการ ศาล แตเสาหลักใหญของระบอบ เวลา แตรัฐบาลระยะหลังๆ จนปจจุบันก็ไมทำ หรือ ประชาธิปไตยจะตองประกอบดวยเสาหลัก ๘-๙ ประการ ไดแก นิติรัฐ (นิติธรรม) ความโปรงใส อาจจะทำไดโดยการเพ่ิมระบบขนสงมวลชนใหดีขึ้น 10

»·‚ èÕ ñ ©ººÑ ·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ความยอมรับผิด เสรีภาพตางๆ ท้ังเสรีภาพในการ อาจจะมาต้ังแตเด็ก ท้ังนี้เน่ืองจาก เกิดจากการอบรม แสดงออก เสรีภาพในการแสดงความเห็น เสรีภาพ ส่ังสอนของพอแมหรือครอบครัว แตการเกรงกลัว หรือความเปนอิสระของสื่อ ความเปนอิสระของ กฎหมาย และการเกรงกลัวกระบวนการความ กระบวนการยุติธรรม ซึ่งรวมทั้งตำรวจ อัยการ ศาล เที่ยงธรรม มักจะมาจากการเรียนรูทีหลัง หรือ จนถึงราชทัณฑ รวมถึงการเปนสังคมเปด ส่ิงเหลาน้ี ประสบการณเม่ือทำผิดมีความเกรงกลัวตอความ เปนองคประกอบที่สำคัญของระบอบประชาธิปไตย เที่ยงธรรมของกระบวนการตำรวจ อัยการ และศาล ซึ่งอาจจะยืนอยูบนตัวของมันเองได แตจริงๆ แลว เปน ตน ทุกเสาหลักตองเกีย่ วโยงและเชอ่ื มโยงกันหมด ความโปรงใส เปนอีกตัวอยางหนึ่งของ นอกจากนี้ อดีตนายกรัฐมนตรี อานันท เสาหลักในระบอบประชาธิปไตย เพราะการเปน ปนยารชุน ยังไดยกตัวอยางเสาหลักที่เปนกลยุทธ สังคมเปดของประเทศเราตองโปรงใส สมมติวามี จำเปนท่ีจะชวยลดการทุจริตคอรรัปชัน โดยไมไดจัด บานอยูหลังหนึ่ง และมีคนท่ีมีอำนาจอยูในบานหลัง เรยี งตามลำดบั ความสำคญั ดังนี้ น้ัน และก็ปดประตูปดหนาตางหมด เขาทำอะไร คนขางนอกมองไมเห็น แตถาบานหลังน้ันเปดประตู นิติรัฐ ตัวอยางแรกของเสาหลักในระบอบ เปดหนาตางใหลมเขา-ออก และไดแดด คนท่ีมี ประชาธิปไตย เพราะนิติรัฐเปนเรื่องสำคัญ ทุกสังคม อำนาจอยูในบานจะทำอะไรก็กลัวคนเห็น อาจมีบาง ประชาชนมีสิทธิท่ีจะไดรับความยุติธรรม แตไมวา ครั้งท่ีจิตใจยังอยากจะทำผิดอยู การเปนสังคมเปด จะเปนความยุติธรรมจากกฎหมายก็ดี หรือความ จะทำใหมีความโปรงใส หมายถึง การกระทำ แตท่ี ยุติธรรมจากกระบวนการยุติธรรมก็ดี ที่จริงนอกจาก โปรงใสจริงๆ ประชาชนอยูนอกบานตองมีขอมูลท่ี ความยุติธรรมแลว ยังจำเปนตองอยูบนความ สมบูรณ วาเขาทำอะไรกันหรือเปลา เชน การทำ เที่ยงธรรมดวย เพราะวาบางครั้งบางคราว ความ สัญญาวาจาง การทำสัญญาการใหสัมปทาน รวมทั้ง ยุติธรรมก็อาจอยูที่วาเราจะมองจากจุดไหน มองจาก การเจรจา ก็ตองทำไปโดยเปดเผย ท่ีผานมาโครงการ ดานไหนและมุมไหน แตความเที่ยงธรรมคอนขางจะ ใหญๆ ไมวาจะเปนโครงการโฮปเวล ไมวาจะเปน แนนอนกวา อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท เองได โครงการโทรศัพทและโทรคมนาคม มีแตรัฐมนตรี เนน วา คำวา ยตุ ธิ รรมนน้ั จรงิ ๆ แลว ไมม ี แตป ระชาชน คมนาคมรูดีกันเฉพาะกับบรรดาขาราชการสองสาม ก็ยังเรียกรองหาความยุติธรรมกันอยูทุกวัน จึงทำให คนท่ีเปนพรรคพวกของตัวเอง โครงการท่ีใชเงิน เขาเหลานั้นรูสึกอึดอัดใจเมื่อไมไดรับความยุติธรรม พันลา นบาท หม่ืนลา นบาท เขียนขอ กำหนดโครงการ และอาจจะมีผลตามมาในหลายๆ ดาน ส่ิงสำคัญท่ีจะ ๒ แผน และแนใจไดเลยวาโครงการที่เขียนสวนใหญ ทำใหมีความยุติธรรมและความเท่ียงธรรม ก็คือ ผูรับเหมาก็ดี ผูจำหนายอุปกรณก็ดี ผูกอสรางก็ดี ความอิสระและความเที่ยงธรรมของกระบวนการ ลวนเปนผูเขียนให ดังน้ัน รายละเอียดโครงการท่ีสง ยุติธรรม อาทิ ความเท่ียงธรรมของตำรวจ ความ มานั้น พบวา ทางบรษิ ทั สามารถเสนอราคาไดถ กู ที่สดุ เทยี่ งธรรมของอัยการ และความเท่ียงธรรมของศาล เพราะพอเขียนขอกำหนดรายละเอียดออกมาก็เขียน โครงการออกมาไดทันที ท้ังนี้เพ่ือสนองนโยบายที่ ปกติคนเราตองมีหลัก หิริโอตตัปปะ ในการ ตองการใหความไดเปรียบกับคนท่ีเราตองการจะชวย ดำเนนิ ชีวิต นัน่ กค็ ือ เรม่ิ ตน ดวยการเกรงกลวั ตอบาป และเพ่อื ผลตอบแทน หรือละอายใจในการกระทำผิด ดังน้ัน การมีหิริ- โอตตัปปะ จึงมีท้ังเกรงกลัว ทั้งละอาย การละอาย 11

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. เสรีภาพดานขาวสาร เปนตัวอยางเสาหลัก อนึ่ง การแกปญหาทุจริตคอรรัปชันดวยการ ระบอบประชาธิปไตยอีกประการหนึ่ง คือถาเราเปน ปราบปราม ก็ตองทำไป แตการปองกันเปนเรื่อง สังคมเปด ก็ตองเปดเผยขอมูลขาวสารตางๆ ดวย สำคัญมาก เหมือนสมัยรัฐบาลอดีตนายกรัฐมนตรี ประชาชนตองรู เพราะฉะน้ัน เรื่องของเสรีภาพขาว อานันทท่ีทำเรื่องตอตานเอดส ๒ วิธีการ คือ การ สารจงึ สำคัญมาก การทำใหส ังคมโปรงใส กค็ อื ตอ งมี รักษา และการปองกัน สำหรับการรักษานั้นยากกวา เสรีภาพในการเสนอขาว เสรีภาพของสื่อ สื่อตองทำ เพราะเกี่ยวของท้ัง หมอ พยาบาล คารักษาเคร่ืองมือ หนาที่รับใชสังคม โดยการเปดโปง ดวยการคนหา และยาซ่ึงแพงมาก ดังนั้น จึงใหความสำคัญกับวิธี ขอเท็จจริง แตส่ือก็ตองระวัง คือสื่ออยาไปเขาขางใด การปองกันมากกวา โดยการสอนใหรูจักวาเอดสเปน ขางหนึ่งโดยเฉพาะ สื่อตองพยายามเสนอขาวท่ีเปน ไดอยางไร ติดตออยางไร สมัยนั้นยังไมมียารักษา แต ขอเท็จจริง ไมใชเปนกลาง ที่สำคัญส่ือตองอยูกับ อยางนอยเราตองทำใหชีวิตบั้นปลายของคนเหลาน้ัน ความถูกตอง และสื่อควรมีความรับผิดชอบ เพราะ ไมถูกดูถูกจากสังคม เหมือนอยางเชนคนท่ีเปนโรค จะทำใหเกิดความโปรงใสมากข้ึนในสังคม เรอ้ื น สมยั นน้ั มคี นเสนอใหน ายกรฐั มนตรนี ายอานนั ท จับคนที่เปนเอดสไปอยูเกาะตะรุเตา และวิธีคิดเกาๆ ความรับผดิ ตัวอยา งประการสุดทา ย น่ันกค็ ือ ยังมีอยู ถาในอนาคตเกิดเราใหการศึกษาทางดานเพศ หลังจากมีขอมูลที่เปนขอเท็จจริง และไดพินิจ ใหรูถึงความรายแรงของโรคเอดส อะไรท่ีคนเรายัง พิจารณาถึงความผิดความชอบตางๆ แลว ตองแนใจ เขาใจผิดอยู ก็ตองใหเขารู เชน ยุงท่ีไปกัดคนที่เปน ดวยวา ผูกระทำผิดจะตองยอมรับผิดและตองรับ เอดส แลวมากัดเราจะติดหรือไมติด หรือน้ำลายจะ ผิดชอบความผิดของตัวเอง แลวศาลก็ตองมีการ ทำใหติดหรือไมติด เราก็ตองบอกเขาวามันไมติด ศึกษาเพียงพอที่จะลงโทษผูกระทำผิดไดตอไป อันน้ี ฉะนัน้ การปอ งกันนบั วาสำคญั มาก และถกู กวาดวย นับวาเปนเรื่องของกลไกท่ีจะชวยไมใหเกิดการ ฉอ ราษฎรบังหลวงไดอยา งดี ๓. การทจุ รติ คอรรปั ชนั เกดิ ข้ึนในวงการใดบาง การจะแกปญหาทุจริตคอรรัปชัน ซึ่งฝงลงไป อดตี นายกรฐั มนตรี นายอานนั ท ไดพดู ถงึ การ ในจิตใจของคนแลว ถาเห็นวาเปนเรื่องธรรมดา เห็น เกิดการทุจริตคอรรัปชันวา เกิดข้ึนไดในทุกวงการ วาเปนเรื่องที่คนอ่ืนเขาทำไดเราก็ทำบาง คนไหนไม ไมวาจะเปนในแวดวง ขาราชการตำรวจ ขาราชการ ทำก็โง เปนแบบนี้มาชานานแลว ซึ่งไมถูกตอง ทหาร ขาราชการพลเรือน ในกระทรวง ทบวง กรม อยางไรก็ดี อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท เห็นวา รฐั วิสาหกิจ รวมทั้งภาคการเมอื ง เรียกไดวาเกดิ ขนึ้ ได การแกปญหาทุจริตคอรรัปชัน ถาทำจริงๆแลวทำได ในทุกวงการของทุกภาคสวน แตวิธีการของการ ดูตัวอยางประเทศสิงคโปร เมื่อ ๖๐ ปท่ีแลว ตามท่ี ทจุ ริตคอรรัปชัน จะพัฒนาไปเรอื่ ยๆ จากการที่ยน่ื เงนิ เคยคุยกับคนสิงคโปรท่ีเปนผูใหญ วากอนไดรับ ให ก็จะมีความซับซอนมากขึ้น มีเลหเหล่ียมมากข้ึน อิสรภาพใหมๆ การฉอราษฎรบังหลวงของเขามีมาก มคี วามลกึ ลับมากขนึ้ วธิ ีการทลี่ ึกลบั ทำใหจับยาก หา และแตกอนกรมศุลกากรก็แยเหมือนกัน ทำไมคน หลักฐานยาก หรือที่นิยมใชคำวา “ไมมีใบเสร็จ” ทั่วไปจึงเชื่อม่ันวาอดีตนายกรัฐมนตรีลีกวนยูไมโกง เพราะสมัยน้ี การฉอโกงไมมีใบเสร็จ และอยาวาแต ไมกิน ทั้งๆ ที่ส่ือเขาก็ไมไดมีความเปนอิสระอะไร ไมมีใบเสร็จเลย อาจจะจับไมไดดวยซ้ำวามีการ มากนัก ผูใหญหรือผูมีอิทธิพลในบานเมืองตอง แลกเปลี่ยนผลประโยชนกันตอนไหน ดวยวิธีการ ไมโ กงไมก นิ ใหเปนตวั อยา ง อะไร การฉอโกงลักษณะนี้ไดแพรหลายในหลาย สังคมรวมทั้งในสงั คมไทยดวย 12

»‚·èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ในวงการเอกชน พบการฉอราษฎรบังหลวง ย่ิงจะมากข้ึน แตสมัยที่ทานเปนหัวหนารัฐบาล การ เชน การหนีภาษี การจางคนในกรมสรรพากร ให ทุจริตคอรรัปชันมีนอยหรือมีมากอยางไรนั้น ก็เปน ทำงานนอกเวลาราชการ เพ่ือใหหลีกเลี่ยงภาษี และ เรื่องที่คนอื่นจะวิจารณมากกวา แตอยางนอยตอนท่ี ขาราชการก็จะไดคาตอบแทนสวนหนึ่ง จนกลายเปน ทานเลือกรัฐมนตรี ไดเพงเล็งหรือเนนใหความสำคัญ วัฒนธรรมไปแลว และกลายเปนคา นิยมทผ่ี ดิ ๆ ในเรื่องนี้มาก แตก็อาจจะมีรัฐมนตรีบางคนท่ีทาน ไมไดเลือก อยางไรก็ตามทานยังไดใหมุมมองหรือ ในแวดวงการเมือง การทุจริตคอรรัปชันนับ ขอคิดวาถานายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ในแตละ วาหนักหนา เพราะวาตอนหลังไดทราบวาเปนการ กระทรวงไมโกง ก็จะเขาขายที่เรียกไดวา “หัวไมสาย คอรรัปชันเชิงนโยบาย ซึ่งก็คือการฉอราษฎร- หางกไ็ มก ระดิก” บังหลวง สาเหตุมาจากความโลภ ความอยากได อยากรวย ดวยวัฒนธรรมของสังคมไทย คานิยมได ๕. กลุมเปาหมายที่สำคัญที่สุดในการปองกันการ เนนไปทเ่ี ร่ืองเงิน ความร่ำรวย ความตองการมอี ำนาจ ทจุ รติ คอรร ัปชัน หรือมีตำแหนงใหญ ซ่ึงการไดมาแตละตำแหนง ไมไดมางายๆ ทำใหพอคานักธุรกิจซ้ือตำแหนงให สำหรับกลุมเปาหมายแรกที่สำคัญที่สุด แตเม่ือซ้ือตำแหนงใหแลว ก็เกิดการเปนหนี้บุญคุณ ในการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน นั้น อดีตนายก กนั เปนพรรคพวกกนั เพราะก็เปนส่ิงท่ีรูกันอยทู ั่วไป รัฐมนตรี นายอานันท ไดใหแก “กลุมเด็ก เยาวชน” วาเปนเร่ืองของการหวังผลใหขาราชการคนน้ันทำ ซ่ึงหมายรวมถึงครอบครัวของเด็กต้ังแตแรกเกิดจน ประโยชนใหกับกิจการของตน นอกจากนั้น มีวิธี ข้ันเรียนอนุบาล และวัยเด็กท่ัวไป เพราะปกติแลวจะ ปฏิบัติอื่นๆ อีกท่ีนำมาซ่ึงการฉอราษฎรบังหลวง ไปแกปญหาท่ีผูใหญคงไมไดแลว เนื่องจากเขาทำงาน เชน การซ้ือขายสิ่งของในภาครัฐ มีการใหคาหัวคิว มาก็โกงกินมาเปนเวลานานนับ ๑๐ ปแลว แตกลุม ในสัญญาซ้ือขายของที่มีราคาเปนจำนวนหลายรอย เปาหมายสำหรับประเทศไทยก็คงเปนทั้งประเทศ หลายพันลานบาท หรือในการทำเปนสัญญาการ คนท่ีไมมียางอายและไมทำอะไรใหคนเห็น คนพวก กอสราง และการใหสัญญาสัมปทาน การฉอราษฎร น้ันอันตราย ซึ่งเด็กจะเปนกลุมเปาหมายที่รับทอดมา บังหลวงหรือการทุจริต คอรรัปชันในเร่ืองเหลานี้ เด็กทุกคนเกิดมาบริสุทธ์ิ แตถาเห็นพอแมโกง และ เปนเร่ืองที่พูดกันมานานแลว แตคนพูดก็ไมทำอะไร เมื่ออยูโรงเรียนก็เห็นครูใหญโกง เห็นครูประจำช้ัน คนมีอำนาจที่จะทำหรือแกปญหาไดก็ไมทำ จนกลาย โกง ก็จะรับทอดมา สำหรับการแกไขก็พบวามีหลาย เปนโรคเน้ือรายในวงราชการของเรา ซ่ึงเนื้อรายน้ีมัน องคกรท่ีพยายามไปทำหรือปลูกฝงแนวทางปองกัน กเ็ ริ่มท่ีจุดจุดหนึง่ แลว กจ็ ะแผขยายไปท่ัวทงั้ ตัว จนถึง การทุจริตคอรรัปชันตามโรงเรียนตางๆ และโดย จุดสำคญั เราก็ตาย เฉพาะตองปลูกฝงคุณธรรม ศีลธรรม ความซ่ือสัตย สจุ รติ หรอื ไมโ กงกนิ โดยเรม่ิ จากทบี่ า นหรอื ครอบครวั ๔. พัฒนาการของการทุจริตคอรรัปชันในสังคม เพราะวาพอแมมอี ทิ ธพิ ลมากท่ีสดุ ไทยมมี ากขึน้ หรอื ไม ๖. ความหมายของคำวา “กินตามน้ำ” และ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานันท ยอมรับวา “กินใตโตะ ” ปญหาการทุจริตคอรรัปชันปจจุบันมีมากขึ้น ถา เปรียบเทียบกับเมื่อประมาณ ๑๕ ปที่ผานมาสมัยที่ ในตอนสุดทาย อดีตนายกรัฐมนตรี นาย ทานดำรงตำแหนงนายกรัฐมนตรี และคิดวาอนาคต อานันท ไดไขขอของใจความหมายของคำบางคำท่ี 13

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. ทานเคยพูดไวคือ “กินตามน้ำ” หรือจะเปนเรื่องที่ มักจะไปเพงเล็งหรือเนนใหความสำคัญกับคนรับมาก ถาม คือ “กินใตโตะ” “กินบนโตะ” ก็กินเหมือนกัน เกินไป โดยไมกลาแตะตองคนใหของขวัญเลย เพราะ ตามความเขาใจของทานก็คือ คนอื่นกินก็กินไปดวย จริงๆ แลวผิดมากทั้งคู แมแตคนรับไปเปนผูขอ แตไมไดทำใหคนกินตามไมผิด ความผิดของการ คนใหก็ยังผิดอยูดี เวลามีคดีการทุจริตคอรรัปชันผิด “กินตามน้ำ” มีหลายกรณี เชน ขาราชการที่กิน ท้ังผูใหและผูรับ แตแนนอนท่ีผูขอจะผิดมากท่ีสุด ตามน้ำจากกรณีตางๆ ไมวาจะเปนการทำสัญญา ถาหากไมมีกลไกอะไรท่ีทำใหภาคเอกชนรูสึกเกรง จัดซื้อจัดจางก็ดี สัญญาอะไรก็ดี ท่ีทำใหตนมีผล กลัวความผิดหรือกลัวท่ีทำผิด การทุจริตคอรรัปชัน ประโยชนกับบริษัทเอกชน แมวา เขาทำดวยความ ในสังคมไทยก็ยังมีอยู เพราะราชการเปนฝายรับ ซื่อตรง และบริษัทน้ันก็ทำดวยความซ่ือตรง แตหลัง สวนใหญ ย่ิงกวา นน้ั วัฒนธรรมประเพณีในสงั คมไทย จากท่ีบริษัทไดรับสัญญา หรือไดรับผลประโยชนจาก ท่ีเอื้อใหการใหสินน้ำใจเปนเรื่องธรรมดา อาทิ หนวยงานของรัฐแลว ก็จะเอาเงินหรือเอาของขวัญ เนื่องในวาระวันคลายวันเกิด วันแตงงาน แตก็ตอง มาให ท้ังน้ีไมไดหมายถึงของขวัญแบบ ๒๐๐ บาท ดูลงไปในรายละเอียด ในตางประเทศ เชน กลุมจีอี ๑,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท แตเปนเงินหม่ืนๆ แสนๆ (General Electric) ไดก ำหนดชดั เจนวา ของขวัญทร่ี บั บาท และก็บอกวา ขอขอบคณุ ในนำ้ ใจ ของขวญั เหลา ตอ งมีมูลคาไมเ กนิ ๑๐๐ เหรยี ญสหรฐั น้ีเปนส่ิงยั่วยวน หรือลอใจ และส่ิงที่เขาขอก็ไดไป แลว เลยเกิดการช่ังใจวาการที่ตนไปรับของขวัญเขา สรุปแลว ไมวาประเทศไทยหรือสังคมไทย มาน้ันผิดหรือถูก ซ่ึงถาพูดตามจริงแลวก็ผิดอยาง จะมีระบอบประชาธิปไตยท่ีดี มีระบบที่กอใหเกิด แนนอน ท้ังท่ีตัวเองก็ทำดวยความบริสุทธ์ิใจและ ความโปรงใส เกิดความยุติธรรม แตสุดทายก็อยูท่ี ไมไดคิดจะชวยในตอนแรก แตเมื่อรับไปแลวมันก็ จิตสำนึกของแตละคน และจิตสำนึกจะมีไดอยางไร เปนหน้ีบุญคุณในคร้ังตอไป ดังน้ัน เม่ือกลับมามี ก็มีไดจากการเรียนรูและการอบรมส่ังสอนจากพอแม เหตุการณเดิมๆ ตอไปอีกและมีการแขงขันกัน ก็อาจ หรือครอบครัวต้ังแตเยาววัยจากครู และจากสังคม เกิดการลำเอียงไดงาย ถาจะปฏิเสธวาจิตใจของตน วาอะไรผิดอะไรถูก วาอะไรควรอะไรไมควร ไมใช น้ันไมลำเอียง มันก็เปนไปได แตก็ไปรับของขวัญเขา เร่ืองของการสอนใหทองจำ แตเปนเรื่องของการ แลว ถาตัวเองถือวาตัวเองทำหนาท่ีราชการท่ีถูกตอง ดำรงชีวิตของพอแม ของครูและของสังคมวาเปน ก็ไมควรที่จะคาดหวังในผลประโยชนหลังจากที่ทำ อยางไร ตามแนวคิดท่ีวา “มนุษยเปนผลผลิตของส่ิง ตามหนาที่ไปแลว ในสมัยกอนมีวา ถาเจานายรับเรา แวดลอม” ไมรับอยูไมได กรณีนี้อดีตนายกรัฐมนตรีนายอานันท มขี อ คดิ วา การปอ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ คอรร ปั ชนั น้ันมีมาตรฐานที่หยอนไมได เพราะมาตรฐานมี ระดับเดียว คือรับหรือไมรับ จะหาเหตุผลวาอยางน้ัน อยางนี้มาอางก็ลำบากทั้งนั้น แมแตจะอางเหตุผลวา รับเพราะลูกเจ็บหนักซ่ึงก็นาเห็นใจ แตถาถามวา ผิดไหมก็ตองตอบวาผิด และเราก็ตองชวยไมให เหตุการณแบบน้ันเกิดข้ึน ขอคิดอีกประการหน่ึงของ อดีตนายกรัฐมนตรี นายอานนั ท กค็ อื ในประเทศไทย 14

»‚·èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ๒ตอนที่ ขอ คิดและหลกั การปองกนั และปราบปราม การทจุ รติ จากกรรมการ ป.ป.ช. The NCCC Commissioner on Corruption Prevention and Suppression 15

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. ขอ คดิ ในการจดั ทำยทุ ธศาสตรภ ารกิจหลกั ของชาติ ในงานปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ปานเทพ กลาณรงคร าญ* …“เราคงตองยอมรับวาการปราบการทุจริตประพฤติมิชอบตางๆ มีความจำเปนท่ีทุกภาคสวน ของประเทศจะตองรวมมือรวมใจกันขจัดออกไป โดยถือวาใหเปนวาระแหงชาติท่ีทางดานรัฐบาลได ประกาศไปแลว ” …“ การทุจริตคอรรัปชันเปนท่ียอมรับกันวาในขณะนี้ไดทำลายทุกส่ิงทุกอยางของประเทศ… เราทุกคนที่เปนคนไทยควรจะมีความรูสึกอยางนี้ทุกคน…ตางประเทศเองหรือองคกรที่เกี่ยวของกับ เรือ่ งทุจริตของตางประเทศก็จัดอันดบั ประเทศของเราในเรอื่ งนอ้ี ยา งนาเปน หว ง ”… ...“We have to recognize that the suppression of all kinds of corruption requires that every concerned sectors of the country has to lend hands in getting rid of it. The issue should be part of the national agenda which the government has declared.”... ...“It has been recognized that the corruption would destroy everything belonging to the country. Every one of us - Thai people should share this feeling. At international level, some corruption watcher organizations have placed our country on the top of the list which has worried all of us.”... (Translated by Editorial Board) *นายปานเทพ กลาณรงคราญ (Mr. Panthep Klanarongran) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ประธานการสัมมนาในการจัดทำ ยทุ ธศาสตรภ ารกจิ หลักของชาติในงานปองกันและปราบปรามการทุจรติ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. วันเพ็ญ สุรฤกษ เรียบเรียงจากการถอดเทป “สรุปผลการปาฐกถาและการอภิปรายในพิธีเปด การสัมมนา เร่ือง การจัดทำยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต” ของนายปานเทพ กลาณรงคราญ ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เม่ือวันท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (นางจินตนา พลอยภัทรภิญโญ กองการจัดการวารสารวิชาการ ป.ป.ช. ถอดเทป) 16

»‚·Õè ñ ©ºÑº·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ นายปานเทพ กลาณรงคราญ ประธาน ปญหาประการท่ีสาม : การทุจริตท่ีเกิดจาก กรรมการ ป.ป.ช. ไดใหทัศนะวา การทุจริตประพฤติ ปญ หาพืน้ ฐานคือ ความยากจน มิชอบ การคอรรัปชัน ประกอบดวยปญหาหลัก ๓ ประการ ประการแรก คือ ปญหาดานคุณธรรม ความยากจนทำใหคนตองด้ินรนและกระทำ จริยธรรม คานิยม และทัศนคติ ประการท่ีสอง คือ การทุจริตตางๆ แมจะไมเสมอไปก็ตาม บางที คนท่ี ปญหาการแทรกแซงทางดานการเมือง และประการ ไมยากจนและมีอันจะกิน แตไมซาบซึ้งกับคำวา ทส่ี าม คือ ปญหาความยากจน “พอ” ก็ยังกระทำการทุจริตอยูเปนอุปนิสัย ดังนั้น การแกไขเร่ืองการทุจริตจะตองปรับแกอุปนิสัยของ ปญหาประการแรก : การทุจริตที่เกิดจากปญหา คนเราดานคุณธรรมและจริยธรรมเชนของผูดำรง ดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและทัศนคติที่ ตำแหนงทางดา นการเมอื ง ขา ราชการ พนักงาน และ แตกตา งกัน ลูกจางอื่นๆ ของรัฐ เพ่ือปองกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ดังเชนที่ระบุในรัฐธรรมนูญป การที่สังคมไทยเปนสังคมอุปถัมภมาตั้งแต ๒๕๔๐ ในลักษณะที่วา อะไรควรทำ อะไรไมควรทำ อดตี แตอำนาจอปุ ถมั ภในอดีตเกดิ จากความเอือ้ อาทร โดยที่หนวยงานตางๆ ก็ตองไปทำมาตรฐานคุณธรรม การมีน้ำใจจากการชวยเหลือกันซ่ึงนับเปนเรื่องดี และจรยิ ธรรมรองรบั กนั เอง แตปจจุบัน คำวาอำนาจอุปถัมภไดเปล่ียนความหมาย เปนเรื่องของการเอารัดเอาเปรียบ การอาศัยอำนาจ ในรัฐธรรมนูญใหมที่เราไดทำประชามติกัน เบ่ียงเบนความเห็น การใชอิทธิพล ในตำแหนงเพ่ือ ไปแลว ในปน ี้ (๒๕๕๐) ไดก ำหนดไวในมาตรา ๒๗๙ ประโยชนของตัวเอง ลักษณะเหลาน้ีทำใหเกิด วารัฐจะตองจัดทำสิ่งที่เรียกวา “ประมวลจริยธรรม” การทุจริตคอรรัปชันตั้งแตเร่ืองเล็กๆ นอยๆ ดวย (Code of Ethics) ของผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ความเคยชิน จนถงึ เรอื่ งในโครงการใหญๆ ที่ทำความ และเจาหนาท่ีของรัฐตางๆ ซ่ึงในรัฐธรรมนูญ เสียหายและสงผลกระทบอยางมากมายกับสังคมและ ป ๒๕๔๐ เพียงแตกำหนดวาควรจะทำ ย่ิงกวาน้ัน เศรษฐกิจของประเทศ นับเปนปญหาที่จะตองใช รัฐธรรมนูญใหม ป ๒๕๕๐ ยังไดกำหนดบทลงโทษ ยุทธศาสตรเขาไปดำเนินการแกไขและปองกันอยาง กำกับไวดวย คือ หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม เรง ดว น ประมวลจริยธรรมดังกลาว จะถือเปนความผิดทาง วินัย ในกรณีผูดำรงตำแหนงทางการเมืองฝาฝนหรือ ปญหาประการที่สอง : การแทรกแซงทางดาน ไมปฏิบัติตาม ใหผูตรวจการแผนดินรายงานตอ การเมือง รัฐสภา คณะรัฐมนตรีหรือสภาทองถิ่นที่เกี่ยวของ แลวแตกรณี หากกระทำผิดฝาฝนประมวลจริยธรรม เปนท่ียอมรับวาปญหาการแทรกแซงทางดาน อยางรายแรง ผูตรวจการแผนดินตองสงเร่ืองให การเมือง ไมวาจะเปนการช้ีนำการทำงานของ ป.ป.ช. เพ่ือดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหนง ขาราชการท่ีใจแข็งไมพอ ตองการผลประโยชนตอ ดงั กลา วดวย ตำแหนงหนาที่ ดวยการทำส่ิงท่ีผิด กระทำการทุจริต ในลักษณะผลประโยชนตางตอบแทนซึ่งกันและกัน งานดา นการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ ซ่ึงปญ หาดานน้นี บั วามีมากพอสมควร เรื่องการปองกัน คือ การปลูกจิตสำนึก การสรางทัศนคติ และคานิยมท่ีถูกตองในเรื่องของ 17

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. ความซ่ือสัตยสุจริต แมวาการสงเสริมคนดีใหปรากฏ ซื่อสัตยสุจริตไมใชคนท่ีถูกเอาเปรียบ และคนที่ แกสังคม ดูเสมือนจะเปนเร่ืองของนามธรรม เราจึง ทุจริตไมใชคนเกงหรือคนที่ไมถูกเอาเปรียบ ดังนั้น จำเปนตองพยายามทำเปนรูปธรรมบอยๆ และอยาง ทุกภาคสวนตองชวยกันสงเสริมคนดี ยกยองคนดีให ตอ เนือ่ ง ปรากฏ ใหเปนแบบอยาง และไมใหการยอมรับคน ไมดี ไมใหคนไมดีมีบทบาท และมีอำนาจ ตองรวม ที่สำคัญที่สุด คือ การนำปรัชญาเศรษฐกิจ กันใหมีการกดดันทางดานสังคม (social pressure) พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปน หรือจนถึงข้ันการตอตาน คือ การลงโทษทางสังคม หลักประการหน่ึงของการจัดทำยุทธศาสตรของชาติ (social sanction) วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต เพราะ เปนหลักปรัชญาในการดำเนินชีวิตท่ีถูกตอง สำหรับ เร่ืองของการปราบปราม น้ัน ทาง ป.ป.ช. ความพอประมาณ ไมโลภมากจนกอใหเกิดความ ตองทำในระดับท่ีเขมแข็ง เพราะวาเปนมาตรการท่ี เสียหายแกตัวเอง และแกผูอ่ืน กับท้ังยังเปนหลัก เกิดขึ้นภายหลังการกระทำความผิดแลว คือ การ ในการดำเนินการดวยความรู มีคุณธรรมและไม ดำเนินการกับผูกระทำผิดตามกฎหมายตางๆ ที่ไดให ประมาท อำนาจกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. เชน อำนาจในการ ไตสวน และรวบรวมพยานหลักฐานตางๆ เพ่ือท่ีจะ คนเราถามคี วาม “พอ” ในการกระทำทุกเร่อื ง นำผูที่กระทำความผิดมาลงโทษ ซึ่งตามพระราช- โดยยึดความดีและหลักธรรมทางพุทธศาสนาเปน บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ มาตรฐาน อาทิ ความพอในดานคำพูด หรือ “สัมมา ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มี ๔ ประการ วาจา” ความพอในดานความคิด หรือ “สัมมาทิฐิ” สำคัญ ไดแก ดังนั้น ถาเราทำไดอยางนี้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทุกคนก็จะอยูเปนสุข ทั้งกาย ทั้งใจ และก็จะไมคิด ประการท่ี ๑ ป.ป.ช. มีอำนาจดำเนินการ เบียดเบียนคนอื่น ไมกอใหเกิดการ “ทุจริต” ในดาน ถอดถอน (impeachment) ผูท่ีดำรงตำแหนงทาง ตางๆ การเมอื งหรอื เจาหนา ท่ีระดับสูงออกจากตำแหนง ฉะน้ัน “ความพอ” จึงเปนคาถาบทหนึ่งซ่ึงมี ประการท่ี ๒ ป.ป.ช. มีอำนาจดำเนินการใน ความสำคัญอยางมาก ในเร่ืองของการปองกัน พวก คดอี าญากับผทู ีด่ ำรงตำแหนงทางการเมืองได เราคงจะไมลืมอมตะวาจาวา “คนรวยท่ีไมรูจักพอก็ เปนคนจนอยูตลอดเวลา และคนจนท่ีรูจักพอ ก็จะ ประการท่ี ๓ ป.ป.ช. มีอำนาจดำเนินการทาง เปนคนทมี่ ่ังมอี ยูตลอดเวลา” ดา นอาญากับเจาหนาที่ของรฐั สวนการปลูกฝงคานิยมในเรื่องของความ ประการที่ ๔ ป.ป.ช. มีอำนาจในการรองขอ ซื่อสัตยสุจริต นับเปนภารกิจหลักสำคัญอีกประการ ใหทรัพยสินของผูดำรงตำแหนงทางการเมือง หรือ หน่ึงของการปองกัน ท่ีทุกฝายตองรวมมือกันใหเกิด เจาหนาท่ีของรัฐท่ีมีพฤติกรรม “ร่ำรวยผิดปกติ” ขึ้นทุกระดับ เฉพาะอยางย่ิง ในระดับของเยาวชน ตกเปน ของแผนดนิ นักเรียน นักศึกษา โดยตองทำใหทุกคนตระหนักได วา ความเกง ความรวย อยางเดียวไมพอ แตตอง สรุปแลว ป.ป.ช. มีบทบาทและภารกิจหรือมี ประกอบดวยความดี และความซื่อสัตยสุจริต คนที่ อ ำ น า จ ห น า ท่ี จ ะ ต อ ง ด ำ เ นิ น ก า ร ต า ม ก ฎ ห ม า ย และแนนอนที่สุด คณะกรรมการ ป.ป.ช. กจ็ ะตองยดึ 18

»·‚ Õè ñ ©ºÑº·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ หลักความสุจริต ความเท่ียงธรรม และความถูกตอง กระทำ หรืออาจกลาวไดวาเปนมาตรการปองกันได เปนท่ีตั้ง และในขั้นตอนการไตสวนก็จะเปดโอกาส อกี วิธหี น่ึง ใหผูที่ถูกกลาวหาไดตอสู แกขอกลาวหาอยางเต็มที่ ตามตวั บทกฎหมาย กลาวโดยสรุป เร่ืองการปองกันและปราบ- ปรามการทุจริตเปนภารกิจหลักของชาตทิ เี่ รง ดว น อยางไรก็ตาม เรื่องการปราบปรามตางๆ จะ ที่ทุกฝายตองรวมมือกัน ไมใชของหนวยงานใด เกิดประสิทธิผลไดทุกภาคสวนตองชวยกันสอดสอง หนว ยงานหนงึ่ โดยเฉพาะ ทกุ ฝายตองรวมมือทั้งทาง ดูแล โดยถือวาเปนหนาท่ีของทุกๆ คน ไมใชเปน ดานการปองกันและการปราบปราม ชวยกัน ภารกิจหนาที่เฉพาะของ ป.ป.ช. เทาน้ันบทบาทของ ดำเนินการตามปณิธานที่วา ป.ป.ช. ในขณะน้ียังตองเรงพัฒนาคน เจาหนาที่ บุคลากรใหมีความรอบรูท้ังในแงของกฎหมาย “ลางทุจริตใหส น้ิ แผนดินไทย เพอ่ื เทิดไทองคร าชนั ” ต้ังแตการรับเร่ืองรองเรียน เรื่องการหาขอเท็จจริง การไตสวนตางๆ ใหทันตอกระบวนการทุจริต ท่ีมี ความสลับซับซอนท้ังในเชิงนโยบายและเทคนิค ตางๆ โดยจัดใหมีโครงการฝกอบรมเจาหนาที่ของ ป.ป.ช. อยางเต็มท่ีและไดจัดตั้งใหมีสถาบันการ ฝก อบรมบคุ ลากรทางดานนโ้ี ดยเฉพาะ นอกจากนั้น กฎหมายตางๆ ท่ีเก่ียวของกับ ภารกิจหลักของ ป.ป.ช. ก็ตองไดรับการปรับปรุง แกไขเชนเดยี วกัน อาทิ กฎหมายคมุ ครองพยาน หรอื ผูใหเบาะแสตางๆ และกฎหมายที่เกี่ยวของในเรื่อง ของอายคุ วามในคดที จุ ริต ซึ่งกำลังดำเนนิ การอยู ขณะน้ีรัฐธรรมนูญฉบับใหม หรือฉบับ ปจจุบันไดชวยแบงเบาภารกิจของสำนักงาน ป.ป.ช. ท่ีมีอยูมากดวยการโอนอำนาจการไตสวนเร่ืองท่ีความ เสียหายไมมาก และกรณีผูทำผิดหรือทุจริตเปน ขาราชการในระดับที่รองลงมา ใหอยูในอำนาจหนาท่ี ขององคกรยตุ ธิ รรมทางดา นอนื่ เปนตน กรณีมีการปราบปรามการทุจริตภายหลังที่ ความผิดเกิดข้ึนแลว จะตองดำเนินการอยางรัดกุม ถูกตองและรวดเร็ว เพ่ือนำผูที่กระทำความผิดตางๆ มาลงโทษตามกฎหมาย ดังน้ัน การปราบปรามหลัง การทุจริตเกิดข้ึนแลว นับเปนการปองปรามใหผูท่ียัง ไมไดกระทำความผิดเกิดความเกรงกลัว ไมกลา 19

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. ขอ คดิ และหลักการดา นการปองกัน และปราบปรามการทุจรติ ภกั ดี โพธิศริ ิ* เ น่ื อ ง ใ น โ อ ก า ส ที่ มี ก า ร เ ผ ย แ พ ร ว า ร ส า ร เกี่ยวของกับบทบาท อำนาจหนาท่ี ความสัมพันธ วชิ าการ ป.ป.ช. ฉบบั ปฐมฤกษนี้ ขอแสดงความยนิ ดี ระหวางองคอำนาจในการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐ และชื่นชมตอผูท่ีมีสวนเก่ียวของในการจัดทำ ตลอดจนแนวทางการดำเนินงาน ทั้งทางดานการ วารสารวิชาการทุกคน โดยเฉพาะตอ ป.ป.ช. ท่ี ปองกัน ปรามปรามการทุจริต และการตรวจสอบ เล็งเห็นความสำคัญของการเผยแพรผลงานทาง ทรัพยสิน อาทิ กำหนดให ป.ป.ช. มีบทบาทในการ วิชาการและการวิจัยทางดานการปองกันและ กำกับดูแลจริยธรรมและคณุ ธรรมของผดู ำรงตำแหนง ปราบปรามการทุจริต นับวา ป.ป.ช. มีการพัฒนา ทางการเมอื ง ซง่ึ นบั ไดว า เปน ครงั้ แรกในประวตั ศิ าสตร ไปถูกทิศทางโดยมุงสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู ของประเทศไทย ที่มกี ารดำเนินการเชนนี้ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ท่ี ซ่ึงประกอบไปดวยการสรางสรรคองคความรูใหมๆ จะเปนมาตรการปองกันปญหาการทุจริตคอรรัปชัน และการบริหารจัดการองคความรูบรรดามี เพ่ือนำมา ของผดู ำรงตำแหนงทางการเมอื งทงั้ หลายน่นั เอง ใชป ระโยชนใ นการตอ สกู บั ปญ หาการทจุ รติ คอรร ปั ชนั ที่นับวันแตจะเพิ่มความซับซอนซอนเงื่อนมากข้ึน ตามรัฐธรรมนูญฉบับใหมไดมีการกำหนด อยา งทนั ทว งที ระดับตำแหนงของเจาหนาท่ีรัฐผูถูกกลาวหาวา กระทำทุจริตท่ีใหอยูในการพิจารณาดำเนินการของ ชวงเวลาตอไปโดยเฉพาะป พ.ศ. ๒๕๕๑ ป.ป.ช. ต้ังแตระดับ ๘ หรือเทียบเทาข้ึนไป เพื่อลด นับไดวาจะเปนชวงเวลาแหงการเปลี่ยนผานท่ีสำคัญ ปริมาณงานดานปราบปรามการทุจริตของ ป.ป.ช. ของ ป.ป.ช. เน่ืองจากมีปจจัยทั้งภายในและภายนอก ลง จักไดสามารถเนนเฉพาะเร่ืองท่ีเกี่ยวกับผูดำรง มากมายหลายประการท่ีมีผลให ป.ป.ช. จะตองมี ตำแหนงระดับสูงไดมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังกำหนด การปรับเปลี่ยนบทบาทอำนาจหนาที่และวิธีการ ใหมีกรรมการ ป.ป.ช. ประจำจังหวัดข้ึน เพื่อชวย ดำเนินงาน ตลอดจนกระทั่งวิธีคิดและวัฒนธรรม แบง เบาภาระงานทั้งทางดานการปองกนั ปราบปราม องคกร ปจจัยดังกลาวท่ีมีผลกระทบมากท่ีสุด ไดแก การทุจริต และการตรวจสอบทรัพยสินของกลุม รัฐธรรมนูญใหม พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่ีมีบทบัญญัติ เปาหมายในสวนภูมิภาค และเพ่ิมความครอบคลุม *ศาสตราจารย ดร. ภักดี โพธิศิริ (Professor Dr. Pakdee Pothisiri) กรรมการ ป.ป.ช. 20

»·‚ Õè ñ ©ºÑº·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ มากย่ิงข้ึน ประการหน่ึงในดานของระบบตรวจสอบ ที่มีการบัญญัติเพ่ิมเติมในบางประเด็นที่เรงดวนเพื่อ ท รั พ ย สิ น ก็ ไ ด เ พ่ิ ม บ ท บ า ท ก า ร มี ส ว น ร ว ม ข อ ง มิใหเกิดปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติหนาท่ี สวน ประชาชนในการเขามารวมตรวจสอบและใหขอมูล คาบที่ ๒ คงเปนการดำเนินการในสวนที่เหลือให ตางๆ โดยเฉพาะกรณีการแสดงบัญชีทรัพยสินและ ครบสมบูรณ ทั้งน้ีอาจรวมถึงมาตรการบางอยางที่ หนสี้ นิ ของผดู ำรงตำแหนงทางการเมือง ฯลฯ จำเปน เพ่ือรองรบั การที่ ป.ป.ช. จะตองเปน หนว ยงาน หลักในการดำเนินการเพ่ือใหเปนไปตามขอตกลง นอกเหนือจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ ยังมี ภายใตอนุสัญญา UNCAC (United Nations กฎหมายสำคัญอีกฉบับหน่ึงที่ไดผานการเห็นชอบ Convention Against Corruption 2003) ท่ีรัฐบาล ของสภานิติบัญญัติแหงชาติแลว เพียงแตอยูระหวาง ชดุ ปจ จบุ นั มแี ผนวา จะใหส ตั ยาบนั ใหท นั กอ นสน้ิ วาระ การรอพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ไดแก ราง สวนภาระหนาที่ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ไดแก พ.ร.บ. วาดวยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหวาง การเรงรัดดำเนินการดานบริหารจัดการเก่ียวกับ ประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม พ.ศ. การปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกรของสำนักงาน ........ ซึ่งกฎหมายฉบับนี้กำหนดให ป.ป.ช. เปนผู ป.ป.ช. เพอื่ ใหส อดคลอ งกับการเปล่ยี นแปลงบทบาท รับผิดชอบในการบังคับใช ซึ่งตามเน้ือหาสาระของ อำนาจหนาที่ของ ป.ป.ช. ซึ่งหมายรวมถึงเรื่องของ กฎหมายฉบับน้ีจะครอบคลุมลักษณะความผิด การขยายกรอบอัตรากำลัง การคดั เลือก บรรจุ แตงต้ัง เกี่ยวกับการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ และเตรียมความพรอมของบุคลากรที่จะเขามารวม ประโยชนสวนรวมของเจาหนาที่รัฐ คูสมรส และ รับผิดชอบงานทุกระบบตามกรอบการเปล่ียนแปลง ญาติ ที่คอนขางกวางขวาง และจัดเปนเร่ืองใหม ดังกลาว สำหรับบานเรา จนเปนที่หวงกังวลวาในทางปฏิบัติ อาจจะมีขอยุงยากที่จะตองช้ีแจงทำความเขาใจกับผูท่ี ยิ่งไปกวานั้นการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้น มีสว นเกย่ี วขอ งไดเสยี คอนขา งมาก อีกทัง้ ป.ป.ช. จะ ดังท่ีกลาวมาขางตน ซ่ึงนับไดวาเปนการปฏิรูประบบ ตอ งปรับโครงสรา งสำนกั งาน ป.ป.ช. เพอ่ื รองรับการ งานทางดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต บังคับใชก ฎหมายฉบบั นีด้ ว ย ในภาพรวมคร้ังสำคัญ มีผลใหมีองคกร หนวยงาน และภาคสวนตางๆ อยางหลากหลาย เขามามีสวน ดวยเหตุน้ีเองป พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงเปนปแหง รวมในการบันดาลความสำเร็จใหเกิดขึ้นในการตอสู การที่ ป.ป.ช. จะตองมีภาระหนาที่สำคัญในอันที่จะ กบั ปญ หาทจุ ริตคอรรปั ชนั เชนในฝายบริหารเองตาม ตองกำกับดูแลและชวยสนับสนุนผลักดันใหมีการ รัฐธรรมนูญฉบับใหมก็จะตองจัดต้ังหนวยงานข้ึน เปลี่ยนผานเขาสู ป.ป.ช. ยุคใหม ตามรัฐธรรมนูญ มารองรับการดำเนินการทางดานการปราบปราม พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดราบร่ืน ภาระหนาท่ีสำคัญๆ ไดแก การทจุ รติ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั เจา หนา ทขี่ องรฐั ในระดบั ลา ง การเรงรัดดำเนินการจัดรางกฎหมายประกอบ ขณะทอ่ี งคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู เชน ผูต รวจการ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ แผนดิน และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ก็จะมี ทุจริต ซ่ึงคงจะตองแบงการดำเนินการออกเปน ๒ บทบาทในดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต คาบ คาบแรกเปนการเรงรัดปรับปรุงแกไข พ.ร.บ. อยางกวางขวางมากขึ้น รวมถึงฝายตุลาการท่ีไดมี ประกอบรัฐธรรมนูญฉบับที่ใชอยูในปจจุบันเฉพาะ การเพิ่มบทบาท อำนาจหนาท่ีของศาลฎีกาแผนกคดี ในสวนสำคัญๆ ที่รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ มี อาญาของผูดำรงตำแหนงทางการเมืองกวางขวาง การเปลย่ี นแปลงสาระสำคัญตา งไปจากเดิม และสวน 21

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. มากขึ้น ที่สำคัญคือ รัฐธรรมนูญฉบับใหมใหความ We should have been pleased that though สำคัญตอการเขามามีสวนรวมของภาคประชาสังคม we have confronted with and win over the obstacles ในการตอสูกับการทุจริตอยางชัดเจน และมีการเพิ่ม of various kinds along the course of development มาตรการใหมๆ เชน การคุมครองพยาน เปนตน part of which rooted in the corruption, most of us ป.ป.ช. จึงตระหนักวาการตอสูปญหาทุจริตคอรรัป have begun to realize such threat. We are ready ชันในหวงเวลาตอจากน้ีไป เปนเรื่องท่ีจะตองอาศัย to pull our force together to fight it. Having been ความรวมมือรวมใจกันในระหวางผูท่ีมีสวนเก่ียวของ informed about it, we should together be able to และสวนไดเสีย (stakeholders) ทุกภาคสวนเพื่อ set up national strategy to prevent and suppress the บรรลุสูเปาหมายสุดทายท่ีคนไทยทุกคนตองการให corruption. Moreover, we would be determined เกดิ ขนึ้ ภายใน ๕ ปข า งหนา นนั่ คอื “สงั คมไทยมวี นิ ยั to solve this problem and all together offer to our และยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรม ทุกภาคสวนรวม beloved King with the slogan กันปองกันและปราบปรามการทุจริต” อีกทั้งจำเปน ที่ จั ก ต อ ง มี ก า ร ก ำ ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ช า ติ ว า ด ว ย “We will all hands in hands to wash การปองกันและปราบปรามการทุจริต ซ่ึงเปนที่ corruption out of Thai soil to celebrate our Great เห็นพองตองกันโดยผูท่ีเกี่ยวของทุกฝาย เพ่ือเปน King.” กรอบแนวทางในการดำเนินการใหสัมฤทธ์ิผลตาม เปาหมาย โดยยุทธศาสตรดังกลาว จะตองมีการ (Translated by Editorial Board) กำหนดกลไกในการขับเคล่ือน เพ่ือท่ีจะนำเอา ยุทธศาสตรท่ีกำหนดข้ึนไปสูการดำเนินการ เพ่ือแก ปญหาเกี่ยวกับการทุจริตคอรรัปชันของประเทศไทย เอาไวอยางชัดเจน เปนที่นายินดีวาถึงแมเรายังคงตองเผชิญและ ฟนฝาอุปสรรคตางๆ ในการพัฒนาประเทศชาติอันมี สาเหตุสำคัญประการหนึ่งมาจากปญหาการทุจริต คอรรัปชัน ทวาคนไทยสวนใหญก็ไดตระหนักถึงภัย คุกคามดังกลาว และพรอมที่จะรวมมือกันหาหนทาง ตอสูกับปญหาการทุจริตคอรรัปชันอยางรูเทาทัน ดวยการรวมกันกำหนด ยุทธศาสตรชาติวาดวย การปองกันและปราบปรามการทุจริต ข้ึน พรอมทั้ง ยังไดรวมกันตั้งปณิธานอันแนวแนท่ีจะแกปญหา ดังกลา วตามคำถวายสัตยป ฏญิ าณทวี่ า “เราจะรวมกันลางทุจริตใหส้ินแผนดินไทย เพือ่ เทิดไทองคราชัน” 22

»‚·èÕ ñ ©ººÑ ·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ขอ คดิ และหลกั การดา นการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ กลา นรงค จันทิก* ภารกิจการปองกันและปราบปรามการทุจริต ● ประชาชนจะตองสรางจิตสำนึกวาเรา ถอื เปน ภารกจิ หลกั ทส่ี ำคญั ของ ป.ป.ช. ทตี่ อ งทำอยาง จะตองทำดี เราจะตองไมสนับสนุนการทุจริต คือ จริงจังและตองทำดวยความเสียสละ เราตองกลาที่จะ จะตองสรางจริยธรรมในใจของตัวเอง จริยะคือ ยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกตอง ไมหว่ันเกรงกับกระแส ความประพฤตสิ ่งิ ท่คี วรประพฤติ ธรรมะ เราพูดคำวา หรือผลกระทบหรือความกดดันใดๆ ทั้งสิ้น จะตอง ธรรมคือ หลักธรรมของพระพุทธเจา ซ่ึงหมายถึง ใหความเปนธรรมกับทุกฝายและตองทำงานดวย ความดี ความถูกตอง ความยุติธรรม ฉะน้ัน ความโปรงใสอยางตรงไปตรงมา ตองทำใหองคกร จริยธรรม คือ การประพฤติดวยความดี ประพฤติ ป.ป.ช. เปนองคกรที่สามารถจะยืนหยัดอยูบนความ ดวยความถูกตอง ประพฤติดวยความยุติธรรม ถา เช่ือถือและความศรัทธาของประชาชนและเปน ทุกคนมีจริยธรรม คนทง้ั ชาตมิ จี รยิ ธรรม ไมว า จะเปน องคกรที่เขมแข็ง เปนหลักในการปฏิรูปการเมือง ประชาชน ไมวาจะเปนขาราชการ ก็จะทำใหบาน ตอ ไป เมืองดีข้ึน ดังนั้น ประชาชนตองไมมีสวนสนับสนุน ในการทุจริต ถึงแมวาการทุจริตนั้นจะทำใหตัวเองได สำหรับแนวความคิดในเร่ืองของการปองกัน รับผลประโยชน คือ การไมจายใตโตะ การยอมรับใน และปราบปรามการทุจริต ตามทัศนะแนวคิดสวนตัว การกระทำความผิด ขับรถผิดกฎจราจรไมไปขอรอง ถือวาเปนภารกิจของคนท้ังชาติ เปนภารกิจท่ีเราตอง ตำรวจ แตยอมไปชำระคา ปรบั เปน ตน ชวยกัน ส่ิงท่ีสำคัญ คือ ภาคประชาชน ตองเขามามี บทบาทท่ีสำคัญยิ่งในเรื่องของการตรวจสอบการ ● ประชาชนจะตองสรางความกดดันทาง ใชอำนาจรัฐ จะหวังพึ่งองคกรอิสระ หรือหวังพ่ึง สังคม (social sanction) คนทำไมดี คนที่ไดตำแหนง ฝายบริหาร หรือหวังพึ่งฝายนิติบัญญัติอยางเดียว มาโดยไมถ กู ตอ ง เราตอ งสรา งความกดดนั ใหเ ขารสู กึ วา ไมได จะตองเอาภาคประชาชนมามีสวนรวมดวย สง่ิ ทเ่ี ขาไดม าโดยไมถ กู ตอ งนนั้ สงั คมไมย อมรบั วิธีการ และส่ิงท่ีประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมไดมี สรางความกดดันในสังคมน้ัน ไมไดหมายความวา ๔ ประการ คอื จะตองไปขับไลเขา แตเราแสดงใหเขาเห็นวาเรา ไม *นายกลา นรงค จนั ทกิ (Mr. Klanarong Chanthick) กรรมการ ป.ป.ช. 23

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. อยากคบคาสมาคม เราแสดงใหเขาเห็นวาเรารูนะวา In conclusion,…. เขาไดทรัพยสินมาจากไหน ไมดีอยางไร น่ีคือสิ่งท่ี สำคัญ เรายนื ซอื้ ของอยูแ ละเราเหน็ เขาเดินมา เราอาจ …“we should not forget that the corruption จะเดินหนี แสดงใหเขาเห็น ถาทุกคนแสดงอยางนี้ could destroy everything including the political, ความกดดันทางสงั คมจะเกิดขน้ึ คนทีจ่ ะกระทำความ economic, and social systems. It is necessary that ชั่วจะไมกลา คนที่จะกระทำความผิดก็จะไมกลาทำ everybody has to lend hands and be determined to เพราะความกดดันทางสงั คมเกิดข้ึน do the right things without fear of any kind.” ● ประชาชนตองชวยกันเปนหูเปนตา (Translated by Editorial Board) ดูแล ทรัพยสินงบประมาณ ซ่ึงเปนของของเราเอง ตองชวยกันสอดสองดูแล สายตาของหนวยตรวจ สอบน้ันอาจจะมีไมกี่รอยคู แตหากเปนสายตาของ ประชาชนท้ังหมด เจ็ดสิบแปดสิบลานคู จะดูแลได อยางทัว่ ถึง ดังน้นั เราจึงตองชว ยกนั ดแู ล ● ประชาชนตองเปล่ียนทัศนคติคานิยม ซ ึ่งเดิมมนุษยจะเปนผูท่ีรักสงบ ไมอยากจะยุงอะไรกับ ใคร เปลี่ยนทัศนคติคานิยมมาใหมวาเราตอง ลุกขึ้นยืนหยัด และถาเราเห็นอะไรที่ไมถูกตอง เรา จะไมยอม นี่คือสิ่งท่ีอยากจะฝากไวใหกับพ่ีนอง ประชาชน สดุ ทายคอื … “เราตองไมลืมวาการทุจริตน้ัน เปนสิ่งที่ ทำลายทุกสิ่งทุกอยาง ทั้งระบบการเมือง ระบบ เศรษฐกิจ ระบบสังคม ฉะน้ัน ทุกคนตองชวยกัน และทุกคนตองกลายืนหยัดทำในส่ิงท่ีถูกตองโดยไม เกรงกลวั ตอ สิง่ ใด” 24

»‚·èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ขอคดิ และหลักการดานการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ประสาท พงษศวิ าภยั * “ดูซิ....ประเทศไทยทุจริตกันมากมาย มีมาตั้งนานแลว อับอายชาวโลก ป.ป.ช. ปลอยใหการ ทจุ รติ คอรร ปั ชนั แพรห ลายทั่วไป เตม็ บานเตม็ เมอื งไดอยา งไร ป.ป.ช. ไมกลา วางเฉย ไมเ อาจรงิ จบั ไดก็ เพียงปลาซิวปลาสรอ ยตวั เลก็ ๆ ปลาตวั ใหญๆ ไมม ปี ญ ญาจบั ได” “ไป ตืน่ เสียที ป.ป.ช. ลกุ ขนึ้ ไปทำงาน ไปสอบสวนไลจบั ” ฯลฯ เสียงตำหนิ วากลาว ป.ป.ช. ยังมีอีกมากมาย คือ น้ิวหัวแมมือ นิ้วหัวแมมือน้ิวเดียว ไมสามารถ วาเพราะ ป.ป.ช. จึงทำใหคอรรัปชันมีเยอะ เรงรัด หยิบส่ิงของได ถาจะใหหยิบไดตองใชนิ้วช้ีชวย กวดขัน ป.ป.ช. ใหเรงรีบขจัดการทุจริตประพฤติ ประกบ หรือถาใหหยิบไดถนัดก็ตองใชน้ิวกลาง มิชอบเรว็ ไว นิ้วนาง นิ้วกอยเขารวมชวยดวย ก็จะยิ่งดีข้ึนๆ และ ถาทุกนิ้วงอรวมตัวกันเปนกำปน พลังอยูท่ีกำปน ผมไมปฏิเสธวา ป.ป.ช. ก็ตกเปน “จำเลย” ฉันใด นิ้วตางๆ ซ่ึงเปรียบเสมือนหนวยงานของรัฐ ในขอหาวา เปนเหตุหน่ึงท่ีทำใหการทุจริตยังมีอยูใน นักการเมือง ประชาชน ฯลฯ ที่มารวมมอื กบั ป.ป.ช. เมืองไทย แตคงไมเปนธรรมที่จะมามุงกลาวโทษเนน กจ็ ะทำใหเกิดพลังแหง กำปนฉันน้นั ที่ ป.ป.ช. หนวยงานเดียว เพราะวาปจจัยของความ สำเร็จในการขจัดทุจริตมีอยูมากมาย เชน วิถีชีวิต สรุปวา งานของ ป.ป.ช. ในการตอตาน สังคมไทย สภาพแวดลอม ประชาชน ขาราชการ คอรรัปชันจะใหไดผลสำเร็จ หัวใจสำคัญ คือ มีการ นกั การเมอื ง กฎหมาย รัฐบาล หนว ยงานของรัฐ ฯลฯ ประสานงานในลักษณะทีมงาน ที่รวมตัวจากทุก ภาคสวน คือกำปนท่ีทรงพลังตอสูและทำลายคอร- ถาเปรียบเทียบวา ป.ป.ช. มีภาพลักษณวา รปั ชนั นนั่ เอง เปนมือปราบคอรรัปชัน และยกน้ิวใหวายอดเยี่ยม *นายประสาท พงษศวิ าภัย (Mr. Prasat Phongsiwapai) กรรมการ ป.ป.ช. 25

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. It can be concluded that for the NCCC’s mission to effectively counter corruption, the key principle is to involve every sector of society in collaborative teamwork. This united force serves as the powerful fist to fight and conquer corruption. (Translated by Editorial Board) 26

»·‚ èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ขอคดิ และหลกั การดานการปอ งกัน และปราบปรามการทุจริต ใจเดด็ พรไชยา* ปจจุบันการทุจริตถือเปนปญหาสำคัญปญหา ทรัพยสินตกเปนของแผนดิน การดำเนินคดีอาญา หนึ่งของโลก หลายประเทศรวมท้ังประเทศไทยดว ย รวมท้ังการเสนอมาตรการความเห็น หรือขอเสนอ ไดจัดตั้งองคกรอิสระเพ่ือรับผิดชอบในการปองกัน แนะ หลักการปฏิบัติ ตอคณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล และปราบปรามการทุจริตขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความ และหนวยงานอ่นื ของรฐั ดวย คิดเห็น ขอมูลขาวสารและวิธีการทุจริตในรูปแบบ ตางๆ เพื่อแสวงหาแนวทางหยุดย้ังความทุจริตลง ๑. การทุจรติ ใหไ ด หากแปลตามตัวอักษรแลว ก็หมายความวา สำหรับประเทศไทยเริ่มตนที่พระราชบัญญัติ “ความประพฤติท่ีไมดี” หากพิจารณาในแง ความ ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มุงหมายแลว หมายถึง “การโกง” โดยเฉพาะการโกง มิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ ตามดวย งบประมาณแผน ดิน เปน ธรรมชาติฝายตำ่ อนั เนอื่ งมา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ จาก “โลภเจตนา” ซึ่งซอนอยูใตจิตสำนึกของทุกคน พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ มากบางนอยบางขึ้นอยูกับวาบุคคลผูน้ันมี “หิริ และ ปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และรฐั ธรรมนญู โอตตัปปะ” เปนภูมิคุมกันมากนอยเพียงใด อาการท่ี แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มีวัตถุประสงค ปรากฏจะเริ่มข้ึนท่ีการคิดเขาขางตนเอง และยึดมั่น หลัก คือ การตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ในทิษฐินั้นอยางเหนียวแนน และเม่ือมีโอกาสท่ี ของรัฐวา ไดใชอำนาจรัฐโดยชอบดวยกฎหมายและ เหมาะสมการกระทำก็อาจรุนแรงข้ึนถึงขั้นวางแผน โดยสุจริตหรือไม มีมาตรการหลักอยูสองมาตรการ โกงสมบัตแิ ผนดินมาเปน ของตน คือ มาตรการปองกันกับมาตรการปราบปราม มี เคร่ืองมือสำคัญ คือ การตรวจสอบทรัพยสิน และ การตอสูกับความทุจริต จึงมิใชเปนการตอสู การไตสวนขอเท็จจริง เพื่อนำไปสูการถอดถอนออก กบั ตัวบุคคลใดบุคคลหนงึ่ โดยเฉพาะ แตเ ปน การตอ สู จากตำแหนง การดำเนินการทางวินัย การขอให กับพฤติกรรมท่ีประกอบดวยเจตนารายของบุคคล บางกลุมบางคณะเทา น้นั เอง *นายใจเดด็ พรไชยา (Mr. Jaided Pornchaiya) กรรมการ ป.ป.ช. 27

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. ๒. ลักษณะของสังคมไทยกบั การทจุ รติ เบียดบังงบประมาณแผนดินในรูปแบบตางๆ เทา ที่ ผทู จุ รติ จะคดิ ได โดยอาศยั ชอ งวา งจากระบบบรหิ าร สังคมไทยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ราชการ การทจุ รติ จงึ องิ ๆ กนั ไปกบั ระบบบรหิ ารราชการ มาแตอดีต มีขาราชการเปนผูรับสนองพระบรม- นนั่ เอง การปฏริ ปู ระบบราชการในแตล ะครง้ั นน้ั จะมี ราชโองการ และปฏิบัติราชการตางพระเนตรพระ- ความคิดในการปองกันการทุจริตควบคูกันไปดวย กรรณ มีอุดมคติยึดมั่นในทศพิธราชธรรมมิใหใช เสมอ การทำความเขาใจกับระบบบริหารราชการจึง พระราชอำนาจเกินขอบเขต โดยเฉพาะในเร่ือง เปนสิ่งจำเปน พจิ ารณาพพิ ากษาคดซี งึ่ ถอื วา กฎหมายเปน สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ผูพิพากษา และตุลาการตองยึดม่ันในหลักอินทภาษ ในอดีตการบริหารราชการไทยไมมีระบบงบ คอื ไมห ว่นั ไหวเพราะความรัก ความโกรธ ความกลวั ประมาณ ในป พ.ศ. ๒๔๑๗ พระเจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๕ และความหลง (การไมร จู กั งานในหนา ทเี่ ปน ความหลง มีพระราชดำริใหมีการปฏิรูประบบบริหารราชการ อยางหน่ึง) สังคมไทยยอมรับ ความแตกตางระหวาง แผนดิน โดยเริ่มตนท่ีโปรดเกลาฯ ใหตราพระราช- บคุ คลโดยเฉพาะในเรอ่ื งของคณุ ธรรม มผี ูใหญ ผูนอย บัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน จ.ศ. ๑๒๓๕ ผูใหญและผูนอยมีความสัมพันธกันดวยพรหมวิหาร (พ.ศ. ๒๔๑๗) และพระราชบัญญัติสำหรับกรม ธรรม สังคหวัตถุธรรมและคารวธรรมมีวิถีชีวิตท่ี พระคลงั มหาสมบตั แิ ลวา ดว ยกรมตา งๆ ซงึ่ จะเบกิ เงนิ เรียบงา ย พ่ึงพงิ และใกลช ิดกับธรรมชาติ สง เงิน จ.ศ. ๑๒๓๕ (พ.ศ. ๒๔๑๙) ขึน้ โดยกำหนดให กรมพระคลงั มหาสมบัติ ทำบัญชีกะรายรับรายจายใน ในขณะท่ีสังคมตะวันตกมีการตอสูระหวาง ปที่แลว เพื่อเปนแบบเทียบเคียงเงินที่จะใชรับและ ชนชั้น และจบลงดวยการยึดมั่นในเสรีภาพ และ จายในปข างหนาตอ ไป ความเสมอภาค มคี วามสมั พนั ธก นั ดว ยสทิ ธแิ ละหนา ทซี่ งึ่ องิ อยกู บั ประโยชนท างวตั ถุ มวี ถิ ชี วี ติ ทยี่ ดึ ถอื ความโออ า อีกประมาณ ๑๖ ปตอมา จึงโปรดเกลาฯ สะดวกสบายเปนหลัก และมกี ารปกปองตวั เองสูง ใหตราพระราชบัญญัติกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ วาดวยงบประมาณ และรายงาน ร.ศ. ๑๐๙ (พ.ศ. ในชวงศตวรรษท่ีผานมา สังคมไทยจำเปน ๒๔๓๔) กับพระราชบัญญัติพระธรรมนูญนาท่ี ตองยอมรับอารยธรรมตะวันตก แนวคิดจึงเปล่ียน ราชการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร.ศ. ๑๐๙ เปนสองกระแส กระแสหน่ึงตองการเห็นสังคมไทย ใหกรมพระคลังขางที่จัดการเงินในพระองคของ เปนเชนสังคมตะวันตก ดวยเช่ือวาปรากฏการณเชน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแยกตางหากจาก น้ันมีลักษณะเปนสากล และดูเหมือนวาแนวคิดน้ีจะ พระราชทรพั ยสำหรบั แผนดนิ เปนกระแสนำ แตอีกกระแสหนึ่ง ยังเห็นคุณคาของ สังคมไทยในอดีต ปจจุบันทั้งสองแนวคิดยังเขากันได ระบบงบประมาณแผนดินจึงเกิดข้ึนผลก็คือ ไมสนิท ความสับสนจึงเกิดข้ึน ผลพวงที่ตามมาก็คือ การบริหารราชการแผนดินจะมีรายรับรายจายให เชื้อความทุจริตซึ่งมีอยูบางแลวจึงเบงบาน ผลิดอก ตรวจสอบได ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของการกำหนด ออกใบ เหมือนขาวไดฝน ปญหาความทุจริตจึงดู มาตรการปองกันการทจุ ริต รนุ แรงขน้ึ ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๐๓ มีพระบรมราช- ๓. ระบบบริหารราชการกับมาตรการปองกัน โองการโปรดเกลาฯ ใหใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ โดย การทจุ ริต ใหเร่ิมดำเนินการระหวาง ป พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๖ การทุจริตในภาคราชการมีลักษณะสำคัญที่ 28

»·‚ èÕ ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ การจัดทำแผนเปนมาตรการปองกันการใชเงิน ปรับปรุงการปฏิบัติราชการ หรือวางแผนงาน งบประมาณใหเปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคย ่ิงขึ้น โครงการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวย งานของรัฐ เพื่อปองกันหรือปราบปรามการทุจริต มาตรการจัดทำงบประมาณ และมาตรการให ตอหนาท่ี กระทำความผิดตอตำแหนงหนาที่ราชการ จดั ทำแผนงาน ยงั ไมก ระชบั พอทจ่ี ะปอ งกนั การทจุ รติ หรือการกระทำความผิดตอตำแหนงหนาท่ีใน จึงเกิดกระแสการปฏิรูประบบบริหารราชการ การยุติธรรม” และน่ีคือ แมบทเก่ียวกับการปองกัน แผนดินข้ึนอีกครั้งหน่ึง (ซ่ึงเปนแนวคิดท่ีรับมาจาก การทจุ รติ ในหนาทขี่ องคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตางประเทศ) เร่ิมตนท่ีมีการตรารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ระเบยี บสำนักนายก ๔. ระบบอำนวยความยุติธรรมกับมาตรการ รัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบาน ปราบปรามการทุจริต เมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับรองมาตรฐานดานการจัดการ และ มาตรการปราบปรามการทจุ รติ สว นหนงึ่ เปน สัมฤทธ์ิผลของงานภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ แกไข งานในกระบวนการยตุ ธิ รรมของฝา ยบรหิ าร ในอดตี คง เพิ่มเติม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน มีอยูแลวตามกฎหมายเกา เมื่อมีการปฏิรูปกฎหมาย ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชกฤษฎีกาวาดวย จึงปรับปรุงระบบงานโดยเร่ิมท่ีกำหนดลักษณะ หลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี ความผิดตอตำแหนงหนาท่ีราชการ และความผิดตอ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎหมายอ่ืนๆ อีกหลายฉบับรวม ตำแหนงหนาที่ในการยุติธรรมไวในกฎหมายลกั ษณะ ทั้งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ อาญา พ.ศ. ๒๔๕๑ และประมวลกฎหมายอาญา ดวย พ.ศ. ๒๕๐๐ สวนวิธีการแสวงหาความจริง ดำเนิน การตาม พ.ร.บ. วิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใชไป จะเห็นไดวาการปฏิรูประบบบริหารราชการ พลางกอ น ร.ศ. ๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๔๐) ตามดว ยประมวล นั้น แทจริงแลวก็คือ การปฏิรูปกฎหมายนั่นเอง กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๘ พ.ร.บ. เพราะกฎหมายเทานั้นที่จะแปรแนวคิดออกสู ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ การปฏิบัติ การปรับปรุงกฎหมายครั้งนี้ทำใหระบบ มิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ รัฐธรรมนูญแหง บริหารราชการมีความละเอียดพิสดารและซับซอน ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ร.บ. ประกอบ ย่ิงขึ้น วัตถุประสงคสวนหนึ่งก็คือ จัดระบบบริหาร รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ ราชการใหโ กงยากยงิ่ ขึน้ นั่นเอง ทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ร.บ. วาดวยความผิดเก่ียวกับ การเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ แมวาระบบบริหารราชการจะวางไวดีเพียงใด พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดี ก็ยากที่จะปองกันการโกงได เพราะผูท่ีคิดจะโกง อาญาของผดู ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง พ.ศ. ๒๕๔๒ ก็จะพลิกแพลงหาวิธีปฏิบัติหลีกเล่ียงไดเสมอ พ.ร.บ. พ.ร.บ. การจัดการหุนสวนและหุนของรัฐมนตรี ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว า ด ว ย ก า ร ป อ ง กั น แ ล ะ พ.ศ. ๒๕๔๓ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๙ (๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ (ราง) พ.ร.บ. วาดวยความผิดเก่ียวกับ จึงบัญญัติใหเปนอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการ การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชน ป.ป.ช. ท่ีจะ “เสนอมาตรการ ความเห็น หรือ สว นรวม และกฎหมายอ่นื อีกหลายฉบบั ขอเสนอแนะ ตอคณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล หรือคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน เพ่ือใหมีการ 29

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃ ».».ª. จะเห็นไดวาตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๕๑ เปนตนมา ๕. แนวคิดในการปฏบิ ัติงาน กฎหมายเก่ียวกับการปราบปรามการทุจริตไดมี วิวัฒนาการอยางตอเนื่อง ทั้งในแงสาระสำคัญของ การปฏิบัติงานทุกประเภทตองเริ่มตนจาก การกระทำความผิด และวิธีการปฏิบัติงานของ การมองอดีต เพื่อทำความเขาใจกับปจจุบัน แลว จงึ พนักงานเจาหนาที่ แสดงใหเห็นวาความทุจริตได กำหนดเปา หมายสอู นาคตเสมอไป การเพง มองอนาคต เติบโตขึ้นอยางรวดเร็วท้ังในแงปริมาณ และรูปแบบ โดยไมค ำนงึ ถงึ อดตี จะเหมอื นกบั เรอื ทขี่ าดหางเสอื จะมี วธิ กี ารทุจริต ลักษณะเปนการลองผิดลองถูก และเร่ิมตนใหมอยู รำ่ ไป งานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีลักษณะ ใกลเคียงกับงานของศาล กลาวคือ ตองวินิจฉัยท้ังใน ผูเขียนเห็นวายิ่งองคกรปราบปรามการทุจริต ประเด็นปญหาขอเท็จจริง และประเด็นปญหาขอ เติบโตมากข้ึนเพียงใด กแ็ สดงวาระบบการปฏิบตั ิงาน กฎหมาย จะแตกตางไปบางก็เฉพาะในสวนท่ีเปน ราชการลมเหลวมากขึ้นเพียงน้ัน เพราะเปนการ วัตถุประสงค ข้ันตอน และวิธีการปฏิบัติงาน โดย เติบโตในทางวัตถุ ไมใชการเติบโตทางปญญาสิ่งท่ี เฉพาะในสวนที่วาดวยวิธีการแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ และ กระทบมากท่ีสุด ก็คือ ระบบงบประมาณแผนดิน พยานหลกั ฐาน รวมทงั้ ระดบั การใชด ลุ พนิ จิ ในประเดน็ เพราะงานดานปราบปรามการทุจริตน้ี มีคาใชจายสูง ปญ หาขอ เทจ็ จรงิ ดว ย แตผลงานมิไดกอใหเกิดประโยชนในลักษณะที่เปน การสรางสรรคโดยตรงแตอยางใด ตรงนี้ ทฤษฎี วัตถุประสงคของงาน คือ การแสวงหา “พอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว นาจะ ความจรงิ และหากเหน็ สมควรดำเนนิ คดีอาญา กต็ อง นำมาใชไ ดกับงานปองกันและปราบปรามการทุจรติ รวบรวมขอเท็จจริง และพยานหลักฐานใหมากพอ ท่ีจะใชอางในคำฟอง ตามประมวลกฎหมายวิธี ความผิดตอตำแหนงหนาที่จะมีลักษณะเปน พิจารณาความอาญา มาตรา ๑๕๘ และพิสูจนความ การกระทำที่ไมมีอำนาจ หรือใชอำนาจเกินขอบเขต ผิดตามมาตรา ๑๗๔ และ ๒๒๖ ไมใชการตัดสิน ทำผิดระเบียบขั้นตอนตามที่กฎหมาย หรือแผนงาน ซึ่งเปน งานของศาล กำหนด ทำผิดวัตถุประสงคของงานซ่ึงรวมทั้ง การกำหนดแผนงาน หรือนโยบาย ท่ีเสี่ยงตอการเกิด กฎหมายท่กี ำหนดขนั้ ตอน และวิธกี ารปฏิบตั ิ ความเสียหายแกราชการดวย แตการกระทำที่มี งานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในสวนที่เก่ียวกับ ลักษณะเชนน้ีมิใชจะเปนความผิดตอกฎหมายอาญา กฎหมายวิธีสบัญญัติมีปะปนกันอยูในหลายฉบับ เสมอไป ความยากจะอยูท่ีการพิสูจนวาการกระทำ ความไมสอดคลองกันของกฎหมายทั้งในแงการใช เชนน้ันผูกระทำมีเจตนาทุจริต หรือมีเจตนาทำใหเกิด ถอยคำ การใหความหมาย และความเปนระบบ ความเสยี หายแกผ ูอ ่นื หรอื ราชการหรอื ไม เปน หลกั อาจทำใหเกิดความสับสนได ปญหาแรกท่ีทาทาย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก็คือ ทำอยางไรจึงจะสามารถ ผูปฏิบัติงานตองใชดุลพินิจวินิจฉัยทั้งใน กำหนดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติใหสอดคลองกับหลัก ประเด็นปญหาขอเท็จจริง และประเด็นปญหาขอ กฎหมายไดอ ยา งเปน ระบบ ซงึ่ รวมทง้ั การกำหนดหลกั กฎหมาย ขอเท็จจริงจะตองมาจากพยานหลักฐาน เกณฑก ารใชด ุลพินจิ วาแตกตางกบั ศาลอยา งไรดวย เทาน้ัน สวนขอกฎหมายจะตองอางบทมาตรา (หลัก กฎหมาย) ไดถูกตอง ระบบงานกำหนดไวใหเปน เชนนั้น จะเปล่ียนแปลงตามความรูสึกนึกคิดของตน 30

»‚·Õè ñ ©ººÑ ·èÕ ñ Á¡ÃÒ¤Á òõõñ ไมได แตจะอยางไรก็ตามผูวินิจฉัยก็เปนเพียงมนุษย ทัศนะตอผูกลาวหา กฎหมายปองกันและ ผูมีความรูและประสบการณจำกัด ยอมมองปญหา ปราบปรามการทุจริต เปดโอกาสใหทุกคนมีโอกาส ตางกัน มีวิธีคิดตางกัน ทัศนะของผูปฏิบัติงานท่ีมีตอ กลาวหาได การกลาวหาจึงอาจทำไดโดยงาย ผูกลาว สังคมและงานแตละอยางจึงมีความสำคัญ และมี หาบางคนอาจถือโอกาสน้ีทำลายผูอื่นได การตรวจ อทิ ธิพลตอคำวินิจฉัยอยางยง่ิ สอบขอเท็จจริง และพยานหลักฐานเบ้ืองตน จึงมี ความจำเปนเพื่อใหการปฏิบัติงานมีความรอบคอบ ทัศนะตองาน ผูเขียนเห็นวาตองใชวิชาการ ย่งิ ขึ้น นำการปฏิบัติ คือ ตองใหเหตุผลท่ีสังคมยอมรับไดมา อธิบายวาเหตุใดจึงคิด และตัดสินใจเชนน้ัน และ สำหรับองคความรูที่จำเปนในการปฏิบัติงาน เหตุผลน้นั ตองมหี ลกั กฎหมายสนบั สนนุ ดว ย น้ัน ความรูหลัก ไดแก ระบบงานบริหารราชการ แผน ดิน ระบบงานในกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา การจัดองคกร และจัดระบบงานดานบริหาร รวมถึงระบบงานในวิสาหกิจของรัฐ ในรูปแบบ จัดการ นั้น แมอ งคกรอิสระจะสามารถกำหนดเองได ตางๆ อยางลึกซึ้งควรทำความเขาใจใหถองแทวา แตในทางปฏิบัติแลวควรจะตองยึดถือตามแนวทางที่ วัตถุประสงคของงานน้ันๆ คืออะไร ข้ันตอนและวิธี พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑ และวิธีการ ปฏิบัติที่กฎหมายกำหนดไวน้ันมีอยูอยางไร ผูรับ บริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดไว ผิดชอบในการปฏิบัตินั้นปฏิบัติชอบหรือไมชอบดวย เพือ่ ใหสอดคลองกบั งานในระบบอ่นื ๆ หลักกฎหมายอยางไร และตองใหความเห็นไดดวยวา การปฏิบัติท่ีถูกตองนั้นควรจะเปนอยางไร เร่ืองน้ี ทัศนะตอผูถูกกลาวหา ตองยอมรับวา อาจจะตองอาศัยการวิจัยเปนเคร่ืองนำทาง แตจะ เจาหนาท่ีของรัฐผูซึ่งตองตกเปนผูถูกกลาวหาน้ัน ได อยางไรก็ตาม ผลงานวิจัยนั้นควรจะลึก และสามารถ ผานการคัดเลือกมาครั้งหนึ่งแลว ในการปฏิบัติงาน นำไปเปนหลกั ในการปฏบิ ัติงานไดดวย เขายอมมีวิธีคิดท่ีแตกตางไปจากผูวินิจฉัยแนนอน งานบริหารบางประเภท นอกจากจะตองอาศัยความรู ในทศั นะของผเู ขียน เราควรคิดอยา งงา ยๆ วา ทางเทคนิคแลว ยังตองอาศัยจินตนาการประกอบ ดวย ย่ิงมุงมั่นต้ังใจทำงานมากโอกาสท่ีจะกอใหเกิด “การทำงานใหสำเร็จนั้นข้ึนอยูกับปจจัยหลัก ความขัดแยงทางความคิดก็จะยิ่งสูง โอกาสที่จะ สองประการ ประการแรก คือ เครื่องมือดี กับ ตัดสินใจผิดพลาดก็ย่ิงมาก แตโลกก็เจริญเพราะคน ประการท่ีสอง คือ ผูใชเคร่ืองมือเปน เคร่ืองมือท่ี กลุมนี้ การพิจารณาการกระทำของเขา จึงตอง สำคญั ทีก่ ฎหมายใหไวไดแ ก การตรวจสอบทรัพยส ิน นำความรู ประสบการณ และสถานการณที่เขา กับการไตสวนขอเท็จจริง การพัฒนาระบบงาน ตองเผชิญมาพิจารณาประกอบดวย ในบางกรณี ใหงายตอการปฏิบัติกับการพัฒนาความรู ทักษะ การกระทำผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนโดยความไมต้ังใจ หรือ และทัศนคติของผูปฏิบัติไปพรอมๆ กัน จึงเปน เปนการผิดพลาดเพียงเล็กนอย รัฐตองคุมครอง ซึ่ง ยุทธศาสตรที่สำคัญ แมความคิดจะงาย แตการ เปนหลักการที่ปรากฏอยูใน พ.ร.บ. ความรับผิดทาง ปฏิบตั ใิ หเปนไปตามความคิดนน้ั ไมไดง า ยเลย” ละเมดิ ของเจาหนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ทง้ั น้เี พอ่ื ไมใหเ กิด ปญหาในการบริหารอันเน่ืองมาจากเจาหนาท่ีไมกลา In my view,… ตดั สินใจดำเนนิ งานเทา ทคี่ วร “we should keep in mind that “the success of achieving mission’s goal depends on two factors: Firstly, the effective tool, and secondly, people who 31

ÇÒÃÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ».».ª. know how to use the tool. The tools provided by legal system include the inspection into the public figure’s properties and the fact finding inquiry. There is a need to develop the operational system so that it is more practical which goes hand in hand with the development of the involved personnel’s knowledge, skill, and attitude. This two-sided process is then the key strategy. Though the idea sounds simple, the practice is not that easy.” (Translated by Editorial Board) 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook