Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore reserch2-63

reserch2-63

Published by special_lp, 2021-06-06 04:49:39

Description: reserch2-63

Search

Read the Text Version

ก ชอื่ ผ้วู จิ ยั นายสราวธุ แกว้ มณีวรรณ ชื่อเรอ่ื งวิจยั การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรือการเคลื่อนไหว หรอื สุขภาพ โดยใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการสื่อสาร (AAC) บทคัดย่อ การค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ ๑) เพ่ือพัฒนาความสามารถในการ สื่อสารของนักเรยี นท่มี ีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรือสขุ ภาพ โดยใช้อุปกรณ์ช่วย ในการส่ือสาร (AAC) ๒) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์ช่วยในการส่ือสาร (AAC) กรณีศึกษา คือนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ อายุ ๗ ปี รับบริการท่ีบ้าน ตามโครงการปรับบ้านเป็นห้องเรียนเปล่ียนพ่อแม่เป็นครู อาเภอเถิน จานวน 1 คน ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา 2563 การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยในรูปแบบ แบบ One Group Pretest – Posttest Design โดยมีเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาไดแกอุปกรณ์ช่วยในการสื่อสาร (AAC) แผนการสอนเฉพาะบุคคล แบบสังเกตการณ์เรียนรู้ โดยข้อมูลที่ไดจากการศึกษานามาวิเคราะห์ หาคา่ เฉลี่ย คา่ ร้อยละ และวธิ กี ารพรรณนาเชิงวเิ คราะห์ ผลการศกึ ษาวิจัยสรุปได้ดังน้ี 1. ความสามารถในการสอื่ สารของนักเรียนทีม่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สขุ ภาพ โดยใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการส่อื สาร (AAC) มผี ลการพัฒนาทดี่ ีขน้ึ โดยมคี ่าเฉลี่ยร้อยละ 50 2. ความสามารถในการส่อื สารของนกั เรียนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ ก่อนและหลังการใช้อุปกรณ์ช่วยในการส่ือสาร (AAC) พบว่า คะแนนทดสอบหลังเรียนมี คะแนนร้อยละ ๘๐.00 ซึ่งสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนที่มีคะแนนร้อยละ ๑๐.00 โดยมี พฒั นาการขึ้น คิดเป็นรอ้ ยละ 60.00

ข กติ ติกรรมประกาศ การวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาและเอาใจใส่อย่างย่ิง จากผู้เก่ียวข้อง หลายฝ่าย ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ นางสุรัญจิต วรรณนวล ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดลาปาง ท่ีกรุณาให้คาแนะนาและข้อคิดท่ีมีคุณค่าในการทาวิจัย ผู้วิจัยซาบซึ้งในความ กรุณาท่ีได้รบั เปน็ อย่างย่ิง ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุวดี วิริยางกูร ประธานชมรมเพ่ือคนพิเศษแห่ง ประเทศไทย Ms. Nicole Bender ผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นการใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการสอ่ื สาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ และ นายวุฒิชัย ใจนภา ครูชานาญการศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง ผู้เช่ียวชาญทั้ง 3 ท่าน ที่ได้ สละเวลาตรวจสอบเคร่อื งมือท่ีใช้ในการศึกษา และใหค้ าปรกึ ษา ขอ้ เสนอแนะเปน็ อย่างดี ขอขอบคุณกรณีศึกษา และผู้ปกครองของกรณีศึกษา ผู้อานวยการ คณะครู และบุคลากร ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ท่ีให้ความร่วมมือและอนุเคราะห์ในการ เก็บรวบรวม ขอ้ มลู การวจิ ยั ครั้งน้ี ผู้วิจัยระลึกถึงน้าใจอันดีงามของท่านอยู่เสมอ ท่ีสุดน้ีผู้วิจัยขอน้อมระลึกถึงพระคุณของ บิดา มารดา ที่ได้อบรมเล้ียงดู และหล่อหลอม ให้ผู้วิจัยมีความเพียร มีกาลังใจ และประสบผลสาเร็จ ในการศึกษาคร้งั นี้ นายสราวธุ แกว้ มณีวรรณ

ค สารบัญ หนา้ บทคัดย่อ........................................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ ค สารบัญ............................................................................................................................................. ง สารบญั ตาราง................................................................................................................................... ฉ บทที่ ๑ บทนา.......................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา.............................................................................. 1 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย..................................................................................................... ๒ สมมุตฐิ านการวิจัย............................................................................................................... ๓ ขอบเขตของการวจิ ยั ........................................................................................................... ๓ นยิ ามศัพท์เฉพาะ................................................................................................................ ๔ ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้....................................................................................................... ๔ บทท่ี ๒ เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง.................................................................................. 5 เอกสารที่เกีย่ วข้องกับเดก็ บกพร่องทางร่างกายฯ............................................................... 5 ความหมายของเดก็ ทีม่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลอื่ นไหว หรอื สุขภาพ ๗ ลักษณะอาการของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือ ๗ สขุ ภาพ..................................................................................................................... สาเหตขุ องความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรอื สุขภาพ.................. 8 การดแู ลเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสขุ ภาพ........... ๘ ภาษาและการสอื่ สาร........................................................................................................... ๙ ความหมายของการสื่อสาร......................................................................................... ๙ รปู แบบของการสอ่ื สาร............................................................................................... 1๐ องค์ประกอบของการส่ือสาร...................................................................................... 1๒ อุปสรรคของการส่อื สาร.............................................................................................. 1๓ การสอื่ สารในการเรยี นการสอน................................................................................. 1๔ อุปกรณช์ ่วยในการส่อื สาร................................................................................................... 1๕ ความหมายของอปุ กรณช์ ว่ ยในการส่ือสาร................................................................. 1๕ ประเภทของการส่อื สาร.............................................................................................. ๑๖ เอกสารท่เี กยี่ วข้องกับงานวิจยั One Group Pretest – Posttest Design............... 1๖

ง สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ ๓ วธิ ดี าเนินการวิจัย........................................................................................................ กลุม่ ตวั อยา่ ง....................................................................................................................... ๑๙ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ..................................................................................................... 1๙ การสรา้ งและหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือ............................................................................... 1๙ วธิ ีดาเนินการวจิ ยั ................................................................................................................ ๒๐ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ........................................................................................................ ๒๑ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล............................................................................................................ ๒๑ บทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ............................................................................................... 22 บทท่ี ๕ สรุปผลการวจิ ยั อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ............................................................... 25 สรปุ ผลการวจิ ยั ................................................................................................................. 25 อภิปรายผล........................................................................................................................ 25 ข้อเสนอแนะเพือ่ การวิจัยคร้งั ตอ่ ไป................................................................................... 26 บรรณานกุ รม............................................................................................................................ 27 ภาคผนวก................................................................................................................................. 28 ประวัตผิ ู้วิจัย............................................................................................................................ 54

สารบญั ตาราง จ ตารางท่ี หน้า ตารางท่ี 1 แบบบันทึกการสังเกตการเรยี นรู้ ๒๒

บทที่ ๑ บทนํา ๑. ความเปน มาและความสําคัญของการวิจัย สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีสถานศึกษาที่ใหบริการผูเรียนที่มีความตองการ จําเปนพิเศษในลักษณะศูนยการศึกษาพิเศษ ท่ีมีบทบาทหนาที่ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษา สําหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การปฏิบัติหนาที่อ่ืนของ ศูนยการศึกษาพิเศษ พ.ศ.๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งกําหนดบทบาทหนาท่ีศูนยการศึกษาพิเศษ ดังนี้(๑) จัดและสงเสริม สนับสนุนการศึกษาในลักษณะ ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) และเตรียมความพรอ ม ของคนพิการเพ่ือเขาสูศูนยพัฒนาเด็กเลก็ โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนเรียนรวม โรงเรียนเฉพาะความพิการ ศูนยการเรียนเฉพาะความพิการ หนวยงานท่ีเกี่ยวของ เปนตน (๒) พัฒนา และฝกอบรมผูดูแลคนพิการ บุคลากรท่ีจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ (๓) จัดระบบและสงเสริม สนับสนุนการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) (๔) จดั ระบบบรกิ ารชวงเชอ่ื มตอสาํ หรบั คนพิการ (Transition Services) (๕) ใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยครอบครัวและชุมชนดวยกระบวนการทางการศึกษา (๖) เปนศูนยขอมูล รวมทั้งจัดระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาสําหรับคนพิการ (๗) จัดระบบ สนับสนุนการจัดการเรียนรวม และประสานงานการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในจังหวัด และ (๘) ภาระหนา ทอี่ ่นื ตามท่กี ฎหมายกําหนดหรอื ตามทีไ่ ดร ับมอบหมาย ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง เปนหนวยงานในสังกัดสํานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีบทบาทในการจัดการศึกษา ในลักษณะศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพรอมของคนพิการรวมทั้งสนับสนุน การจัดการเรียนการสอน การจัดสื่อ ส่ิงอํานวยความสะดวก การใหบริการและความชวยเหลือ ที่เกี่ยวของ ทําการวิจัยและอบรมบุคลากร รวมถึงการจัดครูเดินสอน แกคนพิการและสถานศึกษา ซ่ึงในปจจุบันมีนักเรียนพิการท่ีมารับบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่ม จํานวนทั้งส้ิน ๑๙๙ คน โดยมี นักเรียนพิการมารับบริการรวม ๓ ประเภทความพิการ ไดแก บุคคลท่ีมีความบกพรองทางสติปญญา บคุ คลทมี่ คี วามบกพรองทางรา งกาย หรือการเคลือ่ นไหว หรือสุขภาพ และบุคคลออทิสติก กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๕๒) กลาววา เด็กที่มีความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ (Children with Physical Disabilities/Health Impairments) หมายถึง เด็กท่ีมีอวัยวะไมสมสวน อวยั วะสวนใดสว นหน่ึงหรือหลายสว นขาดหายไป กระดูกและกลามเนื้อพิการ เจ็บปว ยเรอื้ รังรนุ แรง มี ความพิการของระบบประสาท มีความลําบากในการเคล่ือนไหวซึ่งเปนอุปสรรคตอการศึกษาในสภาพ ปกติ ทง้ั น้ไี มรวมถึงคนทีม่ ีความบกพรองทางประสาทสัมผัส ไดแ ก ตาบอด หหู นวก เปน ตน จากความ ผิดปกติเหลาน้ีทําใหเด็กท่ีมีความบกพรองทางดานรางกาย มีปญหาในดานการเรียนรู การพูด การส่ือ ความหมาย หรือการสื่อสารกับผูอื่น ซึ่งในกรณีศึกษาในครั้งน้ี มีความบกพรองทางรางกาย หรือการ เคลื่อนไหว หรือสุขภาพ มีภาวะออทิสติกรวมดวย อายุ ๗ ป เปนนักเรียนของศูนยการศึกษาพิเศษ

๒ ประจําจังหวัดลําปาง รับบริการที่บาน มีปญหาดานการดําเนินกิจวัตรประจําวัน เน่ืองมาจากนักเรียน ไมส ามารถสอ่ื สารบอกความตอ งการของตนเองใหกับคนในครอบครวั ได การสื่อสาร หรือ การส่ือความหมาย (communication) เปนคําที่มีรากศัพทมาจาก ภาษาละตินวา com หมายความวา เม่ือมีการส่ือสารระหวางกันเกิดข้ึน คนเราพยายามท่ีจะสราง ความพรอ มกนั หรอื ความรว มกัน รวมถึงการสงผาน บอกเลา หรอื แลกเปล่ยี นความคดิ ความรู เรื่องราว เหตุการณ ทัศนคติ ฯลฯ กับบุคคลที่กําลังสื่อสารดวย ดังนั้นการ สื่อสารจึงหมายถึงการถายทอด เร่ืองราว การแลกเปลีย่ นความคิด การแสดงออกของความคิดและความรสู ึกตลอดรวมไปถึงระบบเพ่ือ การติดตอ สอื่ สารขอมูลซ่งึ กนั และกัน การส่อื สารแบง ไดเ ปน ๒ รปู แบบคือ การสอื่ สารทางเดียว (One- way Communication) เปนการสงขาวสารหรือ การส่ือสารไปยังผูรับแตเพียงฝายเดียวโดยที่ผูรับไม สามารถมีการตอบสนองทันทีกับ ผูสง แตอาจจะมีผลปอนกลับไปยังผูสงในภายหลังได การสื่อสาร รูปแบบนี้จึงเปนการที่ผูสงและผูรับไมสามารถมีปฏิสัมพันธตอกันไดทันที และการส่ือสารสองทาง (Two-way Communication) เปนการสื่อสารที่ผูรับมีการตอบสนอง และสงผลปอนกลับทันที สงกลับมายังผูสง โดยท่ีผูสงและผูรับอาจจะอยูตอหนากันหรืออาจอยูกันคนละสถานท่ีก็ได แตทั้งสอง ฝายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโตตอบกันไปมา โดยท่ีตางฝายตางผลัดกันทําหนาที่เปนทั้งผูสง และผรู ับในเวลาเดียวกัน (กดิ านันท มะลิทอง, ๒๕๔๘, หนา ๓๔-๓๕) การสอนทักษะการสื่อสารนัน้ มีหลายวิธี เชน วธิ ที ีช (TEACCH) เปน แนวการสอนเด็กท่ีมี ความบกพรองทางการสื่อสาร โดยเนนสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับเด็ก และการสอนอยางเปน ข้ันตอนงาย ๆ หรือกิจกรรมบนพื้น (Floor Time) เปนวิธีสรางความสัมพันธกับเด็กและใหเด็กสราง ความสมั พันธกบั เราดวยวธิ ีการตาง ๆ อาจดวยทา ทางหรือการเปลงเสียงหรือการพูดทาํ ใหเราเขาใจวา เด็กกําลังคิดอะไรอยู การสอนทักษะการสื่อสาร โดยวิธีการเพ็คส (PECS) เปนวิธีการหนงึ่ ท่ีใชไดดีและ เห็นผลกับเด็กออทิสติกซ่ึงเปนเด็กท่ีมคี วามบกพรองทางการส่ือสาร โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาการ ส่ือสารใหกับเด็ก โดยเด็กเปนผูเริ่มตนในการสื่อสาร หรือบอกความตองการโดยการใชรูปภาพหรือ สัญลักษณ แลกเปล่ียนกับสิ่งของที่เด็กชอบ อาจเปนอาหารของเลน หรือกิจกรรมท่ีเด็กชอบและ ตองการ (Bondy & Frest, ๒๐๐๓, pp. ๔๙) และการเรียนรูการส่ือสารดวยวิธีอ่ืน เชน การสื่อสาร ดวยวิธีพูด ภาษาเขียน เปนตน ซ่ึงขั้นตนจะตองมีครู และผูชวยในการสอนคอยช้ีแนะใหนกั เรียน รูจัก แลกเปลยี่ นบัตรภาพกบั สิง่ เสริมแรง เมอ่ื สามารถปฏบิ ัตติ ามเกณฑท่ีต้งั ไวแ ลว พัฒนาการไปสูข้นั ตอนท่ี เพิ่มมากขนึ้ ตอ ไป การสอนทักษะการส่ือสารโดยใชเคร่ืองชวยในการส่ือสาร หรือกระดานส่ือสาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) เปนวิธีหน่ึงในการพัฒนาการส่ือสาร สองทางใหกับเด็กออทิสติก โดยเด็กจะเปนผูเร่ิมตนในการส่ือสารหรือบอกความตองการโดยการใช รูปภาพ หรือภาพสัญลักษณแลกเปล่ียนกับสิ่งท่ีเด็กชอบอาจเปนอาหาร ของเลน หรือกิจกรรมท่ีเด็ก ชอบและตองการ ซึ่งจะเปนแรงจูงใจใหเด็กรูจักท่ีจะเปนผูเร่มิ ตนในการส่อื สารกับบุคคลอ่ืนกอนอยาง เปนธรรมชาติคอยเปนคอยไป (Bondy & Frest, ๒๐๐๓, online อางใน สุขิริน เย็นสวัสด์ิ, ๒๕๔๘ หนา ๒) ใชเทคโนโลยไี มชับซอน (Quill, ๒๐๐๐, p. ๙๙) และสามารถสรา งขึ้นมาโดยสรางสงิ่ ดึงดดู ไจ เพอื่ ใหเกิดการส่ือสาร (Wetherby & Prizant, ๑๙๘๙ , p. ๔๙) ซ่งึ การสอนโดยใชกระดานสอื่ สารเปน การผสมผสานการปรับพฤติกรรม และหลักการสอนโดยใชทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement

๓ Theory) เทคนิคการช้ีแนะ (Prompting) และเทคนิคการขัดเกลาพฤติกรรม (Shaping) มารวมกัน (Janzen, ๑๙๙๖) ซึ่งจากงานวิจัยของ Cafiero (๑๙๙๕, p.๒๑๓) ที่ไดทําการศึกษาผลการชวยเหลือ เด็กวัยรุนออทิสติกในช้ันเรียนซ่ึงมีพฤติกรรมกาวราวและไมสามารถใชภาษาพูดในการสื่อสารการจัด สภาพแวดลอ มใหเ ปน ไปอยางธรรมชาติใชสอ่ื ทางสายตาโดยใชป า ยกระดานสื่อสารในชีวิตประจาํ วันทั้ง ท่ีบาน ที่โรงเรียนโดยไมมีการช้ีแนะ พบวาเด็กนักเรียนมีการสื่อสารมากขึ้นมีผลการเรียนดีขึ้นและมี พฤติกรรมทดี่ ีขึน้ ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจในวิธีการสอนโดยใชกระดานสื่อสาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) มาประยุกตใชเพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสารของเด็กที่ มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือ สุขภาพ ซึ่งมีภาวะออทิสติกรวมดวย ไมสามารถสื่อสารบอกความตองการของตนเองได จากปญหาดังกลาวมาขางตนผูวิจัยจึงมีความ สนใจทจี่ ะพัฒนาความสามารถในการสอ่ื สารของนักเรียน โดยใชอุปกรณชว ยในการสอื่ สาร (AAC) ๒. วตั ถปุ ระสงคข องการวจิ ัย การวจิ ยั คร้งั น้ีมีวัตถุประสงค ดังน้ี ๒.๑ เพ่ือพัฒนาความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สขุ ภาพ โดยใชอ ุปกรณช วยในการส่อื สาร (AAC) ๒.๒ เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทาง รา งกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สขุ ภาพ กอนและหลังการใชอ ปุ กรณช วยในการส่อื สาร (AAC) ๓. สมมตฐิ านของการวจิ ยั ความสามารถในการส่อื สารหลังการใชอ ปุ กรณช ว ยในการสือ่ สาร (AAC) ของนกั เรยี นที่มี ความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ สูงกวากอนการใชอุปกรณชวยในการ สอ่ื สาร (AAC) ๔. ขอบเขตของการวิจยั ๔.๑ กลมุ เปาหมาย การศึกษาคร้ังนี้เลอื กศึกษาแบบเจาะจง คือ นักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ เพศหญิง อายุ ๗ ป จํานวน ๑ คน รับบริการนอกศูนยการศึกษา พิเศษประจําจังหวัดลําปาง โครงการปรับบานเปนหองเรียนเปลี่ยนพอแมเปนครู อําเภอเถิน จังหวัด ลําปาง โดยบูรณาการจัดกิจกรรมในทุกกลุมสาระ ตามหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาํ หรบั ผเู รยี นพกิ าร ศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ๔.๒ ตวั แปรทใี่ ชในการวิจัย ตวั แปรตน คอื การสอนโดยใชอปุ กรณชว ยในการสื่อสาร (AAC) ตวั แปรตาม คอื ความสามารถในการส่ือสาร ๔.๓ ขอบเขตเน้ือหา การศึกษาคร้ังนี้ ศึกษาในขอบเขตของกลุมสาระการเรียนรูและ ความรพู ้ืนฐาน ความสามารถในการส่ือสาร

๔ ๔.๔ ระยะเวลา การศึกษาครง้ั น้ี ศึกษาในชว งภาคเรียน ที่ ๒ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๔.๕ ขอบเขตสถานท่ี การศึกษาคร้ังนี้ ศึกษาที่บานของนักเรียน ท่ีรับบริการโครงการ ปรับบา นเปนหองเรยี นเปลย่ี นพอแมเ ปนครู อําเภอเถิน จังหวดั ลําปาง ๕. นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ การศึกษาคร้งั น้ี ผูวิจยั ไดก าํ หนดคํานยิ ามศพั ทเ ฉพาะ ทเ่ี ก่ยี วของ ดังน้ี ๕.๑ ความสามารถในการส่ือสาร หมายถึง การบอกความตองการ บอกความรูสึกนึก คิด การถายทอดความรู ประสบการณ จากผูสงสารไปยังผูรับสาร โดยใชภาษาพูด ภาษาทาทางหรือ ภาษาสัญลักษณเพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกัน โดยจะใหนักเรียนใชการส่ือสารผานอุปกรณชวยใน การส่อื สาร (AAC) ในระหวางทาํ กจิ กรรมตาง ๆ ไดแ ก กจิ กรรมICT กจิ กรรมศิลปะบําบดั และกจิ กรรม สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕.๒ นักเรียนมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ หมายถึง นักเรียนที่รับบริการ โครงการปรับบานเปนหองเรียนเปล่ียนพอแมเปนครู อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง จํานวน ๑ คน มีอายุ ๗ ป มีอวัยวะไมสมสวน กระดูกและกลามเนื้อพิการ มีความพิการของระบบ ประสาท มีภาวะออทิสติกรวมดวย ทําใหมีความลําบากในการเคลื่อนไหวการพูดสื่อสาร ไมร ูความหมายของสงิ่ ทีก่ ําลงั ทาํ ไมสามารถส่อื สารบอกความตองการของตนเองได ๕.๓ ส่ืออุปกรณชวยในการส่ือสาร (AAC) หมายถึง แผนปายท่ีประกอบดวยภาพและ คํา จัดทําข้ึนเพ่ือใชในแตละกิจกรรม ประกอบดวย กิจกรรมศิลปะบําบัด กิจกรรม ICT และกิจกรรม สขุ ศึกษาและพลศึกษา โดยในแผน ปา ยจะเปนภาพเดก็ ภาพผปู กครอง ภาพกจิ กรรมแยกตามประเภท ของกิจกรรม และมีคาํ เชน ชือ่ นักเรียน สตี าง ๆ ความรสู กึ ชอบ ไมช อบ โกรธ และคําชม เปน ตน โดย ในแตละแผน ปายกิจกรรม ครูจะใชแ ผน ปา ยน้ีชี้คําในระหวางทาํ กิจกรรมกบั นกั เรยี น ๖. ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรับ ๖.๑ นักเรียนไดร ับการพัฒนาความสามารถในการสือ่ สาร ๖.๒ ไดน วตั กรรมส่ืออปุ กรณชว ยในการสอ่ื สาร (AAC) ๖.๓ ไดแนวทางในการจัดทําส่ืออุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) เพ่ือนําไปปรับใชกับ ทกั ษะอนื่ เพ่ิมเตมิ ๖.๔ เปนแนวทางใหกับครู พ่ีเลี้ยงเด็กพิการ ผูปกครอง ผูเกี่ยวของ และผูที่สนใจ ส่ืออุปกรณชว ยในการสือ่ สาร (AAC) ไปใชก บั นักเรยี นรายอ่นื ตอ ไป

บทท่ี ๒ วรรณกรรมและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วของ การศกึ ษาในคร้งั น้ี ผูวิจยั ไดศ กึ ษาวรรณกรรมและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ งดงั นี้ ๑. เด็กทม่ี คี วามบกพรองทางรา งกาย หรือการเคล่อื นไหว หรอื สขุ ภาพ ๑.๑ ความหมายของเดก็ ที่มคี วามบกพรองทางรางกาย หรอื การเคล่ือนไหว หรอื สุขภาพ ๑.๒ ลกั ษณะอาการของเด็กทมี่ ีความบกพรองทางรา งกาย หรอื การเคลอื่ นไหว หรอื สุขภาพ ๑.๓ สาเหตขุ องความบกพรอ งทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สขุ ภาพ ๑.๔ การดแู ลเด็กทม่ี ีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ๒. ภาษาและการสอ่ื สาร ๒.๑ ความหมายของการส่อื สาร ๒.๒ รปู แบบของการสื่อสาร ๒.๓ วิธขี องการสอื่ สาร ๒.๔ องคประกอบของการส่ือสาร ๒.๕ อุปสรรคของการส่อื สาร ๒.๖ การสื่อสารในการเรยี นการสอน ๓. อุปกรณชว ยในการส่อื สาร ๓.๑ ความหมายของอปุ กรณชวยในการสือ่ สาร ๓.๒ ทฤษฎแี ละเทคนิคทเี่ กยี่ วของกบั อปุ กรณชวยในการสื่อสาร ๓.๓ ประโยชนข องอปุ กรณชวยในการสื่อสาร ๓.๔ ขั้นตอนการสอนโดยใชอุปกรณชวยในการส่อื สาร ๔. งานวิจยั ท่เี กี่ยวของ ๕. กรอบแนวคดิ การวจิ ยั

๗ ๑. เด็กทมี่ คี วามบกพรองทางรางกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรือสุขภาพ ๑.๑ ความหมายของเดก็ ที่มคี วามบกพรองทางรางกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สุขภาพ ความบกพรองทางรางกาย (Physical impairments) โดยทั่วไปแลวครอบคลุมลักษณะของ ความบกพรองทางการเคล่ือนไหว (Motor functioning impairments) ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุหลาย ประการ ตัวอยางของความบกพรองทางรางกาย ไดแก โรคสมองพิการ (Cerebral palsy) โรคลมชัก (Epilepsy) และโรคขออักเสบรูมาตอยดในเด็ก (Juvenile rheumatoid arthritis) เด็กท่ีมีความ บกพรอ งทางรา งกายอาจมหี รือไมมีความจําเปน ตอ งไดร ับการศึกษาพเิ ศษ (Special education) ทั้งน้ี ข้ึนอยูกับความรุนแรงของปญหา ซึ่งความชวยเหลือท่ีเด็กควรไดรับ ไดแก กายภาพบําบัด (Physical therapy) กิจกรรมบําบัด (Occupational therapy) รวมไปถึงบรรดิการพลศึกษา (Adapted physical education) หรือการจัดกิจกรรมพลศึกษาใหเหมาะสมกับเด็กท่ีมีความผิดปกติ เปน ตน สว นความบกพรองทางสุขภาพ (Health impairments) เปนปจ จัยขดั ขวางความปกติของรา งกาย ซ่ึงจําเปนตองไดรับการรักษาทางการแพทย โดยมีสาเหตุจากโรคภัยไขเจ็บ การติดเชื้อ หรือความ ผิดปกติที่สงผลกระทบตอระบบภูมิคุมกันของรางกาย ท้ังน้ีความบกพรองทางสุขภาพอาจลด ประสิทธิภาพในการเรียนของเด็กลงได จากการลดประสิทธิภาพทางรางกาย หรือทําใหเด็กออนแอ ตวั อยา งของความบกพรองลักษณะนี้ ไดแ ก โรคหืด (Asthma) โรงมะเรง็ (Cancer) โรคโลหิตจางจาก เม็ดเลือดแดงรูปเคียว (Sickle cell anemia) เปนตน โดยเด็กอาจจําเปนตองปรับตัวจากผลขางเคยี ง ของการรักษาดวยยา หรืออาจตองปรับตัวในการเขารับการรักษาตามข้ันตอน ซึ่งโดยท่ัวไป ความ บกพรองทางรางกายและสุขภาพจะสงกระทบตอเด็กแตละรายในระดับท่ีมากหรือนอยตางกันข้ึนอยู กบั ลกั ษณะของปญหาท่ีเกดิ กบั เด็ก ไมว าจะเปน การลดสมรรถภาพทางรางกาย สติปญ ญา การพูดและ ภาษา ประสาทสัมผสั รวมไปถึงความบกพรองในการเคลื่อนไหวรา งกายในการประกอบกจิ กรรมตางๆ ทั้งน้ี ขอมูลของประเทศสหรัฐอเมริกาชี้วา ประมาณรอยละ 0.5 ของเด็กวัยเรียนประสบปญหาความ บกพรองทางรางกายและสุขภาพ โดยในจํานวนดังกลาวนี้ สาเหตุหลักของปญหาเกิดจากโรคสมอง พิการ (Cerebral Palsy) และรองลงมาคือโรคสไปนา ไบฟดา (Spina Bifida) หรือ ความผิดปกติ เก่ียวกับกระดูกสนั หลังแตกําเนิด 1.2 ลกั ษณะอาการของเด็กทมี่ ีความบกพรองทางรา งกาย หรอื การเคลื่อนไหว หรอื สขุ ภาพ ความบกพรองทางรางกายและสุขภาพจะแตกตางกันไปตามลักษณะท่ีปรากฏ ซ่ึงจําแนกได เปน 3 ประเภท คือ ความผิดปกติของระบบประสาท (Neurological conditions) ความผดิ ปกติของ ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal conditions) และความผิดปกติทางสุขภาพอื่นๆ (Other health impairments) ความผิดปกติของระบบประสาท (Neurological conditions) เกิดจากความเสียหายของ ระบบประสาทสวนกลาง (Central nervous system) หรือสมองและไขสันหลัง โดยปญหาหลักอัน สืบเน่ืองมาจากความผิดปกติทางระบบประสาท ไดแก โรคสมองพิการ (Cerebral Palsy) โรคลมชัก (Epilepsy) โรคสไปนา ไบฟดา (Spina Bifida) ซ่ึงเปนความบกพรองของไขสันหลังท่ีมีมาแตกําเนิด โดยไขสันหลังยื่นออกมานอกกระดกู สนั หลัง สง ผลใหเ ด็กมีอาการอัมพาตบางสว น หรืออาจรายแรงถึง

๘ ขั้นเปนอัมพาตทั้งตัว และอาจเกิดจากการบาดเจ็บที่สมอง (Traumatic brain injury) อีกดวย ท้ังนี้ ความบกพรองอันเปนผลสืบเน่ืองมาจากความผิดปกติทางระบบประสาทมักมีหลายระดับ ต้ังแต อาการไมรุนแรงไปจนถึงอันตราย และอาจสงผลตอความสมรรถภาพทางรางกาย สติปญญา การพูด และภาษา รวมถงึ ประสาทสัมผัส ความผิดปกติของระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal conditions) ไดแก โรค กลามเนื้อเส่ือม (Muscular dystrophy) โรคขออักเสบรูมาตอยดในเด็ก (Juvenile rheumatoid arthritis) ภาวะแขนขาขาดหรือถูกตัดทิ้ง (Amputation) และความทุพพลภาพรูปแบบอ่ืนๆ ของ กลามเนื้อหรือกระดูก ซึ่งลวนสงผลกระทบตอความสามารถในการเคลอ่ื นไหว เดิน ยืน นั่ง หรือทําให ไมสามารถใชมือและเทาไดอ ยา งปกติ ความผิดปกติทางสุขภาพ (Health impairments) ไดแก โรคที่เกิดจากการติดเชื้อและ ปญหาเรื้อรัง เชน เบาหวาน (Diabetes) โรคหืด (Asthma) โรคซิสติก ไฟโบรซิส (Cystic Fibrosis) ซึง่ เปนความผิดปกตทิ างพันธุกรรม โรคภูมคิ มุ กันบกพรอง (Immunodeficiency) ซึ่งรวมถึงการไดรับ เชอ้ื HIV และโรคเอดส รวมไปถึงโรคเลือดออกไมหยุด (Hemophilia) โรคกลุมอาการของทารกท่ีเกิด จากมารดาท่ีดื่มแอลกอฮอล (Fetal alcohol syndrome) และการทํางานไมปกติ หรือลมเหลวของ อวัยวะสําคัญ ๑.๓ สาเหตขุ องความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ลักษณะความผิดปกติซึ่งจัดอยูในความบกพรองทางรางกายและสุขภาพน้ันมีความแตกตาง กันมากมาย ท้ังนี้เพราะเกิดจากสาเหตุที่หลากหลาย เชน โรคสมองพิการ (Cerebral Palsy) และ โรคสไปนา ไบฟดา (Spina Bifida) เกิดจากความบกพรองทางการเจริญเติบโตของสมอง ในขณะที่ ความผิดปกติของรางกายและสุขภาพอ่ืนๆ อาจเกิดไดจากปจจัยทางพันธุกรรม หรือเปนผลจาก อุบัติเหตุ การไดรับสารพิษ ความผิดปกติของฮอรโมน หรือแมกระทั่งไมทราบสาเหตุแนชัด ความ ผิดปกติทางรางกายและสุขภาพจํานวนมากเกิดจากความผิดปกติของสมอง โดยเฉพาะอยางย่ิงปญ หา การบาดเจ็บที่สมอง (Traumatic brain injury) ซึ่งเปนผลจากอุบัติเหตุ การกระแทก หรือการไดรับ สารพิษ ยิ่งไปกวานัน้ ปจ จัยเสี่ยงตอ ความบกพรองทางรางกายและสุขภาพของเด็กอาจเกิดต้งั แตอยูใน ครรภ เชน การใชยาในทางที่ผิดหรือการใชสารเสพติด (Substance abuse) ของมารดาในขณะ ตั้งครรภ หรือแมวาเด็กอาจจะคลอดมาอยางสมบูรณและมีสุขภาพแข็งแรง แตหากไดรับยาในทางที่ ผิดหรือไดรับสารเสพติด รวมถึงการทารุณกรรมทางรางกาย (Physical abuse) เด็กก็อาจมีความ บกพรอ งทางรางกายและสุขภาพในภายหลังได นอกจากน้ี ความบกพรองทางรางกายและสุขภาพอาจ เกิดจากอาการแพ เชน โรคตบั อกั เสบ (Hepatitis) เกิดจากปจจัยทางพนั ธุกรรม เชน โรคเลือดออกไม หยุด (Hemophilia) เกิดจากปจจัยรวม เชน โรคลมชัก (Epilepsy) รวมไปถึงการติดเช้ือ ความ ผิดปกติหรือความพิการที่มีมาแตกําเนิด ความผิดปกติของกระบวนการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ ของรางกาย และปญหาสุขภาพที่เรื้อรัง ๑.๔ การดูแลเด็กทมี่ ีความบกพรอ งทางรา งกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สุขภาพ ไมวาจะตาบอด หูหนวก หรือสมองอักเสบ ความบกพรองทางรางกายและสุขภาพของแตละ บุคคลอาจเกิดข้ึนไดเสมอตั้งแตกําเนิดหรือตลอดชว งชีวิต แมจะมีเพียงสัดสวนเล็กนอยท่ีเกิดมาพรอม

๙ กับความบกพรองทางรางกาย ถึงกระน้ันเด็กก็ยังสามารถเติบโตข้ึนมาเปน ผใู หญท ี่ประสบความสําเร็จ และมีความสุขได ดังนั้นเพ่ือใหบรรลุจุดประสงคดังกลาว พอแมจึงควรทําทุกวิถีทางที่อาจเปนไปได ดังนี้ เล้ียงดูลูก ไมใชสงสารหรือตามใจลูก พอแมสวนใหญมักทําผิดพลาดโดยการตามใจลูก อีกทั้งยิ่ง ลูกมคี วามบกพรองทางรางกายและสุขภาพ พอแมย ่ิงมักรูส ึกสงสารลูก และเลี้ยงดูลกู ดว ยความสงสาร ซึ่งถือเปนเรื่องไมสมควรอยางยิ่ง เน่ืองจากเด็กทุกคนตองการการสนับสนุนและความเช่ือมั่นจาก ผูปกครอง ไมใชความสงสารหรอื การตามใจ โดยในทายที่สุด เด็กท่ีไดรับการสนับสนุนจะมีพัฒนาการ ทดี่ กี วาเดก็ ทีไ่ ดรับความสงสาร ตรวจสอบใหแ นใจวาลูกมรี ปู แบบการดําเนนิ ชีวิตท่ีดตี อสุขภาพ โดยสง่ิ ที่ดีที่สุดที่ผูปกครองสามารถชวยเหลือเด็กที่มีความบกพรองทางรางกายและสุขภาพได คือ การสอน วิธกี ารดแู ลตนเองแมวาเด็กจะมีความผดิ ปกติก็ตาม ทัง้ นี้เพราะผูปกครองไมส ามารถทําทุกอยา งใหกับ ลูกได การถา ยทอดความรูและสนบั สนุนใหเ ด็กพ่ึงพาตนเองจึงถือเปนทางเลือกทดี่ ีทสี่ ุดในฐานะเครื่อง ยืนยันการมีสุขภาพที่ดีของลูกในอนาคต สอนใหลูกมองชีวิตใหกวางข้ึน เด็กท่ีมีความบกพรองทาง รางกายและสุขภาพมักรูสึกขาดความม่ันใจและตกอยูในภาวะซึมเศราจากการเปรียบเทียบตนเองกับ ผูอื่น ท้ังนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงความรูสึกในดานลบดังกลาว ผูปกครองควรสอนใหลูกมองขามความผิดปกติ ในปจจุบัน และปรับเปลี่ยนทัศนคติท่ีเด็กมองตัวเอง โดยปลูกฝงใหเขานึกถึงอนาคตท่ีไกลตัวออกไป ทันทีที่เด็กเขาใจวาความคิดของตนมีสวนทาํ ใหปญ หาแยลงกวาเดิม เด็กก็จะคอยๆ เรียนรูที่จะกาวไป ขางหนาอยางมีความสุข ใหการสนับสนุนลูกดวยเครื่องมือที่จําเปน ผูปกครองที่สอนใหลูกกาวขาม ความบกพรองของตนเอง รวมทั้งจัดหาเคร่ืองมือท่ีชวยสนองความตองการพิเศษของลูก ถือวามีสวน ชวยใหลูกประสบความสําเร็จในอนาคตอยางมาก โดยพอแมที่ผลักดันใหลูกไปโรงเรียน พรอมท้ัง ชวยเหลือใหลูกไดรับทุกส่ิงท่ีจําเปนตอพัฒนาการดานตางๆ จนกระทั่งเด็กโตพอท่ีจะดูแลตนเองได ยอมไดช ือ่ วา เปนพอ แมทาํ หนาท่ไี ดอยา งสมบรู ณแลว และความสาํ เร็จของลูกกค็ งอยไู มไกลเกนิ ไป สรางความสัมพันธอันดีในครอบครัว หากผูปกครองรักลูก ก็ควรจะหาโอกาสใกลชิดกับลูกใหไดมาก ที่สุด ทั้งนี้เพราะความบกพรองทางรางกายและสุขภาพอาจเปนสาเหตุของปญหาความเขาใจและ ความสัมพันธของคนในครอบครัว อีกทั้งเด็กที่มีความสัมพันธใกลชิดกับพอแมมักสามารถใชชีวิตได อยางม่ันใจและมีความสขุ ในอนาคต ไมละเลยลูก ไมวาจะในสถานการณใดก็ตาม พอแมทุกคนควรให ความสนใจลูก โดยเฉพาะเม่ือลูกมีความบกพรองทางรางกายและสุขภาพ เพราะการละเลยหรือไมใส ใจถือเปนการทํารายลูกทางหน่งึ แมวาผูปกครองจะไมทราบก็ตาม ทั้งน้ีเพราะการกระทําที่บงบอกถึง การละเลยอาจสงผลกระทบทางลบตอชีวิตของเด็ก ดังนั้นพอแมจึงควรเปนผูตอบขอซักถาม รวมทั้ง ตอบรบั คาํ รอ งขอของลูกอยเู สมอ ๒. ภาษาและการสื่อสาร ๒.๑ ความหมายของการสอื่ สาร การส่ือสาร (Communication) มีรากศัพทมาจากภาษาละตินคําวา Communis ตรงกับ ภาษาอังกฤษวา Communicate ซึ่งแปลตามตัวอักษรวา Make Common หมายถึง ทําใหมีสภาพ รวมกัน ซึ่งเปนความหมายท่ีตรงกับธรรมชาติของการส่ือสาร คือ การทําใหเกิดความเขาใจรวมกัน ตรงกัน กลาวคือ มนุษยมีการสื่อสารซึ่งกันและกันก็เพ่ือเขาใจใหตรงกันนั้นเอง ดังนั้นการนิยาม

๑๐ ความหมายคําวา การสื่อสารจึงเปนการนิยามที่ตั้งอยูบนรากฐานของรากศัพทเดิม คือ ความเขาใจ รวมกัน ซาวินยอง (Savignon. 1983: 8) กลาววา การสื่อสาร คือ กระบวนการอันตอเน่ืองของ การแสดง ความรูสึก การแปลความ ตีความ และการแลกเปลี่ยนขาวสาร โอกาสของการสื่อสาร จะไมมีท่ีส้ินสุด ซง่ึ ประกอบดวยสญั ลักษณและเครอื่ งหมายท่แี ตกตา งกันออกไป เชน สผี ิว การแตงกาย ทรงผม การฟ ง การพยกั หนา การหยดุ ชะงกั เสียงหรือคําพูด คนเราจะเกี่ยวของกบั การสื่อสารต้งั แตเกดิ และเรียนรู ทจี่ ะตอ งสนองในบริบทใหมๆ เชน เดยี วกบั การสะสม ประสบการณของชีวิตจากคิดและความรูสึกไปสู สัญลักษณในการเขยี น การพดู การแสดงทาทาง การเคล่อื นไหว และนา เสยี ง จงึ ตอ งรูจักเลือกสรรสิ่ง ทเี่ หมาะสมไปใช รเิ วอรส (Rivers. 1982: 7)กลา ววา การทน่ี กั เรียนจะมีความสามารถในการส่ือสาร ได อยางประสบผลสําเร็จน้ัน ครูผูสอนและผูแตงตําราจะตองตระหนักวาไมเพียงแตนักเรียนจะ สามารถแสดงความคิดเห็จดว ยประโยคที่ถูกตองตามหลกั ไวยากรณเ ทานั้น แตน ักเรยี น จําเปนตองรูด วยวา วัฒนธรรมท่ีเปนท่ียอมรับในสังคมนั้น เปนส่ิงที่มีความสําคัญในการ ติดตอส่ือสารกับชาวตาง ประเทศ ระดับของภาษาท่ีเหมาะสมที่ใชในสถานการณการสื่อสารท่ี แตกตางกัน จะตองทราบวา เมื่อไรใชกริยา อาการ สีหนา สายตา ฯลฯ จึงจะเหมาะสมในการใช ภาษา ตองเขาใจวาเมื่อไรควรเป นฝายพูด และเม่ือไรควรเปด โอกาสใหผูอ่ืนพูดโดยการเปน ผูฟง ที่ดีและรอจังหวะที่จะพูด และจะตอง ทราบดวยวาคําถามและขอวิจารณอันใดท่ีควรจะพูดแสดง ความคิดเห็น และสิ่งท่ีแนนอนก็คือ นักเรียนจะตองเขาใจการใชเสียง การเนนหนักคําในประโยค (Stress) และรวมทั้งระดับเสียงใน ประโยค (Intonation) บราวน (Brown. 1980: 88) กลาววาการติดตอ สื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการรับและสงสารที่เกี่ยวของระหวางบุคคลอยางนอยตัง้ แต 2 คนข้ึนไป ท้ังในดาน การ ฟง การพูด การอานและการเขียน การพูดจะไมมีความหมายและไมเกิดการติดตอ ส่ือสารหาก ผู ฟงไมสามารถเขาใจเรื่องราวท่ีพูดหรือจุดประสงคของการพูดนั้น ฉะน้ันการสื่อสารจะตองมี ความหมายท้ังตอผูฟง และผูพูดดวย รีเวล (Revell. 1979: 110) กลาววา การติดตอส่ือสาร หมายถึง การแลกเปลี่ยน ความรูขาวสาร แนวคิด ความเห็น และความรูสึกระหวางบุคคล การติดต อส่ือสารอาจจะเกิดข้ึน ดวยวธิการตางๆ นับตั้งแตต วั หนังสือท่ีซบซั อนจนกระทั่งความเคลื่อนไหว ของดวงตา และสิ่งที่ เกดิ จาการสอ่ื สารที่แทจ ริงน้ัน ควรจะเปนสง่ิ ทม่ี ีความแปลกใหม หรือเปน ความรู ใหมแกผูรับ จะตองไมใช สงท่ิ ่ผี ูรับ รูคําตอบลวงหนาแลววาเขาจะพดอย ู างไร และจะใหคําตอบ อะไร เนื่องจาก ภาษาท่ีเราใช แตละครั้งไมใชเปนเพียงการบอกขอเทจจร ็ ิงเทาน้ัน แตจะเปนสอทื่ ่ี ประกอบดวย อารมณและความรูสึกของผูพ ูดวย คําพูดประโยคเดียวสามารถทาํ ใหผูฟง ตีความหายได หลาย อยางอีกทั้งแสดงทัศนคตของผ ิ ูพูดจากการใชระดับเสยงี ทาทาง การแสดงสีหนา รวมทั้งวิธ การ ี อืน่ ท่ไี มใชก ารพดู ๒.๒ รปู แบบของการสื่อสาร โดมินิก (Doninick 1993 : 11) จาํ แนกสถานการณก ารสื่อสารออกไดเ ปน 3 รูปแบบ ดงั น้ี ๑) การสือ่ สารระหวา งบุคคล (Interpersonal Communication) ๒) การสอ่ื สารแบบกึ่งกลาง (Machine – Assisted Interpersonal Communication) ๓) การส่อื สารมวลชน (Mass Communication)

๑๑ 1. การส่ือสารระหวางบุคคลบคุ คล (Interpersonal Communication) การสื่อสารระหวา ง บุคคล คือ การสื่อสารโดยตรงระหวางคนสองคนที่มีปฏิสัมพันธกันแบบเผชิญหนาโดยใชประสาท สัมผัสท้ัง 5 คือ การมองเห็น การไดยิน การไดกล่ิน การสัมผัส ตลอดจนการล้ิมรส และมีปฏิกิริยา ตอบสนองแบบปจ จุบันทนั ที พัชนี เชยจรรยา และคณะ (2534 : 47) ไดอธิบายถึง สถานการณของการสื่อสารในการ สื่อสารระหวางบุคคลไวดังน้ี คือ เปนสถานการณของการการสื่อสารท่ีผูสงสารและผูรับสารสง สัญญาณเพ่ือติดตอสื่อสารกันในวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึง ซ่ึงอาจจะเปนการสนทนาระหวางคน 2 คน หรือกับกลุมยอยในลักษณะของการเผชิญหนา (Face to Face) ไดแก การพูดคุยกับเพื่อน รวมงานการอภิปรายในกลุมประชุม เปนตน โดยท่ีทั้งผูสงสาร และผูรับสารจะส่ือสารไดอยางอิสระ เปนตัวของตัวเอง มักจะเปนการส่ือสารดวยเรื่องท่ีเปนสวนตัว ชองทางการสื่อสารแบบเผชิญหนา สามารถทาํ ใหทราบปฏิกริ ยิ าสะทอนกลับ และทราบถงึ ผลของการสอื่ สารไดท ันที 2.การสือ่ สารแบบก่ึงกลาง (Machine – Assisted Interpersonal Communication) การส่ือสารแบบกึ่งกลางเปนสถานการณของการสื่อสารที่รวมกันระหวาง การส่ือสารระหวางบุคคล และการส่ือสารมวลชน กลาวคือ ผูสงสารและผูรับสาร ไมมีการเผชิญหนากัน ทั้งนี้ดวยเงื่อนไขของ เวลาและสถานท่ี ดังน้ัน เม่ือผูสงสารจะส่ือสารจึงตองอาศัยเครื่องมือเพื่อเช่ือมโยงใหสามารถ ติดตอสอ่ื สารกันได เชน การสงจดหมายถึงกนั การพูดทางโทรศัพท เปน ตน พัชนี เชยจรรยา และคณะ (2534 : 48) กลาวถึง สถานการณของการสื่อสารแบบก่ึงกลาง วา เปนการส่ือสารที่ตองมีคาใชจายในการสงหรือรับสารแตสามารถสงขาวสารไปไดไกล ใชไดทั้งการ ส่ือสารอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ปฏิกิริยาตอบสนองจะไมเกิดผลในทันท่ีทันใด ท้ังนี้ดวย เหตุผลเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ ความแตกตางระหวางผูสงสารและผูรับสารตลอดจนกรอบประสบ การณของท้ังผสู งสารและผูร ับสารมักจะเปนประสบการณที่ใกลเ คียงกัน อยางไรกต็ ามในยุคปจ จุบันท่ี เรียกวา ยุคโลกาภิวัฒน สังคมที่เต็มไปดวยเทคโนโลยีการสื่อสาร (Information Technology) ท่ี ทนั สมัย เชน การใชเ ครื่องโทรสาร การใชค อมพิวเตอร ตลอดจนระบบเครอื ขายการสอื่ สาร (Internet) ทําใหมนุษยมีเคร่ืองมือที่สามารถเช่ือมโยงการส่ือสารระหวางผูสงสารและผูรับสารไดรวดเร็วและ สะดวกมากย่งิ ข้ึน 3.การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) การสอื่ สารมวลชน เปนสถานการณของการสอ่ื สารอีกอยา งหน่ึง ซึ่งมลี กั ษณะสําคัญดังน้ี เปนการสอ่ื สารทม่ี ุง ไปยงั ผรู ับจาํ นวนคอ นขางมาก ไมรูจ กั มักคุนกนั และมีความแตกตา งกันในหมผู รู ับ มีการถายทอดสารอยา งเปด เผยสว นใหญจ ะกาํ หนดเวลาใหถงึ กลมุ ผรู ับพรอมๆ กนั การส่ือสารมวลชนมกั จะเปน การสอ่ื สารในองคก ารทซี่ ับซอนมีคาใชจ ายทีส่ งู มาก พัชนี เชยจรรยา และคณะ (2534 : 48) ไดสรุปสถานการณของการสื่อสารมวลชนกับ องคประกอบของกระบวนการส่ือสารไววา ผูสงสารในการส่ือสารมวลชนมักจะเปนองคกรที่มี โครงสรางองคการและมีการจัดระบบทํางานท่ีชัดเจน ขาวสารจากส่ือมวลชนที่ปรากฏ ไดแก ขาวสาร ในหนาหนังสือพิมพ รายการวิทยุกระจายเสยี ง หรือวิทยุโทรทัศน เปนผลจากการระดมสมองเพื่อการ ผลิตจากทีมงานมากกวา 2 คน ซ่ึงจะตองผานกระบวนการการเลือกสรรขา วสาร การตดั สินใจในเรื่อง รูปแบบ และวิธีการในการนําเสนอเปนลําดับข้ันตอนกอนท่ีขาวสารจะถึงมือผูรับสารและขาวสารน้ัน

๑๒ จะถูกสงผานอยางเปดเผยเพื่อใหสาธารณชนไดรับรูเกือบจะพรอมๆ กัน เชน การกระจายเสียงทาง วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน การตีพิมพขาวสารในหนาหนังสือพิมพ เปนตน ขาวสารในการ สื่อสารมวลชนมักจะเปนขาวสารเพ่ือสาธารณชน และมักจะไดรับปฏิกิริยาสะทอนกลับคอนขางชา นอกจากนี้ยังอาจมีอุปสรรคที่เกิดจากส่ือ อุปสรรคท่ีเกิดจากการเลือกใชภาษาในการส่ือสาร และ อปุ สรรคจากสภาพแวดลอม อนั จะทาํ ใหป ระสิทธิภาพในการสอื่ สารลดลงอกี ดวย ๒.๓ องคป ระกอบของการสื่อสาร 1. ผสู งสาร (sender) หรอื แหลงสาร (source) หมายถึง บุคคล กลมุ บคุ คล หรอื หนวยงาน ที่ทําหนาท่ีในการสงสาร หรือเปนแหลงกําเนิดสาร ท่ีเปนผูเริ่มตนสงสารดวยการแปลสารน้ันใหอยใู น รูปของสัญลักษณที่มนุษยสรางข้ึนแทนความคิด ไดแก ภาษาและอากัปกิริยาตาง ๆ เพ่ือส่ือสาร ความคิด ความรูสึก ขาวสาร ความตองการและวัตถุประสงคของตนไปยังผูรับสารดวยวิธีการใด ๆ หรือสงผานชองทางใดก็ตาม จะโดยตั้งใจหรือไมต้ังใจก็ตาม เชน ผูพูด ผูเขียน กวี ศิลปน นัก จดั รายการวทิ ยุ โฆษกรฐั บาล องคก าร สถาบัน สถานีวทิ ยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทศั น กอง บรรณาธิการหนงั สอื พิมพ หนว ยงานของรฐั บรษิ ทั สถาบันส่อื มวลชน เปน ตน 2. สาร (message) หมายถึง เร่ืองราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ท่ีอาจอยูในรูปของ ขอ มลู ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซ่งึ ถายทอดจากผูสงสารไปยังผรู บั สารใหไดรับรู และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษาหรือสัญลักษณใด ๆ ที่สามารถทําใหเกิดการรับรูรวมกัน ได เชน ขอความที่พูด ขอความที่เขียน บทเพลงท่ีรอง รูปท่ีวาด เร่ืองราวที่อาน ทาทางท่ีส่ือ ความหมาย เปนตน 2.1 รหสั สาร (message code) ไดแก ภาษา สญั ลักษณ หรือสญั ญาณท่มี นุษยใ ช เพื่อแสดงออกแทนความรู ความคิด อารมณ หรอื ความรูสึกตาง ๆ 2.2 เนื้อหาของสาร (message content) หมายถึง บรรดาความรู ความคิดและ ประสบการณท่ีผูสงสารตองการจะถายทอดเพื่อการรับรูรวมกัน แลกเปล่ียนเพ่ือความเขาใจรวมกัน หรอื โตต อบกัน 2.3 การจัดสาร (message treatment) หมายถงึ การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลว นาํ มาเรียบเรยี งใหเ ปนไปอยางมรี ะบบ เพื่อใหไ ดใจความตามเนื้อหา ทีต่ องการดวยการเลือก ใช รหสั สารท่เี หมาะสม 3. สือ่ หรือชองทาง (media or channel) เปนองคป ระกอบท่ีสําคญั อีกประการหน่ึงในการ ส่ือสาร หมายถึง สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทําหนาท่ีนําสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสาร ตอ งอาศยั สอ่ื หรอื ชองทางทาํ หนา ทนี่ าํ สารไปสูผรู ับสาร 4. ผูรับสาร (receiver) หมายถึง บุคคล กลุมบุคคล หรือมวลชนท่ีรับเรื่องราวขาวสาร จากผูสง สาร และแสดงปฏิกริ ยิ าตอบกลบั (Feedback) ตอ ผสู ง สาร หรือสงสารตอ ไปถงึ ผูรับสารคน อื่น ๆ ตามจุดมุงหมายของผูสงสาร เชน ผูเขารวมประชุม ผูฟงรายการวิทยุ กลุมผูฟงการ อภิปราย ผอู านบทความจากหนงั สือพิมพ เปน ตน

๑๓ ๒.๔ อุปสรรคของการสื่อสาร อุปสรรคที่ทําใหการสื่อสารไมสัมฤทธิผลนั้นมีหลายประการอาจเกิดจากความบกพรองของ องคประกอบของการสื่อสารสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เมื่อทราบวาอุปสรรคเกิดจากเหตุใด ก็ควรแกไขท่ี จุดบกพรองนนั้ อปุ สรรคของการสื่อสารทีส่ ําคัญ มดี ังตอไปนี้ 1. ผูส ง สาร 1) ผูสงสารขาดความรใู นเรอ่ื งท่ีจะสงสาร 2) ผูสง สารขาดประสบการณใ นการสงสาร 3) ผสู งสารมีอคติตอผูรบั สารหรอื ตัวสาร 4) ผสู ง สารขาดการชาํ นาญในการใชภ าษา 5) ผสู ง สารขาดการชํานาญในการใชส ือ่ 2. ผรู ับสาร 1) ผรู บั สารขาดความรใู นเรอ่ื งที่สงมาจากผูสงสาร 2) ผูรับสารขาดความสนใจในตวั สาร 3) ผูร ับสารมีอคติตอผสู ง สารและตวั สาร 4)ผูรบั สารขาดทักษะในการรบั สาร 5) ผูรบั สารมีการบกพรอ งในทักษะการรบั สาร 3. สาร 1) สารมคี วามซบั ซอน 2) สารวกวน 3) สารยากเกนิ ไป 4) สารขัดแยงกนั เอง 5) สารไมเ หมาะกบั ผรู ับสาร 4. สือ่ 1) โทรศัพทมีเสียงรบกวน 2) เครือ่ งขยายเสียงปรับไมพ อเหมาะ 3) ตวั พมิ พเ ลอะเลือนไมชดั เจน 4) ตวั เขยี นอานยาก 5.ภาษาท่ใี ชในการสือ่ สาร 1) ใชภาษาผิดระดบั 2) ใชภ าษายากเกินไป 3) ใชภาษาไมเ หมาะกบั เน้อื หา 4) ใชภาษาวกวน 6.กาลเทศะและสภาพแวดลอม 1) เวลาไมเ หมาะสม

๑๔ 2) สถานทไี่ มเ หมาะสม 3) สภาพแวดลอ มไมเ หมาะสม ๒.๕ การสือ่ สารในการเรียนการสอน พัฒนาการการเรียนการสอนในปจจบุ ัน มุงยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student Center) ตาม พ.ร.บ.การศึกษา 2540 ใหความสําคัญกับผูเรียนมากข้ึน ผูสอนจะตองมีความรอบรูมากกวา เน้ือหา สาระของวิชาที่จะสอน และตองมีความสนใจเก่ียวกับตัวผูเรียนแตละคนมากขึ้น ท้ังพฤติกรรมและ ความประพฤตขิ องผูเรียน ตลอดจนความสนใจ ความสามารถของแตละบคุ คล ผูสอนจะตองนําความรู ความเขา ใจตา งๆเหลา นี้ มารวบรวมวเิ คราะหและประยกุ ตเพ่ือใชประกอบการสอน การสรางหลักสตู ร การพัฒนาบทเรียน ส่ือการสอน อุปกรณการศึกษา และการปรับปรุงการสอน ขั้นตอนของการ ออกแบบระบบการเรียนการสอน เราสามารถแบง ออกไดเ ปน 4 ข้ันตอนใหญๆ ดงั นี้ 1. กาํ หนดเนอ้ื หาและจดุ มุงหมาย (Goals) การจดั การเรยี นการสอนท่ีดจี ะตอ ง กําหนดจุดมุงหมายหรือเปาหมาย ของการเรียนท่ีชัดเจน แลวจึงนํามาวิเคราะหและสงั เคราะหใหเ ปน เปา หมายยอ ย หรอื วตั ถปุ ระสงคยอ ย 2. การทดสอบกอ นเรียน (Pre test) เพ่ือใหทราบถงึ พ้นื ฐานความรหู รือพฤติกรรม เดิมของผูเรียน ผูสอนจะทราบวาผูเรียนมีความรูในระดับใด ซึ่งจะชวยใหผูสอนสามารถปรับปรุงและ วางแผนการสอนได 3. ออกแบบกิจกรรมและวธิ ีการสอน (Activities) โดยคาํ นึงถงึ ผูเ รียนเปน หลัก เวลา สถานท่ี สภาพแวดลอ ม เพอื่ ใหสอดคลองและเหมาะสมกับยทุ ธศาสตรก ารสอน มงุ ใหผเู รยี นมีสวนรว ม ในกจิ กรรมใหไดรบั ผลสําเรจ็ 4. การทดสอบหลงั เรยี น (Post test) มงุ หวังเพอ่ื วัดและประเมินผลการเรียน จุดมุง หมายของการส่ือสารในการเรยี นการสอน คือการพยายามสรา งความเขาใจ ทักษะ ความรู ความคิดตางๆ รว มกนั ระหวางผูเรียน กับผูสอน ความสําเร็จของการเรียนการสอน พิจารณาไดจากพฤติกรรมของผูเรียนท่ีเปลี่ยนแปลงไป ตามจุดมุงหมายที่ต้ังไว แตตน ตามลักษณะการเรียนรูน้ันๆ ปญหาสําคัญของการส่ือสารในการเรียน การสอนคือ ทาํ อยา งไรจึงจะสามารถสรางความเขาใจระหวางครูกับนักเรียนไดอยางถูกตอง ครผู ูสอน จะตอ งมคี วามรคู วามสามารถ มที กั ษะในการสอื่ สาร และทีส่ ําคญั อกี อยางหน่งึ สําหรบั ครู คือการใชส่ือ การเรียนการสอนตางๆ อยางเหมาะสม นอกเหนือการใชคําพูดของครูแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เพราะ สื่อหรอื โสตทัศนปู กรณ มีคณุ ลักษณะพิเศษบางประการท่ีไมมใี นตวั บุคคล ดังน้ันการ เรียนการสอน เปนการส่ือสารอีกรูปแบบหนึ่ง มีทั้งผูสงสาร อันไดแกครูผูสอน มี สาร คือความรูหรือประสบการณท่ีจัดข้ึน ผูรับสารคือ ผูเรียน มีกระบวนการเรียนการสอน ประกอบดวยเครื่องมือ สื่อการเรียนการสอนตางๆ ภายใตสถานการณท่ีจัดข้ึนในหองเรียน หรือ สถานการณท ีจ่ ัดข้ึนในสถานทีอ่ ืน่ และมจี ดุ หมายของหลกั สตู รเปนเคร่ืองนาํ ทาง

๑๕ ๓. อุปกรณช ว ยในการส่ือสาร ๓.๑ ความหมายของอปุ กรณชว ยในการส่ือสาร AAC ยอมาจาก Augmentative and Alternative Communication หรือในภาษาไทย เรียกวา การสอ่ื สารทางเลือกและการส่ือสารแทนคาํ พูด AAC คือ การใชเทคนิคและเครื่องมือตางๆ สื่อสารกับผูท่ีไมสามารถสื่อสารดวยคําพูดไดและ ใหเ ขาเหลา น้นั ส่ือสารกลบั มาหาเราได เคร่อื งมอื ส่ือสารทางเลือก (AAC) มีหลายรูปแบบ ไดแก แบบที่ไมตองใชเครื่องมือชวย เชนการใชภาษามือ การจองตา การแสดงกิริยาทาทาง เชน การรองไห การสงเสียงเรียก การแสดงสีหนา แบบท่ีใชเคร่ืองมือชว ย แบงเปน แบบที่ใชส่ิงของ วัตถุขนาดยอเพ่อื แทนสัญลกั ษณ รปู ภาพ แผนภาพ หนังสือ ลายเสน ตวั อกั ษร ซ่งึ สามารถใชเครื่องมือเหลา นี้รวมกันได แบบท่ีใชเทคโนโลยีพ้ืนฐาน เชนสวิตซ (BigMack, GoTalk) เครื่องมือสื่อสารท่ีแสดงภาพและเสียง เม่ือผูใชตองการส่ือสาร เชน Eyegaze การมองในจอคอมพิวเตอรเพื่อเลือกส่ือสารขอความท่ีตองการ โดยการใชสายตา ในปจ จุบนั ประเทศไทยมแี ทบเบลทท่ีมแี อพพลเิ คชันชวยสอ่ื สารเชน PoodDai “พูด ได” ท่ีผลิตโดยผูเช่ียวชาญดานการส่ือสารทางเลือกชาวไทยที่มีประสบการณ ทํางานกวา 20 ปใน ภาครัฐ NGO และเอกชนจากนครซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย คุณแอน นิษฐา อ้ึงสุประเสริฐ รวมกับ คุณจอหน นูโว ซึง่ ขณะนี้ไดมีการใชในศนู ยก ารศกึ ษาพิเศษ 5 แหง ในประเทศไทย รูปแบบของการส่ือสารที่ใชในสถานที่หรือนอกเหนือไปจากคําพูด การสื่อสารแบบเสริมและ ทางเลือก (AAC) รวมถึงการใชอุปกรณชวยในการสื่อสารเชนกระดานตัวอักษรและอุปกรณสื่อสาร อิเล็กทรอนิกสท่ีพูดไดตลอดจนวิธีการสื่อสารโดยไมไดรับความชว ยเหลือเชนภาษามือและทาทาง คน ท่ีมีความสามารถท่ีจะพูดหรือพูดคุยอยางชัดเจนพึ่งพา AAC กับการแลกเปลี่ยนขอมูลความตองการ ดวนรักษาความสัมพันธและมีสวนรวมในกิจกรรมของพวกเขาชุมชน คนท่ัวไปมักใชวิธีการ AAC หลายวิธีและอาจใชวธิ ีการท่ีแตกตางกันกับคนอ่ืน ตัวอยางเชนเด็กที่มีdysarthria ( ความผิดปกติของ การพูดโดยใชเคร่ืองยนต) อาจเขาใจไดโดยพอแมของพวกเขา แตสําหรับการมีสวนรวมในหองเรียน และการสนทนาทางโทรศพั ทพวกเขาอาจตองเพ่มิ การสอื่ สารดวยอปุ กรณส ื่อสารอิเล็กทรอนิกส โดยทว่ั ไปวิธกี าร AAC จะแตกตางออกไปในฐานะผชู ว ยหรือไมไดรับความชวยเหลือ วิธีการสอื่ สารโดย ไมไดรับความชวยเหลือ ไดแก การเปลงเสียงและการพยายามพูดตลอดจนทาทางและการเคล่ือนไหว ของรางกาย คนสวนใหญใชและเขาใจวิธีการสื่อสารโดยไมไดรับความชวยเหลือหลายวิธีเชนการ แสดงออกทางสีหนาการมอง (การจองตา ) การชี้และทาทางท่ัวไปอื่น ๆ วิธีการอ่ืน ๆ เชนสัญญาณ เฉพาะบุคคลอาจเขาใจไดเฉพาะคนท่ีคุนเคย ตัวอยางเชนเด็กอาจยกแขนขึ้นเพ่ือพูดคุยเกี่ยวกับคนที่ ตัวสูงและมองไปท่ีหองครัวเพ่ือพูดคุยเกี่ยวกับอาหารความหิวหรือคนที่ทําอาหาร นอกจากนี้ผูที่มี ความสามารถในการเคลื่อนไหว จํากัด อาจใชการเคล่ือนไหวของน้ิวเล็กนอยหรือกะพริบตาเปนรหัส ในการตอบคาํ ถาม“ ใช” หรอื “ ไม” ภาษามือถือเปนวิธีการส่ือสารโดยไมไดรับความชวยเหลือ มีภาษามือที่แตกตางกันมากมาย โดยเฉพาะสําหรับวัฒนธรรมที่แตกตางกันเชนภาษามืออเมริกันและภาษามืออังกฤษ องคประกอบ ของภาษามอื อาจถูกนํามาใชโดยผทู ี่ไมสามารถสรางรูปรางของมือทัง้ หมดและการเคลื่อนไหวสองมือที่ ประสานกันตามแบบฉบับของภาษามือ บุคคลที่มีขอ จํากัด ในการพูดและความบกพรองหลาย ประการอาจไดรับการสอนใหใชสัญญาณของแตละบุคคลหรือดัดแปลงสัญญาณจากภาษา

๑๖ มือ ตัวอยางเชนเด็กที่เปนโรคสมองพิการอาจเรียนรูท่ีจะใชตําแหนงสัญลักษณเพื่อส่ือสารความ ตองการหรือความตองการไดอยางรวดเร็วเชนเอากําปนแตะหนาผากเพื่อบงบอกถึง“ พอ” และแตะ ปากเพ่อื บงบอกวา“ กนิ ” วิธีการสื่อสารที่ไดรับความชวยเหลือ ไดแก การใชอุปกรณชวยในการส่ือสารทางอิเล็กทรอนิกสและ อิเล็กทรอนิกส เคร่ืองมือชวยท่ีไมใชอิเล็กทรอนิกส ไดแก เครื่องมือเขียนกระดานและหนังสือที่มี ตัวอักษรคํารูปภาพหรือสัญลักษณอื่น ๆ สัญลักษณการสื่อสารมีหลายประเภท ตัวอยางเชน Blissymbolics เปนภาษาท่ีประกอบดวยสัญลักษณกราฟกนับพัน Boardmaker ซ่ึงเปนฐานขอมูล กราฟกสําหรับสรางอุปกรณชวยในการสื่อสารมีสัญลักษณการส่ือสารรูปภาพหลายพันรูปที่แปลเปน ภาษาตางๆมากมาย ผูคนอาจสื่อสารกันโดยการช้ีตาหรือสัมผัสสัญลักษณโดยตรงดวยนิ้วมือหรือสว น อ่ืน ๆ ของรางกาย หากมีใครช้ีไมไดพันธมิตรการสื่อสารอาจช้ีไปท่ีสัญลักษณจนกวาบุคคลนั้นจะระบุ วาตองการสัญลกั ษณใ ด ประเภทของโรคเอดสการส่ือสารทางอิเล็กทรอนิกสรวมถึงหลายรอยของอุปกรณการส่ือสาร โดยเฉพาะเชนเดียวกับคอมพิวเตอรระบบการส่ือสารชั่นและ AAC ซอฟแวร การเลือกใชอุปกรณที่อยู บนพ้ืนฐานของความตองการสวนบุคคลและความสามารถของคนในพวกเขาสภาพแวดลอม ตัวอยางเชนคนที่สะกดไดมักจะเลือกอุปกรณที่สังเคราะหเสียงพูดเพ่ือพูดขอความท่ีพิมพผิด อุปกรณ สวนใหญอนุญาตใหผูคนเรียงลําดับคําหรือสัญลักษณเพื่อสรางขอความหรือเรียกคืนวลีที่เก็บไว ลวงหนา ผูท่ีไมสามารถใชงานอุปกรณโดยการสัมผัสสัญลักษณหรือตัวอักษรอาจใชวิธีการเขาถึงแบบ อ่ืนเชน การสแกนจอยสต๊ิกและการจําลองเมาส ๓.๒ ประเภทของการสอื่ สาร ประเภทของการส่ือสารตามกฏเกณฑตางๆ ไดดังน้ี (สุขิริน เย็นสวัสด์ิ. 2548: 23; อางอิง จาก ปรมะ สตะเวทิน . 2533) 1. การจําแนกโดยใชผสู ่ือสารเปนเกณฑแ บงออกเปน 1.1 การส่ือสารภายในตวั บุคคล เปนการส่อื สารภายในตัวเอง เพยี งคนเดยี วไดแ ก การคดิ การเขยี น เปนตน 1.2 การสื่อสารระหวางบคุ คล เปนการสอื่ สารระหวา งบคุ คลต้ังแต 2 คนขน้ึ ไป การ สอ่ื สารทีม่ ีผสู ื่อสารมโี อกาสเปนท้ังผสู ง สารและผรู บั สาร 26 1.3 การส่อื สารกลมุ ใหญ เปนการส่อื สารระหวา งกลุม บุคคลจาํ นวนมาก เชนการ ประชมุ การสมั นา 2. การจําแนกตามลกั ษณะทิศทางของการตดิ ตอส่อื สาร 2.1 การติดตอ สอื่ สารแบบทางเดยี ว เปนการสือ่ สารทผี่ ูสง สารเปน ผูก ระทาํ โดยการ ถายทอดไปสผู รู บั สารฝา ยเดียวไมเปด โอกาสใหผรู บั สารไดส อบถามความเขาใจ 2.2 การตดิ ตอ ส่อื สารสองทาง หมายถึงการติดตอ ทั้งผสู อ่ื สารและผูรับสารไดมี โอกาสพูดคุย ซกั ถามใหเกดิ ความรคู วามเขาใจที่ถูกตอง 3. การสอ่ื สารตามภาษาสญั ลักษณที่แสดงออกมี 2 ลักษณะดังนี้ 3.1 วัจนภาษา คอื ภาษาถอ ยคาํ ไดแก คาํ พดู หรอื ตัวอกั ษรท่ีกาํ หนด ตกลงใช รว ม

๑๗ กันในสังคม ซ้ึงหมายความรวมถึงเสียงและลายลกั ษณอักษร ภาษาถอยคําจึงเปนภาษาที่ มนุษยสราง ข้ึนอยางมีระเบียบ มีหลักเกณฑทางภาษาหรือไวยากรณซึ่งคนในสังคมนั้นตอง เรียนรูท่ีจะเขาใจ และใชภาษาในการฟง พดู อา น เขียน และคิด 3.2 อวัจนภาษา คอื ภาษาทไี่ มใชถ อ ยคํา หมายถงึ สญั ลกั ษณรหสั ท่ไี มใชตัวอกั ษร คําพูด แตเปนท่ีเขาใจรวมกันระหวางผูสงสารและผูรับสารมีจุดมุงหมายที่จะส่ือสารและปฏิกิริยา ตอบสนอง หรือเรยี กวา ภาษาเงียบ กายภาษา หรอื ภาษาทา ทางเปนตน ๔. งานวจิ ยั ที่เก่ียวของ ฐาวรีขันสําโรง*, เมธิศา พงษศิกดิศร(๒๕๕๖). การพัฒนาทักษะการส่ือสารดวย PECS สําหรับบุคคลออทิสติก การวิจัยเชิงนี้ใชกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อถอดบทเรียนการพัฒนา ทักษะการส่ือสารสําหรับบุคคลออทิสติก ดวยระบบการแลกเปลี่ยนรูปภาพเพื่อการส่ือสาร (PECS)กลุมตัวอยางเปนบุคคลออทิสติกท่ีไมสามารถสื่อสารดวยการพูด จํานวน 1 รายและผูดูแล บุคคลออทิสติก จํานวน 1 ราย โดยการเลือกแบบเจาะจง คณะผูวิจัยเปนผูดําเนินการเก็บรวบรวม ขอมูลโดยใชเทคนิคและเคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคือ การสังเกตพฤติกรรมของบุคคลออทิสติก ตัวอยางและการสัมภาษณ เชิงลึกผูดูแลบุคคลออทิสติก ระยะเวลาในการทําวิจัยระหวางตุลาคม 2559 – มกราคม 2560 ภายหลังการเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยไดสังเคราะห วิเคราะห แปล ความหมาย และสรุปผลการถอดบทเรียน ผลการศึกษาสรุปไดดังน้ีPECS สามารถ ชวยใหบุคคลออทิ สติกระดับรุนแรง(Low-functioning autism) ท่ีไมสามารถส่ือสารดวยการพูดสามารถส่ือสารดวย ภาพกับบุคคลรอบขางอยางมีประสิทธิผลท้ังในชีวิตประจําวันและการทํางาน เน่ืองจากวิธีการเรียนรู ของเด็กหรือบุคคลออทิสติก สามารถเรียนรูไดจากการมองเห็นและมีความจําเปนรูปภาพท่ีดีเลิศ (People with autistic can easily remembervisual images) ปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญยิ่ง คือ ความพรอม ความสมัครใจและความอดทนอยางเต็มที่ของผูดูแลนอกจากน้ีความถ่ีและ ความ ตอเน่ืองของการฝ กใชPECS ในทุกเวลาท่ีมีโอกาสเปนปจจัยรวมที่สําคัญโดยเร่ิมฝกจากเร่ืองใกลตัว และชอบมากที่สุด ของบุคคลออทิสติกแลวจึงขยายไปยังเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน ประกอบกับการจัดทําตารางและขันตอนการ ท างานของกิจกรรมในแตละวันดวยภาพ (Visual strategies) นบั เปน แนวปฏบิ ตั ิท่ีพฒั นาทักษะการส่ือสารไดอยางประสิทธผิ ลสาํ หรับบุคคลออทิสติกท่ี มีขอจากดานการพูด แมระดับรุนแรง ใหไปสูขั้นส่ือสารเพ่ือการดํารงชีวิต ดานการเรียน และการ ทํางานไดจรงิ ลักขณาพร ทองเจือเพชร(๒๕๕๑). ผลการใชวิธีเพ็คสในการพัฒนาทักษะการสื่อสารของเด็ก ทีม่ คี วามบกพรองทางสติปญ ญา ผลการวิจยั คร้ังนี้สรุปไดว า เดก็ คนท่ี 1 ระยะท่ี 1 หรือระยะเสนฐาน (A) เด็กไมมีทักษะการสื่อสารเลยตลอด ระยะเวลา 5 วัน หลังจากสอนดวยวิธีเพ็คสแลวเด็กมีทักษะ การสอสารระยะที่ B1 คือการ แลกเปลี่ยนรูปภาพกับสิ่งของเด็กตองการ ใชเวลา 6 วัน ระยะ B2 การขยายระยะทาง ใชเวลา 8 วัน ระยะ B3 การจําแนกภาพ 5 ภาพ ใชเวลา 12 วัน ใชเวลาในการ ฝก รวมทั้งสิ้น 31 วัน เด็กคนท่ี 2 ระยะท่ี 1 หรือระยะเสนฐาน (A) เด็กไมมีทักษะการส่ือสารเลย ตลอด ระยะเวลา 5 วัน หลังจากสอนดวยวิธีเพ็คสแลวเด็กมีทักษะการสอสารระยะที่ B1 คือการ แลกเปลย่ี นรปู ภาพกับส่ิงของเด็กตองการ ใชเวลา 9 วัน ระยะ B2 การขยายระยะทาง ใชเ วลา 4 วัน

๑๘ ระยะ B3 การจําแนกภาพ 5 ภาพ โดยใชเวลา 9 วัน ใชเ วลาในการฝกรวมท้ังสิ้น 27 วนั เดก็ คนท่ี 3 ระยะที่ 1 หรอื ระยะเสนฐาน (A) เดก็ ไมมีทักษะการส่อื สารเลยตลอด ระยะเวลา 5 วัน หลงั จากสอนด วยวิธีเพ็คสแ ลว เด็กมีทักษะการสอสารระยะที่ B1 คอื การ แลกเปลีย่ นรูปภาพกับบส่ิงของเด็กตองการ ใชเ วลา 7 วนั ระยะ B2 การขยายระยะทาง ใชเวลา 4 วัน ระยะ B3 การจาํ แนกภาพ 5 ภาพ โดยใช เวลา 12 วัน ใชเวลาในการฝกรวมทัง้ ส้นิ 28 วนั ประพิมพพ งศ พละพงศ (2544: บทคัดยอ) ไดศกึ ษาประสิทธิภาพและความสามารถ ในการ เขาใจความหมายจากภาพสัญลักษณสําหรับเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ผลการวิจัย พบวา กลุม ตวั อยางท่ไี ดร ับการสอนดวยชุดการสอนการส่ือความหมายดวยภาพ สญั ลักษณม ีความสามารถใน การเขา ใจความหมายจากภาพสัญลักษณส ูงขึน้ อยางมนี ัยสําคัญ ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 จุฑามาศ หนั ยอ (2541: 51 - 52) ไดศ ึกษาความสามารถในการพดู เพื่อส่อื ความหมาย โดย ใชเทคนิคการสอนแบบสนทนาของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางการไดยินในระดับกอนวัย เรียน พบวา การใชเทคนิคการสอนพูดแบบสนทนาทําใหนักเรียนมีความสามารถในการพูดสื่อ ความหมาย เพม่ิ ขน้ึ และการพดู โดยใชเทคนิคการสอนแบบพูดสนทนา โดยยดึ พัฒนาการของ เด็กปกตสิ อนเด็กใช คําอยางมีความหมายและใหความสนใจในส่ิงที่เด็กจะสื่อความหมายจาก การโตตอบกับผูสอนใน เหตุการณต า งๆ ขณะสอน พบวา เด็กมีความสามารถในการรบั รูภ าษา และการใชภาษาสงู ขน้ึ วลิ เลียม วิมุกตายน (2540: บทคดั ยอ) ไดพ ฒั นารูปแบบการฝกเพ่อื พฒั นาการสอ่ื สาร ทาง วาจาสําหรับนักศึกษาพยาบาล ผลการวิจัยพบวารูปแบบการฝกเพ่ือการสื่อสารทางวาจา สําหรับ นักศึกษาพยาบาลที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ หลังจากนําไปทดลองพบวา นักศึกษา พยาบาล มี ทักษะการสื่อสารทางวาจาหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .01 วรวรรณ กวินทรานุวัฒน. (2538: 88) ไดศึกษาการฝกการสื่อสารกับผูปวยตาม รูปแบบ ของจอยชและเวอรของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลสงขลา พบวา นักศึกษามีการ สอื่ สารกบั ผูป ว ยดีขนึ้ โดยนักศึกษาสามารถสงและรับขาวสารจากผูปว ยทงั้ ภาษา ถอ ยคําและภาษาทา ทางเพอื่ ใหก ารชว ยเหลอื ไดสอดคลอ งกัน เพ็ญจันทรสุนทราจารย (2525: 85 - 86) ไดศึกษาเร่ืองความสามารถในการพูดของ เด็ก ปฐมวัย โดยใชกลุมตัวอยางเปนเด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5 – 6 ปรวม 60 คน เครื่องมือท่ี 44 ใช ในการวิจัยคือภาพ 5 ภาพ ซึ่งเปนเร่ืองเก่ียวกับครอบครัว อาหาร สัตวเลี้ยง สถานท่ีสําคัญใน ชุมชน ศาสนาและการคมนาคม พบวา เด็กชายและเด็กหญิงมีความสามารถในการเรียนรู คําศัพทและการ พดู เปนประโยตไมแตกตา งกัน

บทท่ี ๓ วิธดี ําเนินการวิจัย การศึกษาคร้ังนี้เปน การพัฒนาความสามารถในการสอ่ื สารของนักเรยี นท่มี ีความบกพรอ ง ทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการส่ือสาร (AAC) ซึ่งมีข้ันตอน การดาํ เนนิ การดังน้ี ๑. กลมุ เปาหมาย ๒. เคร่อื งมือท่ใี ชในการวิจัย ๓. การสรางเครือ่ งมือในการวิจยั ๔. การเกบ็ รวบรวมขอมูล ๕. การวิเคราะหข อมลู ๑. กลมุ เปา หมาย การศึกษาครั้งนี้เลือกศกึ ษาแบบเจาะจง คือ นักเรียนที่มคี วามบกพรองทางรางกาย หรือ การเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ เพศหญิง อายุ ๗ ป จํานวน ๑ คน รับบริการนอกศูนยการศึกษาพิเศษ ประจําจังหวัดลําปาง โครงการปรับบานเปนหองเรียนเปล่ียนพอแมเปนครู อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง โดยบูรณาการจัดกิจกรรมในทุกกลุมสาระ ตามหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สําหรับผเู รยี นพกิ าร ศนู ยก ารศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลําปาง ๒. เครื่องมือที่ใชใ นการวิจัย เคร่อื งมือที่ใชใ นการวจิ ยั คร้ังนี้ ไดแ ก ๒.๑ แบบสังเกตการจัดการเรียนรู และแบบประเมินผลการเรียนรู ซ่ึงพัฒนาโดย ดร.สมพร หวานเสรจ็ (คมู อื การนําหลกั สตู รสกู ารปฏบิ ตั ิ , ศูนยก ารศกึ ษาพเิ ศษสวนกลาง , ๒๕๕๘) ๒.๒ แผนปายท่ีประกอบดวยภาพและคํา จัดทําขึ้นเพ่ือใชในแตละกิจกรรม ประกอบดวย กิจกรรมศลิ ปะบําบัด กิจกรรม ICT และกิจกรรมสุขศึกษาและพลศกึ ษา โดยในแผน ปา ย จะเปนภาพเด็ก ภาพกิจกรรมแยกตามประเภทของกิจกรรม และมีคํา เชน ชื่อนักเรียน สีตาง ๆ ความรูสึกชอบ ไมชอบ โกรธ และคําชม เปนตนในแตละแผนปายกิจกรรม ครูจะใชแผนปายน้ีชี้คําใน ระหวางทาํ กิจกรรมกบั นักเรียน ๒.๔ แผนการสอนเฉพาะบุคคล ประกอบดวย ช่ือทักษะ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ช่ือกิจกรรม จุดประสงคยอย ส่ือและกิจกรรมในการจัดการเรียนรู วิธีการฝก รวมทั้งเกณฑในการวัด ประเมนิ ผล

๒๐ ๓. การสรา งและหาคุณภาพของเครอื่ งมือในการวิจัย การสรางและหาคุณภาพของเครอ่ื งมือ ผวู ิจยั ดาํ เนินการ ดงั นี้ ๓.๑ ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ กับการสรางสื่ออุปกรณชวยในการ สอ่ื สาร (AAC) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล พรอมกับวิเคราะหทักษะการเรียนรู ทักษะทางวิชาการ เพื่อการดาํ รงชีวิต ดังตารางการวเิ คราะหทักษะการเรียนรู ตอไปนี้ ๓.๒ จัดทํารา งเคร่ืองมอื การวจิ ัย เสนอใหผูเชยี่ วชาญ จาํ นวน ๓ ทาน คือ ๓.๒.๑ ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ยุวดี วริ ยิ างกรู ประธานชมรมเพื่อคนพเิ ศษ แหงประเทศไทย ๓.๒.๒ Ms. Nicole Bender ผเู ช่ียวชาญดา นการใชอ ุปกรณชว ยในการส่ือสาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) สถาบันพฒั นาการ เด็กราชนครินทร ๓.๒.๓ นายวฒุ ชิ ยั ใจนภา ครูชํานาญการศูนยการศึกษาพเิ ศษ สวนกลาง เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาของเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย โดยผูเชี่ยวชาญน้ีเรียกวาการหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of congruence, IOC) การหาคา IOC ควรใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาการตรวจสอบอยางนอย ๓ ทานพิจารณาขอความแตละขอใน เครอ่ื งมอื วัดโดยกาํ หนดคะแนนสําหรบั การพิจารณาคําถามแตล ะขอ ดงั นี้ ให +๑ คะแนน ถาแนใจวาคําถามน้ีสอดคลองตรงกับเน้ือหาตามวัตถุประสงคท่ี ตองการวัด ให ๐ คะแนน ถาไมแนใจวาคําถามน้ีสอดคลองตรงกับเนื้อหาตามวัตถุประสงคที่ ตอ งการวดั ให -๑ คะแนน ถาแนใจวาคําถามน้ีไมสอดคลองตรงกับเนื้อหาตามวัตถุประสงคที่ ตอ งการวดั ๓.๓ นําเครื่องมือ คือ อุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล มาปรบั ปรุงแกไขตามคําแนะนาํ ของผูเชย่ี วชาญ ๓.๔ นําเครื่องมือ คือ อุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล กลับไปใหผูเ ช่ียวชาญตรวจสอบอกี ครั้งเพ่ือความสมบูรณแ ละถูกตอง ๓.๕ ประชุมกับผูเก่ียวของเพื่อสรางความเขาใจในการใชส่ือและแผนการสอน ไดแก นักสหวชิ าชีพ ครูการศกึ ษาพิเศษ ผปู กครอง ๓.๖ นําเคร่ืองมือ คือ อุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) และแผนการสอนเฉพาะบุคคล ไปใชกับนักเรยี นกลุม เปาหมาย

๒๑ ๔. วิธดี ําเนนิ การทดลอง ๔.๑ แบบแผนการทดลอง การวิจัยครั้งน้ีไดใชแบบแผนการทดลองเปนแบบ One groupe pretest posttest design ดังรูปแบบตอ ไปนี้ กลุมทดลอง ทดสอบกอน ทดลอง ทดสอบหลัง E T1 X T2 ๕. การเก็บรวบรวมขอ มลู ผูวจิ ัยเกบ็ รวบรวมขอ มูลตามลําดับ ดงั น้ี ๕.๑ ประเมินและบันทึกความสามารถกอนการจัดการเรียนรูโดยใชอุปกรณชวยในการ สื่อสาร (AAC) และดําเนินการสอนตามแผนการสอนเฉพาะบคุ คล ๕.๒ สอนตามแผนการสอนกิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมศิลปะบําบัด กิจกรรม ICT และ กิจกรรมสขุ ศึกษาและพลศึกษา คร้ังละ ๑ คาบ ๆ ละ ๕๐ นาที ตามกําหนดการสอนโดยใชสื่ออปุ กรณ ชวยในการส่ือสาร (AAC) ๕.๓ บันทกึ คะแนน การวดั และประเมินผลความสามารถในการเรยี นรูข องนกั เรียนโดย ใชเ กณฑ ดงั น้ี ระดบั คุณภาพ ๕ หมายถึง ทําไดโดยตนเองและเปนแบบอยางผูอ ่นื ได ๔ หมายถงึ ทาํ ไดด ว ยตนเอง ๓ หมายถึง ทําไดโดยการชว ยเหลอื ชแ้ี นะจากผูอื่นบางเล็กนอย ๒ หมายถงึ ทาํ ไดโดยการชว ยเหลอื ชแี้ นะจากผูอืน่ ๑ หมายถึง ทําไดโ ดยผอู ื่นพาทํา ๕.๔ ประเมินความสามารถในการเรียนรู กิจกรรมศิลปะบําบัด กจิ กรรม ICT และ กจิ กรรมสุขศกึ ษาและพลศึกษา โดยการใชอปุ กรณชวยในการสือ่ สาร (AAC) ๖. การวิเคราะหขอ มูล ใชส ถิติพนื้ ฐานรอยละ และใชว ิธพี รรณนาขอมูลนําเสนอโดย กราฟเสน และแผนภูมิแทง แสดงพัฒนาการความกาวหนาจากการฝกและใชแผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบคะแนนกอน และหลังการใชอ ปุ กรณชว ยในการส่อื สาร (AAC) โดยใชสถติ ิดังน้ี ๖.๑ สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ (Percentage) โดยคํานวณจากสูตร (บุญชุม ศรสี ะอาด, ๒๕๕๔) ดังน้ี P= ƒ x 100 เมอ่ื P N แทน คะแนนคา รอ ยละ

๒๒ ƒ แทน ความถี่ท่ตี องการเปล่ียนแปลงใหเปนรอยละ N แทน จาํ นวนความถ่ีทั้งหมด ๖.๒ การตรวจสอบความตรงตามเนอ้ื หา IOC = ∑R N เม่อื IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ ง ∑ แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผเู ชี่ยวชาญ N แทน จํานวนผเู ชี่ยวชาญ

๒๒ บทที่ ๔ ผลการวิเคราะหข อ มลู การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการส่ือสาร (AAC) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคการวิจัยดงั น้ี ๑) เพ่ือพัฒนาความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือ การเคล่อื นไหว หรือสขุ ภาพ โดยใชอุปกรณช ว ยในการส่อื สาร (AAC) ๒) เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรอื การเคลือ่ นไหว หรอื สขุ ภาพ กอนและหลังการใชอ ปุ กรณช วยในการสอื่ สาร (AAC) ๑.ประเมินและบันทึกความสามารถกอนการจัดการเรยี นรโู ดยใชอุปกรณช วยในการสื่อสาร (AAC) และดาํ เนนิ การสอนตามแผนการสอนเฉพาะบุคคล โดยใชแบบสังเกตการจดั การเรยี นรูและแบบประเมนิ ผล การเรยี นรู ตารางท่ี 1 แบบบนั ทึกการสังเกตการเรยี นรู สงั เกตการเรยี นรู ครั้งท่ี คะแนนทไี่ ด 1 ๑ 2 ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๕ ๕ ๖ ๖ ๗ ๗ ๘ ๘ ๕ คา เฉล่ีย คา รอยละ 50.00 จากตารางที่ 1 แบบบันทึกการสงั เกตพฤติกรรม พบวา การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เพอ่ื พัฒนาทักษะการส่อื สารของนักเรยี น โดยใชก ระดานชวยสือ่ สาร (AAC) ซึ่งในระหวางการทาํ กิจกรรม ผูวิจัย ไดส ังเกตพฤติกรรม และบันทึกผลลงในแบบสงั เกตการจดั การเรียนรูและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู พบวา ในชวงแรกๆนักเรยี นยังไมสามารถสอ่ื สารบอกความตองการของตนเองไดแ ตห ลงั จากจัดกจิ กรรมการเรยี นรู

๒๓ นักเรียนมผี ลการพัฒนาทีด่ ีขนึ้ ซ่งึ ในการทาํ กิจกรรมคร้งั ท่ี ๑ นักเรยี นสามารถส่ือสารบอกความตอ งการของ ตนเองดว ยกระดานชว ยสอื่ สารไดเ พียง ๑ คร้ัง แตหลังจากการทาํ กิจกรรมครั้งท่ี ๘ นกั เรียนสามารถส่อื สาร บอกความตองการของตนเองโดยการชีท้ ี่อปุ กรณช วยสื่อสาร AAC ไดถ ึง ๘ ครงั้ โดยมีพฒั นาการข้นึ จากคร้งั ที่ ๑ เทา กบั ๗ ครง้ั โดยมีคา เฉลย่ี คดิ เปน รอยละ 50.00 2.5 2 1.5 1 0.5 0 1 ชดุ ขอมูล1 ชดุ ขอ มลู 2 ๒. บันทึกคะแนน การวัดและประเมนิ ผลความสามารถในการเรียนรูของนักเรยี นโดยใชเกณฑ ดงั นี้ ระดับคณุ ภาพ ๕ หมายถงึ ทําไดโ ดยตนเองและเปนแบบอยางผูอน่ื ได ๔ หมายถงึ ทําไดดว ยตนเอง ๓ หมายถึง ทําไดโ ดยการชว ยเหลือช้แี นะจากผูอ่นื บา งเล็กนอย ๒ หมายถงึ ทาํ ไดโดยการชว ยเหลือชแ้ี นะจากผูอน่ื ๑ หมายถึง ทําไดโ ดยผูอ ่ืนพาทํา นักเรยี น ทดสอบกอน ทดสอบหลัง 1 ๑ 4

๒๔ 3 2 1 0 หลังเรยี น กอนเรยี น จากการทําแบบทดสอบกอนการใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร พบวานักเรียนไมสามารถ สื่อสารบอกความตองการของตนเองได โดยไดคะแนน ๑ หมายถึง ทําไดโดยผอู ่นื พาทาํ คดิ เปน รอ ยละ ๑๐ แตภ ายหลังการใชกระดานชวยสื่อสาร AAC พบวา นักเรียนสามารถสื่อสารบอกความตองการของตนเองได โดยไดคะแนน ๔ หมายถึงสามารถทาํ ไดดวยตนเอง คิดเปนรอยละ ๘๐ โดยมีพัฒนาการขึ้น คิดเปนรอยละ 60.00

๒๕ บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจัย อภิปราย และขอเสนอแนะ สรุปการทําวิจยั การพฒั นาความสามารถในการส่ือสารของนักเรยี นที่มีความบกพรองทาง รางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) ภาคเรียนท่ี 2 ป การศึกษา 2563 โดยมีวัตถุประสงค ๑) เพื่อพัฒนาความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) ๒) เพ่ือ เปรียบเทียบความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ กอนและหลังการใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) กรณีศึกษาไดมาโดยการเลือกแบบ เจาะจง คือนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ จํานวน 1 คน รบั บริการท่ีบา น โครงการปรบั บา นเปนหอ งเรยี นเปลย่ี นพอแมเ ปนครู มีภาวะออทสิ ตกิ รวมดวย ไมสามารถ สื่อสารบอกความตองการของตนเองได ผูวิจัยไดดําเนินการข้ันทดลอง โดยการเดินทางไปที่บานของ นักเรียน และเริ่มการทดสอบกอนเรียน และใชอุปกรณชวยในการส่ือสาร ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน และมีการทดสอบหลงั เรียน โดยใชเวลาในการทดลองครั้งละ 1 ช่วั โมง จาํ นวน 8 ครง้ั โดยใชเ วลา 1 เดือน และมกี ารเก็บรวบรวมขอมูล วเิ คราะหขอมูล และนาํ มาสรุปผลการทดลองไดดงั น้ี สรุปผลจากการวิจัย 1. ความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สขุ ภาพ โดยใชอุปกรณช วยในการสอื่ สาร (AAC) มีผลการพัฒนาท่ดี ขี นึ้ โดยมีคาเฉลี่ยรอยละ 50 2. ความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ กอนและหลังการใชอุปกรณชวยในการส่ือสาร (AAC) พบวา คะแนนทดสอบหลังเรียนมี คะแนนรอยละ ๘๐.00 ซึ่งสูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนท่ีมีคะแนนรอยละ ๑๐.00 โดยมีพัฒนาการขน้ึ คดิ เปนรอยละ 60.00 อภปิ รายผล จากการศึกษาวจิ ยั ในครั้งนีม้ ีขอคนพบท่ีนาํ มาอภิปรายผลในประเด็นตาง ๆ ดงั น้ี 1. ผลการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการ เคล่ือนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) มีผลการพัฒนาท่ีดีข้ึน สรุปไดวา การนํา อุปกรณชวยในการส่ือสารทางเลือกมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีสามารถพัฒนา ความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนได ไดมีการสัมภาษณผูเช่ียวชาญดานการใชอุปกรณชวยในการ สื่อสาร และผูเช่ียวชาญทางดานการศึกษาพิเศษ มีการใหคําแนะนํา และผูวิจัยไดนํามาปรับปรุงแกไขใน จุดบกพรอง และพัฒนาใหมีความเหมาะสมกับการเรียนของนักเรียน โดยทําใหนักเรียนเกิดความสนใจใน การทาํ กิจกรรม และมีสมาธิกบั การเรยี นไดน านมากข้ึน

๒๖ 2. การวิเคราะหความสามารถในการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการ เคลอ่ื นไหว หรือสุขภาพ กอ นและหลงั การใชอุปกรณชว ยในการสื่อสาร (AAC) โดยมวี ิธกี ารคือ เมอื่ นักเรยี น สามารถสื่อสารบอกความตองการของตนเองได จะได 1 – ๕ คะแนน ตามเกณฑ พบวา คะแนนทดสอบ กอนเรียน มีคะแนนเฉล่ียรอยละ ๑๐.00 และคะแนนทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉล่ียรอยละ 8๐.00 จากการเปรียบเทียบแลวพบวานักเรียนมีพัฒนาการที่ดีข้ึน เพิ่มขึ้น รอยละ 60.00 สงผลใหนักเรียน สามารถสอ่ื สารบอกความตองการในชวี ิตประจาํ วันของตนเองได ขอ เสนอแนะในการทาํ วจิ ยั คร้ังตอไป 1) กอนการนําอุปกรณชวยในการส่ือสาร (AAC) ไปใชกับนกั เรียน ควรมกี ารตรวจสอบวานักเรียน มีพรอ มท่จี ะทาํ กิจกรรมหรือไม 2) ควรมีการแทรกกิจกรรมในระหวางการสอน เชน มีการผลิตบัตรภาพแบบ 3 มิติ ชวยให นกั เรยี นไดเห็นภาพมากย่ิงข้นึ 3) ควรมีการพัฒนาอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) ท่ีสามารถสอนใหผูเรียนไดเรียนรูกิจวัตรใน ชีวติ ประจําวันท่ีหลากหลายมากยิ่งข้ึน

บรรณานุกรม ผดุง อารยะวิญู. 2542. การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพ แวน แกว . ท วี ศั ก ดิ์ สิ ริ รั ต น  เ ร ข า . ( 2551). เ ด็ ก ท่ี มี ค ว า ม บ ก พ ร  อ ง ท า ง ส ติ ป  ญ ญ า . [ ร ะ บ บ อ อ น ไลน] .http://www.happyhomeclinic.com/clinic.html (5 พฤษภาคม 2563). นพวรรณ ศรีวงคพานิช, พัฏ โรจนมหามงคล. ภาวะปญญาออน/ภาวะบกพรองทางสติปญญา. ใน : ตํารา พัฒนาการและพฤตกิ รรมเด็ก. พมิ พครง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โฮลสิ ติก พบั ลิชช่งิ , 2551: 179-204. ทวีศักด์ิ สิริรัตนเรขา. ความบกพรองทางสติปญญา. [Online] 2551; Available from: URL: http://www.happyhomeclinic.com/sp05-mr.htm การสังเคราะหสูตรการหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน. กรุงเทพฯ: ศูนยคอมพิวเตอร ทางการสอน ภาควิชาครุศาสตร เทคโนโลยี คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลา พระนครเหนอื . กดิ านนั ท มลิทอง.(2543). เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าวิทยาศาสตรของนักเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่1ท่ีเรยี นจากบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีใชตัวช้ีนาํ แบบตัวอักษรขีดเสนใตและตวั ช้ีนําแบบภาพการตูนเคลื่อนไหว. วทิ ยานพิ นธศ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลยั รามคําแหง. ธรี ะชน พลโยธา. (2551). ผลการใชแ อพพลเิ คชั่นสําหรับสอนคาํ ศัพทภ าษาอังกฤษบนแท็บเลต็ วิชาภาษาอังกฤษสาํ หรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปท่ี 2สงั กัดส านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2. รมณียา สุรธรรมจรรยา (2559). นอมพร (ตนั พิพัฒน) เลาหจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอรช วยสอน. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทดวงกมล โพรดกั ชนั จาํ กัด. การพฒั นาความสามารถดา นการอา นและการรคู า ตวั เลขดวยบทเรยี น คอมพวิ เตอรช ว ยสอน สาํ หรับนักเรยี น ทมี่ คี วามบกพรอ งทางสติปญญา. ก่งิ เพชร แสนคํา(2555).

ภาคผนวก กลมุ งานบรหิ ารวชิ าการ ศูนยการศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง ปรบั ปรงุ ณ วันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

ภาคผนวก ก รายนามผูเชยี่ วชาญ กลมุ งานบริหารวชิ าการ ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรบั ปรงุ ณ วนั ท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

รายนามผเู ชย่ี วชาญ ผูเช่ียวชาญตรวจสอบ สื่อแอพพลิเคช่ันท่ีมีตอความสามารถในการอานคําในชีวิตประจําวัน โครงรา งการวจิ ยั จํานวน ๓ ทา น ดงั มีรายนามตอไปนี้ ๑. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ยวุ ดี วริ ยิ างกรู ประธานชมรมเพื่อคนพเิ ศษแหง ประเทศไทย ๒. Ms. Nicole Bender ผเู ชีย่ วชาญดา นการใชอ ปุ กรณชว ยในการสอื่ สาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) สถาบันพฒั นาการ เดก็ ราชนครนิ ทร ๓. นายวุฒิชยั ใจนภา ครูชํานาญการศนู ยการศึกษาพิเศษ สว นกลาง กลุมงานบรหิ ารวิชาการ ศูนยการศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวดั ลําปาง ปรับปรุง ณ วนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

ภาคผนวก ข ตัวอยา ง อุปกรณช ว ยในการสอ่ื สาร (Augmentative and Alternative Communication : AAC) กลมุ งานบริหารวิชาการ ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

กลมุ งานบริหารวิชาการ ศูนยก ารศกึ ษาพเิ ศษประจําจงั หวดั ลําปาง ปรบั ปรุง ณ วนั ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

ภาคผนวก ค ตัวอยา ง แผนการสอน กลมุ งานบริหารวชิ าการ ศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรงุ ณ วันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล (Individual Implementation Plan : IIP) ช่อื -สกลุ เด็กหญิงธัญรดา คุณาพนั ธ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ประเภทความพกิ าร บกพรองทางรา งกายหรอื การเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ กลุมสาระการเรียนรู การเรียนรูและความรูพ้ืนฐาน สาระที่ ๑ การส่ือสารและภาษาในชีวิตประจาํ วัน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู รียน ประเด็นพิจารณา ท่ี ๑.๑ ผลการพฒั นาผูเรียน ประเด็นพจิ ารณา ที่ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข องผเู รยี น โครงการ/กจิ กรรมท่ีสอดคลอง ๑. งานฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน ๒. งานปรับบา นเปน หองเรียนเปล่ียนพอ แมเ ปน ครู ๓. กจิ กรรมนักเรียน จุดประสงคเชิงพฤติกรรม เมื่อใหเด็กหญิงธัญรดา คุณาพันธ สามารถบอกความตองการของตนโดยใช ภาษาทาทาง ภาษาพูดหรือการสื่อสารทางเลือกในสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง ภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ แผนที่ ๑ เริ่มใชแ ผนวันท่ี ....... กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔ สิ้นสดุ แผนวันที่ ............................................ ใชเวลาสอนคาบละ ๑๐ นาที ๑. เน้ือหา การสื่อสารเปนกิจกรรม การพัฒนาศักยภาพผูเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระ การเรียนรูและความรพู ้นื ฐาน สาระท่ี ๑ การส่อื สารในชีวติ ประจาํ วัน ตัวชี้วดั ๒. บอกความตองการของ ตนโดยใชภาษาทาทาง ภาษาพูดหรือการสื่อสารทางเลือกในสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน บอก สถานการณตางๆ บอกความตองการของตนในสถานการณตางๆ หรือสิ่งแวดลอม ทั้งในและนอก หองเรียน รวมถงึ กระบวนการสื่อสารในสถานการณต า ง ๆ ในชวี ิตประจําวัน ๒. จุดประสงค ๑) เพ่ือใหผ ูเรียนสามารถบอกบอกความตองการของตน ในสถานการณตา ง ๆ หรือสิง่ แวดลอม ทง้ั ในและนอกหองเรียนได ๒) เพ่ือใหผ เู รียนสามารถส่อื สารบอกความตองการของตนเองในระหวางการทํากิจกรรม โดยใช อุปกรณชว ยในการส่อื สาร ๓) เพื่อใหส ามารถบอกความตอ งการของตน ในสถานการณต าง ๆดวยอุปกรณส อ่ื สารทางเลอื ก ไดทุกคร้งั ในระหวางการทาํ กิจกรรม กลมุ งานบริหารวชิ าการ ศูนยการศกึ ษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรงุ ณ วนั ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

๓. กิจกรรมการสอน ๑) ขน้ั เตรียมการสอน - สถานท่ี ศนู ยการศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จงั หวดั ลําปาง หอ งเรยี นปรับบา นเปน หองเรียน เปล่ยี นพอแมเปน ครู อําเภอเถนิ จังหวดั ลําปาง - สอ่ื แอพพลเิ คชนั่ การส่ือสารทางเลือก ผานอปุ กรณโทรศัพทสมารท โฟน - แผนการสอนเฉพาะบคุ คล เตรียมแบบบนั ทกึ ไวด า นซายมือผูสอน - ผเู รียน จดั ผเู รยี นนง่ั ท่ีเกาอม้ี ีพนกั พงิ และ มีโตะทมี่ คี วามสูงเหมาะสมกบั ผูเรยี น ๒) ขั้นนาํ ๑) ทักทาย สวสั ดีครับนกั เรยี น วนั น้คี รจู ะใหน ักเรียนฝกบอกความตอ งการของตนเอง โดย ครูจะใหน ักเรียนลองเลนเกมในโทรศัพทท่คี รใู หเ ลนนะครบั ๒) ครใู หนักเรียนดูการตนู กิจวตั รประจําวัน ผา นลงิ ค Youtube - ประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐาน โดยครใู ชวธิ สี อบถามพดู คยุ กับนักเรียน“นักเรยี นอยาก เขา หองน้าํ ไหมครับ” “นักเรียนอยากกินกลว ยไหมครับ” ๓) ขน้ั สอน ๑) ครสู าธิตการใชโทรศัพทสมารทโฟน และการใชแ อพพลิเคชนั่ ใหน ักเรยี นดู โดยครใู ชน้วิ กดแอพพลเิ คช่ันใหม ีเสียงขน้ึ มา ๒) ครสู าธิตการกดปุมบอกความตองการ เชน ครกู ดคําวา”กลว ย” ใหค รูชกู ลวยน้าํ วา ขึ้นมา ๓) ครใู หนกั เรียนกดแอพพลิเคช่นั ตามทคี่ รูสาธิต - เทคนิคการสอน การสอนเชิงพฤติกรรม การกระตุน เตอื น,ตะลอมกลอ มเกลา,การเลียนแบบ ๔) ขน้ั ฝก ใหน กั เรยี นกดท่ีแอพพลิเคชน่ั การส่อื สารทางเลอื ก เมือ่ นักเรียนกดคาํ วา “เขา หอ งน้ํา” ใหครูพา นกั เรยี นไปทหี่ องนาํ้ ทันที เม่ือนักเรียนกดที่คาํ วา ”กลวย” ใหครนู ํากลว ยมาใหนักเรยี นทันที เมอ่ื นักเรยี น กดคําวา ”แม” ใหแ มมาหาทนั ที - แรงเสรมิ /รางวัล คาํ ชม “เกงมาก” ๔) ขั้นประเมิน - บนั ทึกผลการประเมินลงในแบบบนั ทึกผลการเรยี นรตู ามแผนการสอนเฉพาะบุคคล ๔. การวดั และประเมนิ ผล ๑) วิธวี ดั และประเมนิ ผล - การสงั เกต - การฝก ปฏบิ ตั จิ ริง ๒) เครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล - แบบบนั ทกึ จดุ ประสงคเชงิ พฤติกรรม ๕. เกณฑก ารวดั และประเมนิ ผล ๐ หมายถึง ผเู รียนไมต อบสนอง ๑ หมายถงึ ผเู รยี นทําไดโ ดยกระตุนเตอื นทางกายและทา ทางหรอื วาจา กลมุ งานบริหารวชิ าการ ศูนยการศึกษาพเิ ศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

๒ หมายถงึ ผเู รียนทําไดโดยกระตุนเตอื นทา ทางและวาจา ๓ หมายถงึ ผเู รียนทาํ ไดโ ดยกระตนุ เตอื นทางวาจา ๔ หมายถึง ผูเรยี นทําไดดว ยตนเองโดยไมตอ งชวยเหลือ ลงช่อื .................................................ครูผสู อน (นายสราวุธ แกว มณวี รรณ) ตาํ แหนง พนักงานราชการ ความคดิ เหน็ ฝา ยวิชาการ / ผูแทน ( ) เปน แผนการสอนทด่ี ใี ชสอนได ( ) ควรปรบั แก ........................................................................... ลงชอ่ื .................................................................... (...................................) ตําแหนง ............................ ............./.................../........... ความคิดเหน็ ของผบู ริหาร หรือผทู ไ่ี ดร ับมอบหมาย ( ) เปน แผนการสอนทด่ี ใี ชสอนได ( ) ควรปรับแก .............................................................................. ลงชอ่ื .................................................................... (................................................) ผูช วยผอู ํานวยการกลมุ บริหารงานวชิ าการ ............./.................../.......... กลุมงานบริหารวชิ าการ ศูนยการศึกษาพเิ ศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วันที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

แบบบนั ทึกผลการเรียนรูตามแผน ชื่อนกั เรียน เด็กหญิงธญั รดา คณุ าพันธ ผสู อน นายสราวธุ แกวมณีวรรณ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม เม่ือใหเด็กหญิงธัญรดา คุณาพันธ ใชอุปกรณส่ือสารทาง อุปกรณส ือ่ สารทางเลอื กบอกความตองการของตนเองได ภายในวนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕ คําช้แี จง ใหกากบาท (X) ลงบนตัวเลขทตี่ รงกับระดับคณุ ภาพการทาํ กจิ กรรมของเด ตามจุดประสงคเชงิ พฤติกรรมที่กําหนดใหน ักเรียนเรียนรู ครัง้ ที่สอน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ วนั ทสี่ อน ประเมินความสามารถพ้นื ฐาน วนั ช่อื กจิ กรรม บอกความตองการของตนเอง ๔๔๔๔๔ ๔ ๓๓๓๓๓ ๓ จดุ ประสงคเชิงพฤติกรรมขั้นตอนที่ ๒๒๒๒๒ ๒ ๑๑๑๑๑ ๑ ๑. เม่ือใหเด็กหญิงธัญรดา คุณาพันธ ใชอุปกรณสื่อสาร ๐๐๐๐๐ ๐ ทางเลือกบอกความตองการของตนเอง เด็กหญิงธัญรดา คุณาพันธ สามารถใชอุปกรณส่ือสารทางเลือกบอกความ ตอ งการของตนเองได ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ การนําเสนองาน ( ) สาธติ ครูใชอ ปุ กรณส ือ่ สารทางเลอื กใหนกั เรียนดู ( ) คาํ ส่ัง “กดแอพพลิเคชัน่ สือ่ สารบอกความตองการของตนเอง” ส่อื การสอน โทรศัพทส มารทโฟน, แอพพลชิ ่นั ส่ือสารทางเลอื ก การใหรางวัล คาํ ชม ”เกง มาก” เกณฑก ารผานจดุ ประสงค ใชอปุ กรณส ื่อสารทางเลือกบอ กลุมงานบริหารวิชาการ ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวดั ล

นการสอนเฉพาะบุคคล (รายครัง้ ) ณ งเลือกบอกความตองการของตนเอง เด็กหญิงธัญรดา คุณาพันธ สามารถใช ๕๖๔ ดก็ พิการ และขีดเสนไปตามจุดเพื่อตรวจสอบความกาวหนาของการเรียนรู ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ นท่ี สรุปผลการสอน ๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔๔ ๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒  ผา น ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑  ไมผาน ๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐ อกความตองการของตนเองได ๓ ครั้งตดิ ตอ กนั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

ระดบั คุณภาพ ๐ หมายถึง ผเู รียนไมต อบสนอง ๑ หมายถงึ ผเู รยี นทาํ ไดโ ดยกระตุน เตอื นทางกายและทาทางหรือวาจา ๒ หมายถงึ ผเู รียนทําไดโ ดยกระตุน เตอื นทาทางและวาจา กลมุ งานบรหิ ารวชิ าการ ศูนยการศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวดั ล

๓ หมายถึง ผเู รียนทําไดโ ดยกระตุน เตอื นทางวาจา ๔ หมายถึง ผูเรยี นทาํ ไดดวยตนเองโดยไมตองชว ยเหลอื ลาํ ปาง ปรับปรงุ ณ วันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

๒๘ บันทึกผลหลังการสอน กลุมสาระการเรยี นรู การเรียนรแู ละความรูพืน้ ฐาน สาระที่ ๑ การส่อื สารและภาษาในชวี ติ ประจําวัน จดุ ประสงคเ ชงิ พฤติกรรม เม่ือใหเดก็ หญิงธัญรดา คุณาพันธ ใชอุปกรณสอ่ื สารทางเลือกบอกความตองการ ของตนเอง เด็กหญงิ ธญั รดา คุณาพันธ สามารถใชอ ปุ กรณส ่ือสารทางเลือกบอกความตองการของตนเองได ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ วันท่สี อน สรปุ ระดับ คุณภาพท่ีได ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ....................................... ระดบั คุณภาพ ๐ หมายถึง ผเู รยี นไมต อบสนอง ๑ หมายถึง ผูเรียนทําไดโ ดยกระตุนเตือนทางกายและทา ทางหรือวาจา ๒ หมายถึง ผเู รยี นทาํ ไดโ ดยกระตุนเตอื นทา ทางและวาจา ๓ หมายถงึ ผูเรยี นทําไดโดยกระตุนเตอื นทางวาจา ๔ หมายถงึ ผูเ รยี นทําไดดว ยตนเองโดยไมตองชว ยเหลือ หมายเหตุ ๑. สงั เกตจากการปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนตามท่ีกําหนดไว ๒. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะทาํ กิจกรรม ๓. สังเกตจากพัฒนาการของผเู รยี นท่ีทาํ ไดอยา งตอเนื่อง ลงชอื่ .................................................ครูผูสอน (22นายสราวธุ แกว มณีวรรณ)22 วันที่ กลุมงานบรหิ ารวิชาการ ศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ลําปาง ปรับปรุง ณ วนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

๒๙ ความคิดเหน็ ฝา ยวิชาการ / ผูแทน ( ) สอนตามแผนการสอนขนั้ ตอนตอไป ( ) ควรปรบั แก ............................................................................................................ ลงชอ่ื .................................................................... (…………………………………………) ตาํ แหนง .................................. ............./.................../.......... ความคิดเห็นของผูบรหิ าร หรือผทู ไ่ี ดร ับมอบหมาย ( ) สอนตามแผนการสอนขน้ั ตอนตอไป ( ) ควรปรบั แก ............................................................................................................ ลงชื่อ.................................................................... (..............................................) ผชู วยผูอํานวยการกลุมบรหิ ารงานวชิ าการ ............./.................../........... กลุมงานบรหิ ารวิชาการ ศูนยก ารศกึ ษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วันที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

๓๐ ภาคผนวก ง - รายละเอยี ดการคาํ นวณ - ตัวอยา งแบบประเมินความสอดคลองและความเหมาะสม ของเครื่องมอื ที่ใชในการเก็บขอมลู การศกึ ษา กลมุ งานบรหิ ารวิชาการ ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง ปรับปรงุ ณ วันที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๒

๓๑ แบบทดสอบเชงิ สาํ รวจโดยผูทรงคุณวุฒิ/ผูเ ชี่ยวชาญ คาํ ชแ้ี จง ดวย นายสราวุธ แกวมณีวรรณ ตําแหนง พนักงานราชการ ผูวิจัยเปนครูผูสอนของ ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ โดยใชอุปกรณชวยในการสื่อสาร (AAC) ทีร่ ับบรกิ ารโครงการปรบั บานเปน หองเรียนเปล่ียนพอแมเปน ครู อําเภอเถิน โดยไดส รา งแบบบันทึก ผลการพัฒนาทกั ษะการสื่อสารของนักเรียนท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรือสขุ ภาพ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการสรางแบบทดสอบฉบับน้ีเพื่อ สํารวจและรวบรวมขอบกพรอง และ นําขอบกพรอง เหลานั้นมาใชเปนขอมูลในการสรางแบบบันทึกผลการพัฒนาทักษะการสื่อสารของนักเรียนท่ีมีความ บกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ ตอไป ผูวิจัยพิจารณาแลวเห็นวาทานเปนผูท่ีมี ความรูและประสบการณทางดานการสอนทักษะการสื่อสาร ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษาและ/หรือดานการสรางกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะของนักเรียนตอไป จึงขอความอนุเคราะหจาก ทานได พิจารณาและขอ เสนอแนะเพิ่มเติม ในประเดน็ ตอไปน้ี 1. ตรวจสอบนยิ ามศัพท มคี วามชดั เจนถกู ตอ งหรอื ไม 2. ตรวจสอบแบบบันทึกผลการพัฒนาทักษะการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทาง รา งกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสุขภาพ วา มีความสอดคลองกับนิยามนิยามศัพท ครอบคลุม และเหมาะสมที่จะ นําไปใชวัดผลการพัฒนาทักษะการส่ือสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว หรือสขุ ภาพ ไดหรือไม 3. ตรวจสอบแผนการพัฒนาทักษะการสื่อสารของนักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือ การ เคลือ่ นไหว หรอื สขุ ภาพสอดคลองกับวตั ถปุ ระสงคในการวจิ ยั หรือไม ตรวจแลว ( …………………………………...... ) ผทู รงคณุ วฒุ ิ …………/……………/…………. กลมุ งานบริหารวิชาการ ศูนยการศกึ ษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปาง ปรับปรุง ณ วนั ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook