Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

Published by special_lp, 2018-07-08 08:16:57

Description: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

Search

Read the Text Version

~ ๓๕ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู บั ผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิคณุ ภาพ ประเมนิ ผล แฟม สะสมงานารนาํ ขอมูล ๑.หวั หนา งาน ๑.ครปู ระจาํ ๑.แบบ นักเรยี นงทกุ วชิ าชพี ชวยเหลือ ช้ัน สัมภาษณสังเคราะห ระยะ ๒.นกั สห แผนการะสรุปรวมกัน แรกเรมิ่ ฯ วิชาชพี ใหบรกิ ารอวาง ๒.หวั หนา งาน ๓.ผปู กครอง ชวยเหลอืนการจดั ปรับบา น เฉพาะรศึกษา เปน ครอบครัว หอ งเรียน เปลี่ยนพอ ๒.แบบคัด ~ ๓๕ ~ แมเ ปนครู กรอง ๓.หัวหนา งาน ศูนยการ ๓. สมุดบนั ทึก เรียนเฉพาะ พัฒนาการ ความพิการ ของผูเรยี น ๔.ผชู ว ย ผอู ํานวยการ ๔.กราฟแสดง กลมุ งาน อายทุ าง บรหิ าร พฒั นาการ วชิ าการ ของผูเ รยี น กาํ กับ ตดิ ตาม

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๖ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู บั ผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิคุณภาพ ประเมินผล ๕.สรปุ และ รายงานการ ~ ๓๖ ~ ประเมนิ ผล การพฒั นา ๖.พฒั นาการ ตามวยั ๗.แบบ ประเมิน ความสามาร ถพน้ื ฐาน (รายการที่ ๓–๗ เฉพาะเด็ก อายุ แรก เกดิ – ๖ ป) ๘.เคร่ืองมือ การประเมิน ความ

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๗ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิคุณภาพ ประเมนิ ผล สามารถ พื้นฐานกลุม ~ ๓๗ ~ ทกั ษะการ ดาํ รงชีวิต ประจาํ วัน สําหรบั เดก็ ที่มคี วาม ตองการ จาํ เปน พเิ ศษ ของศูนย การศกึ ษา พิเศษ ประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง ๙.แบบ ประเมิน ทักษะ จําเปนพเิ ศษ

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๘ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผูรบั ผิดชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคุณภาพ ประเมินผล ๑๐.แบบ ประเมนิ ทาง ~ ๓๘ ~ กิจกรรมบาํ บดั ๑๑.การตรวจ ประเมินทาง กายภาพบาํ บัด ๑๒.รายงาน การประเมนิ พัฒนาการ ทาง จิตวิทยา ดว ยแบบ ประเมิน พฒั นาการ Denver II (ฉบับ ภาษาไทย)

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๙ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคุณภาพ ประเมนิ ผล ๑๓.แบบ ประเมนิ ~ ๓๙ ~ กจิ กรรม ดนตรบี าํ บัด ๑๔.แบบ ประเมิน กจิ กรรม ศิลปะบาํ บดั ๑๕.แบบ ประเมนิ กิจกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ และการ สอ่ื สาร (ICT) ๑๖.แบบ บนั ทึก – การประเมนิ รางวลั

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๔๐ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งอิงคุณภาพ ประเมินผล ๑๗.แบบ ประเมนิ ~ ๔๐ ~ ความกา วห นา การ ใหบ ริการ ชว ยเหลอื ครอบครัว : ดา นเด็ก ๑๘.แบบ ประเมนิ ความกา วห นาการ ใหบ รกิ าร ชวยเหลอื ครอบครวั : ดาน ครอบครัว และ สง่ิ แวดลอ ม

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๔๑ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผูรบั ผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางอิงคุณภาพ ประเมินผล ๑๙.แบบ ประเมิน ~ ๔๑ ~ ความกาว หนาการ ใหบ ริการ ชว ยเหลือ ครอบครัว : ดาน ชุมชน (รายการที่ ๑ และ ๑๗ – ๑๙ เฉพาะ กลุมรับ บริการ IFSP)

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๔๒ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู บั ผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งอิงคุณภาพ ประเมนิ ผล ๒๐.สรุปผล การ ~ ๔๒ ~ ประเมิน และ พฒั นา ๒๑.ขอมลู ความสาม ารถ พ้นื ฐาน ๒๒.ผลการ วิเคราะห ผเู รยี น

ท่ี ผงั การปฏบิ ัติงาน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา๕ ๑ วัน คณะกรรมการประเมิน คณ ความสามารถพื้นฐาน จดั ท นักเรยี นสงขอ มลู การ จดั ก ประเมนิ ความสามารถ เฉพ พ้นื ฐานท้งั หมดใหแก หรอื คณะกรรมการจัดทาํ คณสง ขอมลู ใหกบั แผนการจัดการศึกษา จดั ท เฉพาะบุคคล หรือ ใหบคณะกรรมการ คณะกรรมการจดั ทํา ชวย แผนใหบ ริการชวยเหลือ เฉพจัดทาํ IEP / เฉพาะครอบครวั ครอ สรปุ ประ ควา พื้น ฐาน จดั ท จัดก ใหก

~ ๔๓ ~ มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผูร ับผิดชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิ คุณภาพ ประเมินผลณะกรรมการ ๑.หัวหนางาน ๑.ผูอํานวยการ ๑.สรปุ ผลการ แฟม สะสมงาน ทาํ แผนการ ชว ยเหลือ ๒.ผปู กครอง ประเมนิ นักเรียน การศึกษา ระยะ ๓.ครปู ระจําชน้ัพาะบคุ คล แรกเริม่ ฯ ๔. นักสห และพฒั นา อ ๒.หัวหนา งาน ๒.ขอมูลณะกรรมการ ปรับบา น วชิ าชพี ทาํ แผน เปน ๕. เครอื ขายใน ความสามารบรกิ าร ถพ้นื ฐาน ยเหลอื ชมุ ชนพาะ หอ งเรยี น ๖. ผมู ีสวน ๓.ผลการอบครวั ใช เปล่ียนพอ เกี่ยวขอ ง วเิ คราะหปผลการ แมเปน ครู (หวั หนา งาน ผเู รยี น ะเมิน ๓.หัวหนางาน ชวยเหลอื ~ ๔๓ ~ ามสามารถ ศนู ยก าร ระยะนฐาน เปน เรยี นเฉพาะ แรกเริม่ ฯ/นในการ ความพิการ หัวหนางาน ทําแผนการ ปรบั บา น การศกึ ษากบั ผเู รยี น

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๔๔ ~ ระบบตดิ ตาม/ ผรู ับผิดชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิมาตรฐาน ประเมนิ ผล เปนคุณภาพ ๔.ผูช วย หอ งเรียน ผอู ํานวยกา เปลย่ี นพอ รกลมุ งาน แมเปน ครู/ บรหิ าร หัวหนา งาน วชิ าการ ศนู ยการ กาํ กับ เรยี นเฉพาะ ตดิ ตาม ความพิการ/ ผชู วย ผูอาํ นวยการ ~ ๔๔ ~ กลุม งาน บริหาร วชิ าการ)

~ ๔๕ ~๒. คาํ อธิบาย ๒.๑ อธบิ ายขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ๒.๒.๑ งานทะเบยี นนักเรียนสงตอนักเรยี นเขาหองเรยี น ข้ันตอนน้ี เม่ือผูอํานวยการเกษียนใบสมัครนักเรียนมอบหมายใหนักเรียนเขาหอ งเรียนแลว งานทะเบียนนักเรียนรับทราบ และจดั ทําบนั ทกึ ขอความสงตอนกั เรยี นเขา ชน้ั เรยี น พรอ มมอบหลักฐาน ไดแก บันทึกขอความรับนักเรียน ใบสมัครประวัตินักเรียนใหกับครูประจําช้ัน เพ่ือเปนขอมูลเบือ้ งตน กอ นนัดหมายคณะกรรมการประเมนิ ความสามารถพื้นฐานนักเรยี น ๒.๒.๒ นดั หมายคณะกรรมการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน ข้นั ตอนนี้ แบงออกเปน ๒ กรณี ๑) การนัดหมายกรรมการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียนท่ีมารับบริการในศูนยการศึกษาพเิ ศษ ครูประจําช้ันหรือครูที่รับผิดชอบดูแลนักเรียนนั้น จะตองบันทึกขอความขออนุญาตประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน โดยนัดหมายผูปกครองและนักสหวิชาชีพ ไดแกครูการศึกษาพิเศษ นักกิจกรรมบําบัด นักกายภาพบําบัด นักจิตวิทยา เปนตน เพื่อเตรียมประเมินความสามารถขัน้ พื้นฐาน ๒) การนัดหมายกรรมการประเมินความสามารถพื้นฐานนักเรียนท่ีรับบริการในศูนยการเรียนเฉพาะความพิการ โครงการปรับบานเปนหองเรียนเปลี่ยนพอแมเปนครู หรือหนวยบรกิ ารประจาํ อาํ เภอ ครูประจําช้ันหรือครูท่ีรับผิดชอบดูแลนักเรียนนั้น จะตองบันทึกขอความขออนุญาตประเมินความสามารถพื้นฐานนักเรียน โดยนัดหมายผูปกครอง เชิญคณะกรรมการนักสหวิชาชีพ ไดแก ครูการศึกษาพิเศษ นักกิจกรรมบําบัด นักกายภาพบําบัด นักจิตวิทยา เปนตนและเชิญคณะกรรมการเครือขาย ไดแก พัฒนาชุมชน ผูใหญบาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจาํ ตําบล เปนตน เพ่ือเตรียมประเมินความสามารถขนั้ พนื้ ฐาน ๒.๒.๓ ประเมินความสามารถพน้ื ฐาน ข้ันตอนนี้ เปนการรวมประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียนโดยใชแบบประเมินตางๆ ครูประจาํ ชนั้ และครูการศึกษาพิเศษจะใชเอกสารตางๆในการรวมประเมิน ไดแก แบบสัมภาษณแผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว แบบคัดกรอง สมุดบันทึกพัฒนาการของผูเรียน กราฟแสดงอายุทางพัฒนาการของผูเรียน สรุปและรายงานการประเมินผลการพัฒนา พัฒนาการตามวัยแบบประเมินความสามารถพื้นฐาน เคร่ืองมือการประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางแบบประเมินทักษะจําเปน พเิ ศษ แบบประเมินทางกิจกรรมบาํ บดั การตรวจประเมินทางกายภาพบาํ บัด

~ ๔๖ ~รายงานการประเมินพัฒนาการทางจิตวิทยาดวยแบบประเมินพัฒนาการ Denver II (ฉบับภาษาไทย)แบบประเมินกิจกรรมดนตรีบําบัด แบบประเมินกจิ กรรมศิลปะบําบัด แบบประเมินกิจกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แบบบันทึก – การประเมินรางวัล แบบประเมินความกาวหนาการใหบริการชวยเหลอื ครอบครวั : ดา นเด็ก แบบประเมินความกาวหนาการใหบริการชวยเหลือครอบครัว: ดานครอบครัว และสิ่งแวดลอม แบบประเมินความกาวหนาการใหบรกิ ารชวยเหลือครอบครัว : ดานชมุ ชน เปนตน ในการประเมนิ ความสามรถพน้ื ฐานนักเรียน โดยในการประเมินนั้นจะเปนการประเมินเชิงลงมือปฏิบัติตามแบบประเมิน และประเมินจากการสัมภาษณ ผูปกครอง ผูเก่ียวของ และผูใกลชิด เพื่อใหไดขอมูลที่ขณะทําการประเมินนกั เรียนไมไดแสดงความสามารถใหเ หน็ แตสามารถทําได ผานประสบการณข องผูใกลช ดิ รอบขาง ๒.๒.๔ ประชุมสรปุ ขอ มลู ความสามารถพืน้ ฐาน ขั้นตอนนี้ ครูประจําชั้น รวมกับผูปกครองและนักสหวิชาชีพ สรุปขอมูลความสามารถพน้ื ฐานตามแบบประเมินของแตละวิชาชีพ โดยนาํ ขอมลู จากแบบประเมินของทกุ วิชาชีพสรุปผลการประเมินและพฒั นา มาบันทึกสรุปในขอ มูลความสามารถพ้ืนฐานนักเรยี น และสังเคราะหลงในผลการวเิ คราะหผ ูเ รยี น เพ่ือใชเปน ขอ มูลในการจัดทาํ แผนการจัดการศึกษา ตอไป ๒.๒.๕ สงขอมูลใหกับคณะกรรมการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือคณะกรรมการจัดทําแผนใหบ รกิ ารชวยเหลือเฉพาะครอบครัว ข้ันตอนนี้ แบง ออกเปน ๒ กรณี ๑. คณะกรรมการจัดทําแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล คณะกรรมการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน จัดสงขอมูลการประเมินความสามารถพื้นฐานทั้งหมด ใหแก คณะกรรมการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล โดยคณะกรรมการประกอบดวย ผูอํานวยการ ผูปกครอง ครูประจําช้ัน นักสหวิชาชีพ ผูมีสวนเก่ียวของไดแ ก หัวหนา งานชวยเหลือระยะแรกเรม่ิ ฯ ผูชว ยผูอ าํ นวยการกลมุ งานบริหารวชิ าการ เปน ตน ๒. คณะกรรมการจัดทาํ แผนใหบรกิ ารชวยเหลือเฉพาะครอบครัว คณะกรรมการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน จัดสงขอมูลการประเมินความสามารถพนื้ ฐานท้ังหมด ใหแ ก คณะกรรมการจดั ทําแผนใหบ รกิ ารชวยเหลอื เฉพาะครอบครัว โดยคณะกรรมการประกอบดวย ผูอํานวยการ ผูปกครอง ครูประจําชั้น นักสหวิชาชีพ เครือขายในชุมชนผูมีสวนเกี่ยวของ ไดแก หัวหนาเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต ๑ เขต ๒ และ เขต ๓ หัวหนางานปรับบานเปนหอ งเรียนเปลย่ี นพอ แมเปนครู หัวหนางานศูนยการเรียนเฉพาะความพิการ ผชู วยผูอํานวยการกลุมงานบรหิ ารวิชาการ เปน ตน ๒.๒ ข้นั ตอนการประเมินความสามารถพนื้ ฐานของนักเรยี น ครูผูสอน ตองเตรียมเอกสารท่ีเกี่ยวกับการประเมินความสามารถพื้นฐาน ไดแก แบบสมั ภาษณแ ผนการใหบ รกิ ารชว ยเหลือเฉพาะครอบครัว แบบคัดกรอง สมุดบันทึกพัฒนาการของผูเรยี นกราฟแสดงอายุทางพัฒนาการของผูเรียน สรุปและรายงานการประเมินผลการพัฒนา พัฒนาการตาม

~ ๔๗ ~วัย แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน เคร่ืองมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางแบบประเมินทักษะจําเปนพิเศษ แบบประเมินทางกิจกรรมบาํ บดั การตรวจประเมนิ ทางกายภาพบําบัดรายงานการประเมินพัฒนาการทางจิตวิทยาดวยแบบประเมินพัฒนาการ Denver II (ฉบับภาษาไทย)แบบประเมินกิจกรรมดนตรีบาํ บัด แบบประเมินกจิ กรรมศิลปะบําบัด แบบประเมินกิจกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) แบบบันทึก – การประเมินรางวัล แบบประเมินความกาวหนาการใหบริการชวยเหลอื ครอบครัว : ดา นเดก็ แบบประเมินความกาวหนาการใหบริการชวยเหลือครอบครัว: ดานครอบครัว และส่ิงแวดลอม แบบประเมินความกาวหนาการใหบรกิ ารชว ยเหลือครอบครัว : ดานชุมชน ๒.๒.๑ ตัวอยางการนําเคร่ืองมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจาํ วนั สําหรับเดก็ ทีม่ คี วามตองการจําเปน พิเศษของศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษประจาํ จังหวัดลําปาง ๒.๒.๑.๑ การบนั ทึกขอมลู ท่ัวไป ไดแก ๑) ชอ่ื – สกุล นกั เรยี น ๒) อายุ ๓) หอ งเรยี น ๔) ครู / ผดู ูแล ๕) ผูป ระเมิน๑๒ ๓๔ ๕ภาพที่ ๔.๑ การบันทึกขอมูลทั่วไปในเครื่องมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชวี ติ ประจําวันสาํ หรบั เด็กทีม่ ีความตอ งการจําเปน พเิ ศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง

~ ๔๘ ~ ๒.๒.๑.๒ การบนั ทกึ ขอมูลผลการประเมินและขอ สังเกต ไดแก ๑) ผล เกณฑการประเมนิ กอนพฒั นา มี ๓ ระดับ ไดแ ก ทาํ ได หมายถงึ ทาํ ไดด ว ยตนเอง หรอื ทาํ ไดบ างข้ันตอน ทาํ ไมได หมายถึง ตอบสนองแตท าํ ไมได ไมมโี อกาสทาํ หมายถงึ ไมเคยไดท ํา ไมเ คยถูกพาทาํ โดยมขี อควรพิจารณาดังนี้ (๑) หากประเมินแลว พบวา ทักษะยอยใดมคี วามจาํ เปน ตอการดาํ รงชวี ติของเด็กใหพิจารณานาํ มาจัดกิจกรรมพัฒนาเด็ก (๒) หากประเมินแลว พบวา ทักษะยอยใดไมมีความจําเปนตอการดาํ รงชีวิตของเด็กหรอื ไมม โี อกาสไดใ ชในชวี ติ ใหล ะท้ิงได ๒) ขอสงั เกต หลังจากท่ีมีการประเมิน และทราบผลการประเมินแลววา นักเรียนสามารถทาํ ได ใหบนั ทึกลงในชองขอ สงั เกตวานักเรียนสามารถทาํ ไดอ ยา งไร ดงั ตวั อยาง ๒.๑) การบันทึกขอสังเกต กรณี ทําไดเอง บันทึกในตารางชอง ผลวา ทาํ ได และบนั ทกึ ในขอ สังเกตวา นักเรยี นทําไดระดับใดภาพท่ี ๔.๒ การบันทึกขอ มูลผลการประเมินและขอสงั เกตในเครือ่ งมอื การประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐานกลมุ ทกั ษะการดํารงชวี ติ ประจาํ วันสาํ หรบั เดก็ ท่ีมคี วามตองการจาํ เปนพิเศษของศูนยการศึกษาพเิ ศษประจาํจังหวดั ลําปาง กรณีทําไดเ อง

~ ๔๙ ~ ๒.๒) การบันทึกขอสังเกต กรณีทําได แตไมครบทุกข้ันตอน บันทึกในตารางชอง ผล วา ทําได และบนั ทึกในขอสงั เกตวานกั เรยี นทําไดขนาดไหน ทาํ ไดอยางไรภาพท่ี ๔.๓ การกรอกขอมูลผลการประเมินและขอสังเกตในเคร่ืองมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง กรณที ําได แตไ มครบทุกขน้ั ตอน

~ ๕๐ ~ ๒.๓) การบันทึกขอสังเกต กรณี ทําไมได บันทึกในตารางชอง ผลวา ทําไมได และบันทึกในขอสังเกตวา นกั เรียนทําไดร ะดับใด ครูยงั ตอ งชว ยทําขนั้ ตอนใดบางภาพท่ี ๔.๔ การกรอกขอมูลผลการประเมินและขอสังเกตในเครื่องมือการประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง กรณีทาํ ไมไ ด

~ ๕๑ ~ ๒.๔) การบนั ทกึ ขอ สงั เกต กรณีนกั เรยี นไมมโี อกาสไดทาํ บันทึกในตารางชอง ผล วา ไมม โี อกาสไดทาํ และบนั ทึกในขอสงั เกต ถงึ เหตผุ ลท่นี กั เรียนไมม ีโอกาสไดทาํ หรือไมเคยถูกพาทํามีสาเหตุมาจากอะไร และควรพิจารณาดงั นี้ (๑) หากประเมินแลวพบวาทักษะยอยใดมคี วามจาํ เปนตอ การดํารงชีวติ ของเด็กใหพจิ ารณานาํ มาจดั กิจกรรมพัฒนาเด็ก (๒) หากประเมนิ แลว พบวา ทักษะยอยใดไมมีความจําเปนตอการดํารงชีวติ ของเด็กหรือไมมีโอกาสไดใชใ นชีวติ ใหล ะทง้ิ ไดภาพที่ ๔.๕ การกรอกขอมูลผลการประเมินและขอสังเกตในเครื่องมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจาํ จงั หวัดลาํ ปาง กรณีไมม ีโอกาสไดทาํ

บทท่ี ๕ สรุปและขอเสนอแนะ ผูปฏิบัติงานตามคูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เร่ือง การประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ในบทบาทหนาท่ีของผูปฏิบัติงานน้ัน มีแบบประเมิน ขั้นตอนและผูท่ีมีสวนเกี่ยวของอยูหลายสวนดวยกัน นอกจากนั้นผูปฏิบัติงานยังตองเปนผูรอบรูและมีความเขาใจ ในลําดับขั้นตอนการประเมิน แบบประเมินและผูที่มีสวนเก่ียวของเปนอยางดีแลว ยังตองทําหนาท่ีในการประสานงานและรวบรวมขอมูลอีกดวย และยังมีสวนรวมในการประเมิน ซ่ึงสามารถสรุปประเด็นปญ หาอปุ สรรค แนวทางการแกไขปญหาอปุ สรรค และขอเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา ดังนี้๑. ปญ หาอปุ สรรค ในขั้นตอนการดําเนินการประเมินกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษน้ัน มีความสําคัญเปนอยางย่ิงที่จะตองมีการดําเนินการตามข้ันตอนตางๆ เพื่อไมใหเกิดปญหาและอปุ สรรคในการทํางาน ซึง่ ปญ หาอาจเกิดขนึ้ ไดในหลายประเดน็ ดงั นี้ ๑) ข้ันตอนการสงตอนักเรียนเขาหองเรียน งานทะเบียนนักเรียนสงตอนักเรียนเขาหองเรียนตองสงตอบันทึกขอความรับนักเรียน ใบสมัครประวัตินักเรียนใหกับครูประจําช้ัน เพ่ือเปนขอมูลเบ้ืองตนกอนนัดหมายคณะกรรมการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน หากไมไดรับเอกสาร หรือเอกสารมีขอมูลไมครบหรือไมถูกตอง อาจทําใหไดขอมูลไปใชในการประเมินความสามารถไมครบถวนหรือไมต รงตามความเปน จริง ๒) ขั้นตอนการนัดหมายคณะกรรมการประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐานนักเรียน ครูประจาํ ช้ันหรือครูท่ีรับผิดชอบดูแลนักเรียนน้ัน จะตองบันทึกขอความ ขออนุญาตประเมินความสามารถพื้นฐานนักเรียน โดยนัดหมายผูปกครอง เชิญคณะกรรมการ นักสหวิชาชีพ ไดแก ครูการศึกษาพิเศษนักกิจกรรมบําบัด นักกายภาพบําบัด นักจิตวิทยา เปนตน และเชิญคณะกรรมการเครือขาย ไดแกพัฒนาชุมชน ผูใหญบาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบล เปนตน เพ่ือเตรียมประเมินความสามารถขั้นพื้นฐาน ในขั้นตอนน้ีเน่ืองจากในการประเมินจะตองมีผูรวมประเมินจากหลายสวนจึงอาจจะมีปญหาเร่ืองของการกําหนดวันและเวลาในการทําการประเมินท่ีไมตรงกัน ซึ่งหากคลาดเคลอ่ื นหรอื ไมแ จง ลวงหนา กจ็ ะไมส ามารถดําเนินการประเมนิ ตามแผนได ๓) ข้ันตอนการประเมินความสามารถพ้ืนฐาน ถือเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญเปนอยางมากเนื่องจาก นักเรียนจะไดรับการประเมินเพื่อนําผลการประเมินไปสูการวางแผนการจัดการศึกษาผานการประเมินจากหลากหลายสาขาวิชาชีพ ดังน้ัน ในขั้นตอนน้ีจะตองมีการเตรียมแบบประเมิน

~ ๕๓ ~สื่อ สภาพแวดลอม และบุคลากรที่มีความเหมาะสม รวมท้ังการประเมินควรเปนลักษณะการประเมินจากสถานการณจริง ส่ือของจริง สภาพแวดลอมท่ีนักเรียนคุนเคย บุคคลที่คุนเคย หากไมมีการเตรียมแบบประเมิน สื่อ สภาพแวดลอม รวมท้ังผูประเมินไมไดเตรียมตัวมาลวงหนา อาจจะไมไดความสามารถทีแ่ ทจรงิ ของนกั เรียน ๔) ข้ันตอนการประชุมสรุปขอมูลความสามารถพื้นฐาน ข้ันตอนนี้อาจจะเกิดปญหาคือครูประจาํ ชัน้ สรุปเพยี งคนเดยี ว ทาํ ใหไมไดผ ลการประเมินท่ีเหมาะสมกบั ความตองการของนักเรยี น ดังนั้นปญหาและอุปสรรคในภาพรวมคือหากบุคลากรไมไดศึกษาข้ันตอนในการดําเนินการประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรียนมากอน จะทําใหไมทราบถึงขั้นตอนตางๆในการทําการประเมินซ่ึงไดแก การจัดเตรียมเอกสาร การจัดเตรียมสื่อ สภาพแวดลอม และรูปแบบการประเมินความสามารถ รวมถึงการประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวของ สงผลตอการประเมินที่ไมเหมาะสมไมส อดคลอ งกบั ความตอ งการจําเปน ของนักเรยี น๒. แนวทางการแกไขปญ หาอุปสรรค หากในระหวางการดําเนินการประเมินทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษมีปญหาเกิดขึ้น ควรดําเนินการแกไขทันทีเพื่อใหสามารถประเมินความสามารถพ้ืนฐานนักเรยี นไดอยางราบร่ืนเหมาะสมตามความตองการจําเปน ของนกั เรียน ดงั น้ี ๑) ควรมีการสงตอบันทึกขอความรับนักเรียน ใบสมัครประวัตินักเรียนใหกับครูประจําช้ันเพอื่ ใหครูประจาํ ชั้นศกึ ษาขอ มลู กอนการนัดหมายกรรมการ ๒) ครูประจําชั้นหรือครูที่รับผิดชอบดูแลนักเรียนน้ัน ควรบันทึกขอความ ขออนุญาตประเมินความสามารถพ้นื ฐานนักเรยี น โดยนดั หมายผมู สี วนเกยี่ วขอ งลว งหนา กอ นวันประเมนิ ๓) ผูประเมินควรเตรียมแบบประเมิน ส่ือ สภาพแวดลอม และบุคลากรท่ีมีความเหมาะสมรวมท้ังการประเมินควรเปนลักษณะการประเมินจากสถานการณจริง ส่ือของจริง สภาพแวดลอมท่ีนักเรียนคุนเคย บุคคลที่คุนเคย และผูประเมินควรเตรียมตัวมาลวงหนา เพ่ือใหไดความสามารถท่ีแทจริงของนักเรียน ๔) ทุกฝายที่เก่ียวของควรรวมกันสรุปขอมูลความสามารถพ้ืนฐานตามแบบประเมินของแตละวิชาชีพ โดยนําขอมูลจากแบบประเมินของทุกวิชาชีพ และสรุปผลการประเมินและพัฒนา มาบันทึกสรุปในขอมูลความสามารถพ้ืนฐานนักเรียน และสังเคราะหลงในผลการวิเคราะหผูเรียน ไมควรใหครูประจําช้ันสรุปเพียงคนเดียว เน่ืองจากแบบประเมินของแตละวิชาชีพ แตกตางกัน และในการสงั เคราะหข อมลู รวมกนั น้นั อาจจะมีขอคดิ เหน็ เพิ่มเติมจากการประเมิน จึงตองรว มกันสรปุ ดังน้ันครูประจําช้ัน ผูมีสวนเก่ียวของ หรือผูปฏิบัติงาน ควรศึกษาคูมือการปฏิบัติงาน (WorkManual) เรื่อง การประเมินความสามารถพ้ืนฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็ก

~ ๕๔ ~ท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง กอนดําเนินการประเมินเพ่ือใหสามารถดําเนินการประเมินความสามารถพ้ืนฐานของนักเรียนไดอยางถูกตอง เหมาะสมตรงตามความตองการจําเปน พเิ ศษของนักเรยี น๓. ขอเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา ๓.๑ ควรมีการสงเสริมใหผูปฏิบัติงานนําคูมือการปฏิบัติงาน เรื่อง การประเมินความสามารถพน้ื ฐาน กลุม ทักษะการดํารงชีวติ ประจําวันสําหรับเด็กทม่ี ีความตองการจําเปน พิเศษของศูนยการศกึ ษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ไปใชอยางตอเนื่องเพ่ือใหนักเรียนมีทักษะการดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีคุณภาพ ๓.๒ ควรมีการจัดทํา คูมือการปฏิบัติงาน เร่ือง การประเมินกลุมทักษะทางวิชาการเพ่ือการดํารงชีวิต คูมือการปฏิบัติงาน เร่ือง การประเมินกลุมทักษะสวนบุคคลและสังคม คูมือการปฏิบัติงานเร่ือง การประเมินกลุมทักษะการทํางานและอาชีพ เพื่อใหครอบคลุมตามหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ ของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางตอไป ๓.๓ ควรมีการสงเสริมและกํากับ ติดตามในระดับผูอํานวยการ ผูชวยผูอํานวยการกลุมงานบริหารวชิ าการ และหัวหนางานชวยเหลือระยะแรกเร่ิมพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอม เพื่อใหครูผูสอนมีการพัฒนานักเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กทม่ี ีความตอ งการจาํ เปนพิเศษ ของศนู ยการศึกษาพเิ ศษประจาํ จงั หวัดลําปางตอไป

บรรณานุกรมกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๓, ๓๑ กรกฎาคม). ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง ต้ังศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั .ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อืน่ ของศูนย์การศึกษาพเิ ศษ พ.ศ.๒๕๕๓. (๒๕๕๓, ๖ สงิ หาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๒๗ ตอนพเิ ศษ ๙๕ ง. หนา้ ๒๓.พระราชบญั ญัติการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ. (๒๕๕๑, ๕ กมุ ภาพนั ธ์). ราชกจิ จานุเบกษา เล่มท่ี ๑๒๕ ตอนที่ ๒๘ ก หน้าท่ี ๒.เรืองชยั จรงุ ศิรวฒั น์. (๒๕๕๔). เทคนิคการเขยี นคู่มอื การปฏิบัตงิ าน. ขอนแกน่ : ศูนยผ์ ลติ เอกสาร สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ. (๒๕๕๘). (รา่ ง)โปรแกรมการพฒั นาทักษะการดารงชีวิตสาหรับเดก็ ที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษของศนู ย์การศึกษาพิเศษพทุ ธศักราช ๒๕๕๘. ถา่ ย เอกสาร.

ภาคผนวกแบบประเมนิ ความสามารถพื้นฐานกลมุ่ ทักษะการดารงชวี ติ ประจาวนั สาหรบั เด็กท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

แบบประเมินความสามารถพน้ื ฐานกลุม่ ทักษะการดารงชวี ติ ประจาวนั ตามหลกั สูตรสถานศึกษาสาหรับเดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษระยะแรกเร่ิม ของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดลาปาง ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และ หลกั สตู รสถานศึกษาการพัฒนาทักษะดารงชีวิต สาหรับเด็กทมี่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ชอ่ื -สกลุ ...............................................................................................................................................วนั /เดือน/ปี เกดิ ................/........................./.....................วนั ท่ประเมนิ ............./......................./........................อาย.ุ ..............ป.ี ..............เดอื นลกั ษณะความพกิ าร………………………………………….…………………....…………………........................................................................................................................................ .....................................................เกณฑ์การประเมนิ ความสามารถพนื้ ฐานก่อนการพัฒนาทาได้ หมายถึง ทาได้ด้วยตนเอง หรือทาไดบ้ างขนั้ ตอนทาไมไ่ ด้ หมายถึง ตอบสนองแตท่ าไม่ได้ไม่มโี อกาสทา หมายถงึ ไม่เคยไดท้ า ไมเ่ คยถูกพาทาโดยมข้อควรพิจารณาดงั น้(๑) หากประเมินแลว้ พบว่าทักษะย่อยใดมความจาเป็นต่อการดารงชวติ ของเดก็ ใหพ้ ิจารณานามาจดั กิจกรรมพัฒนาเดก็(๒) หากประเมนิ แล้วพบว่าทักษะย่อยใดไม่มความจาเปน็ ต่อการดารงชวิตของเด็กหรอื ไม่มโอกาสไดใ้ ช้ ในชวติ ใหล้ ะทงิ้ ได้เกณฑก์ ารประเมนิ ผลหลังพัฒนา เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ระบไุ ว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคลหรือแผนให้บรกิ ารช่วยเหลือเฉพาะครอบครวั

~ ๕๙ ~อายุ ขอ้ ท่ี พฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ข้อสังเกต ความสามารถ๑. ทกั ษะการดูแลตนเองและการดแู ลสขุ อนามยั ส่วนบุคคลทักษะย่อย ๑.๑ การถอดและสวมใสเ่ คร่อื งแต่งกาย๑.๑.๑ การถอด๑ ปขี ึ้นไป ๑ บอกชือ่ เครือ่ งแตง่ กาย ๒ ใหค้ วามรว่ มมือในการถอด เส้อื ผา้ ๓ ถอดหมวก ๔ ถอดถุงมือ ๕ ถอดถงุ เท้า ๖ ถอดรองเท้าแตะ๒ ปีขึ้นไป ๗ ถอดรองเทา้ หุ้มสน้ แบบตดิ แถบตนตกุ๊ แก ๘ ถอดผ้าออ้ มสาเร็จรปู (แพมเพสิ ) ๙ ถอดกางเกงชนั้ ใน ๑๐ ถอดกางเกงแบบ มซปิ ด้านหน้า ๑๑ ถอดกางเกงแบบ มกระดุมด้านหน้า ๑๒ ถอดกางเกงขาสนั้ เอวยางยืดหรือชดุ หลวม ๑๓ ถอดกางเกงขายาว เอวยางยืดหรอื ชดุ หลวม ๑๔ ถอดกระโปรงเอวยางยืด ๑๕ ถอดกระโปรงแบบมกระดมุ หน้า หลงั (แบบอนบุ าล) ๑๖ ถอดเส้ือผา่ หนา้ แบบผูกเชอื กหรือโบว์ ๑๗ ถอดเส้ือผ่าหนา้ แบบติดแปบ๊ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง

~ ๖๐ ~อายุ ข้อ พฤติกรรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ที่ ความสามารถ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง๓ ปีขน้ึ ไป ๑๘ ถอดเส้ือผ่าหน้า แบบตดิ กระดุมขนาดใหญ่๔ ปขี น้ึ ไป๖ ปีขึ้นไป ๑๙ ถอดเสื้อผา่ หนา้ แบบติดกระดมุ ขนาดเล็ก ๒๐ ถอดเสื้อผ่าหนา้ แบบมซิป ๒๑ ถอดเสื้อยดื คอกลม ๒๒ ปลดกระดุมเส้ือเช้ติ หรือเส้ือ โปโล ๒๓ ถอดรองเท้า แบบผูกเชอื ก ๒๔ ถอดรองเทา้ แบบมเข็มขดั ๒๕ ถอดเสื้อผ่าหลัง แบบติดแปบ๊ ๒๖ ถอดเสื้อหรือชุดสวมทาง ศรษะ ๒๗ ถอดเสือ้ ชัน้ ใน (เสอ้ื ซับใน / เส้อื กลา้ ม) ๒๘ ถอดกระโปรงแบบมตะขอ และซปิ ดา้ นข้าง ๒๙ ถอดเข็มขัด แบบมหวั เขม็ ขัด ๓๐ ถอดกระโปรง แบบมซปิ ด้านขา้ ง ๓๑ ถอดกระโปรง แบบมซปิ ด้านหลัง ๓๒ ถอดเส้ือผ่าหลัง แบบกระดุม(เด็กผู้หญงิ ) ๓๒ ถอดเส้ือผ่าหลงั แบบกระดมุ (เด็กผูห้ ญงิ )

~ ๖๑ ~อายุ ข้อที่ พฤติกรรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง ๓๓ ถอดเสื้อผ่าหลัง แบบรดู ซปิ (เด็กผ้หู ญงิ ) ๓๔ ถอดเครอื่ งแตง่ กาย ทง้ั หมด๑.๑.๒ การสวม๑ ปีขน้ึ ไป ๑ บอกชื่อเครอ่ื งแต่งกาย ๒ ใหค้ วามร่วมมือ ในการสวมเสือ้ ผา้๓ ปขี ้นึ ไป ๓ สวมหมวก ๔ สวมถงุ มอื ๕ สวมถุงเท้า ๖ สวมผา้ ออ้ มสาเร็จรปู (แพมเพิส) ๗ สวมกางเกงชัน้ ใน ๘ สวมกางเกง แบบมกระดุมด้านหนา้ ๙ สวมกางเกงขาสนั้ เอวยางยดื ๑๐ สวมกางเกงขายาว เอวยางยดื ๑๑ สวมกระโปรง เอวยางยืด ๑๒ สวมกระโปรง แบบม กระดุมหน้าหลัง ๑๓ (แบบอนบุ าล) ๑๔ สวมเสื้อผ่าหน้า ๑๕ แบบติดแปบ๊ สวมเสอ้ื ผา่ หน้า แบบติดกระดมุ ขนาดใหญ่ สวมเสือ้ ผา่ หน้า แบบติดกระดมุ ขนาดเล็ก

~ ๖๒ ~ อายุ ขอ้ ท่ี พฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ๑๖ สวมเสื้อผ่าหลงั ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง แบบกระดุม (เด็กผู้หญิง) ๑๗ ติดกระดมุ เส้ือเชิ้ต หรือเส้อื โปโล ๑๘ สวมรองเทา้ แตะ ๑๙ สวมรองเทา้ หุ้มส้นแบบตดิ แถบตนตุ๊กแก๔ ปขี ึ้นไป ๒๐ สวมกางเกงแบบมซปิ ดา้ นหนา้ ๒๑ สวมเสอ้ื ผา่ หน้า แบบมซิป ๒๒ สวมเส้ือยืดคอกลม ๒๓ สวมเสื้อหรอื ชดุ สวมทาง ศรษะ ๒๔ คาดเขม็ ขดั แบบมหัวเขม็ ขัด ๒๕ สวมรองเท้าข้างขวาและ ซ้ายไดถ้ ูกขา้ ง ๒๗ สวมรองเทา้ แบบมเข็มขดั๕ ปีขึ้นไป ๒๘ สวมเสอื้ ผ่าหน้า แบบผูกเชอื กหรือโบว์ ๒๙ สวมรองเทา้ แบบผกู เชอื ก ร้อยและผูกเชือกรองเท้า ด้วยตนเอง๖ ปีขึ้นไป ๓๐ สวมกระโปรงแบบมซปิ ดา้ นข้าง ๓๑ สวมกระโปรงแบบมซิป ดา้ นหลงั ๓๒ สวมกระโปรงแบบมตะขอ และซิปดา้ นข้าง

~ ๖๓ ~อายุ ขอ้ ที่ พฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ระ ัดบ ข้อสังเกต ความสามารถ ๓๓ สวมเสอื้ ผา่ หลัง แบบติดแปบ๊ ๓๔ สวมเสอ้ื ผา่ หลงั แบบรูดซปิ (เด็กผู้หญิง) ๓๕ สวมเครื่องแต่งกายทงั้ หมด ๓๖ สวมเสอ้ื ชน้ั ในทกั ษะย่อย ๑.๒ การเลือกเคร่อื งแต่งกาย๑.๒.๑ จาแนกด้านใน ดา้ นนอก ด้านหน้า และด้านหลงั ของเครอ่ื งแตง่ กาย ๒ ปขี ้นึ ไป ๑ จาแนกได้ว่าเส้ือผา่ หนา้ เปน็ ดา้ นหนา้ และด้านหลัง ๒ จาแนกไดว้ า่ กางเกงเป็น ดา้ นหน้าและด้านหลัง ๓ ปขี น้ึ ไป ๓ จาแนกได้ว่าเสื้อเป็นด้าน ในและด้านนอก ๔ จาแนกได้ว่ากางเกงเปน็ ด้านในและด้านนอก ๕ จาแนกไดว้ า่ ถงุ เทา้ เป็น ด้านหน้าและดา้ นหลงั ๖ จาแนกไดว้ า่ ถงุ เทา้ เปน็ ดา้ นในและดา้ นนอก ๗ จาแนกได้วา่ รองเท้าเปน็ ด้านซา้ ยและด้านขวา๑.๒.๒ จาแนกประเภทเครอ่ื งแตง่ กาย ๓ ปขี ึน้ ไป ๑ เส้อื ๒ กางเกง/กระโปรง ๓ ชดุ ช้นั ใน ๔ เสอื้ ช้นั ใน ๕ เคร่อื งแต่งกายประเภทอื่น ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

~ ๖๔ ~ อายุ ข้อท่ี พฤติกรรมท่คี าดหวงั ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ๑.๒.๓ เหมาะกับโอกาสและสถานที่ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง ๓ ปขี น้ึ ไป ๑ เลือกเครื่องแตง่ กาย สาหรบั อยู่ บา้ น ๒ เลอื กเครื่องแตง่ กาย สาหรบั ไปโรงเรยน ๓ เลอื กเครื่องแต่งกาย สาหรบั ไปเท่ยว ๔ เลือกเคร่ืองแตง่ กายสาหรับ ไปวัด ๕ เลอื กเครื่องแตง่ กาย สาหรับไปงานมงคล ๖ เลอื กเครื่องแตง่ กาย สาหรบั ไปงานอวมงคล ๗ เลอื กเครื่องแต่งกาย สาหรับไปงานอ่นื ๆ ๘ เลอื กเครื่องแต่งกายทเ่ ข้า ชุดกัน๑.๒.๔ แต่งกายเหมาะกบั สภาพดินฟ้าอากาศ ๕ ปีขนึ้ ไป ๑ อากาศรอ้ น ๒ ฝนตก ๓ อากาศหนาวทักษะยอ่ ย ๑.๓ การใช้ห้องน้าในทอ่ี ยู่อาศัย๑.๓.๑ การรบั รูเ้ วลา/สภาพท่ีจะตอ้ งเข้าห้องนา้ ๕ ปีขึ้นไป ๑ รบั รู้ความตอ้ งการขบั ถ่าย ปสั สาวะ ๒ รับรู้ความต้องการขบั ถ่าย อุจจาระ ๓ เข้าห้องนา้ ตามเวลาท่ กาหนดได้ ๔ เข้าห้องนา้ เองได้เม่ือต้องการ ขบั ถ่าย

~ ๖๕ ~อายุ ข้อที่ พฤตกิ รรมที่คาดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ๕ ปิดประตแู บบบานพับเมอ่ื เขา้ ห้องน้า ๖ บิดประตแู บบบานเลือ่ น เมอื่ เข้าห้องนา้ ๗ ปดิ ผา้ มา่ นขณะอาบนา้๑.๓.๒ รจู้ กั อุปกรณ์ต่างๆ ในหอ้ งนา้ ในบ้าน (ชื่อ ตาแหน่ง วธิ ีใช้) ๕ ปขี ึ้นไป ๑ โถสว้ ม (แบบนงั่ ยอง,น่งั ราบ) ๒ สายชาระ ๓ อา่ งน้า,ถังน้า ๔ ฝักบวั ๕ ขนั น้า ๖ สบกู่ ้อน,สบ่เู หลว ๗ ยาสระผม ๘ ยาสฟัน ๙ แปรงสฟัน ๑๐ นา้ ยาบ้วนปาก ๑๑ กระดาษชาระ ๑๒ กระจก ๑๓ เคร่ืองทาน้าอนุ่ ๑๔ อุปกรณ์อ่ืนทักษะยอ่ ย ๑.๔ การใชห้ ้องน้าในท่ีสาธารณะ๑.๔.๑ ท่ีตง้ั ๕ ปีขึ้นไป ๑ รจู้ ักทต่ ้งั ของห้องนา้ ๒ รจู้ ักแยกแยะพื้นเปียกและ พ้นื แหง้๑.๔.๒ เลอื กใชห้ ้องนา้ ได้เหมาะสมกบั เพศจากสัญลกั ษณ์ ๕ ปีขึน้ ไป ๑ เพศชาย ๒ เพศหญงิ ๓ เดก็ เลก็ ๔ คนชรา,คนพกิ าร,คนทอ้ ง ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง

~ ๖๖ ~อายุ ขอ้ ที่ พฤติกรรมท่คี าดหวงั ระ ัดบ ขอ้ สงั เกต ความสามารถ๑.๔.๒ เลือกใช้หอ้ งนา้ ได้เหมาะสมกับเพศจากสัญลกั ษณ์ ๕ ปีขึน้ ไป ๑ เพศชาย ๒ เพศหญิง ๓ เด็กเล็ก ๔ คนชรา,คนพกิ าร,คนทอ้ ง๑.๔.๓ เลือกใชโ้ ถปสั สาวะและโถอุจจาระ (เฉพาะเพศชาย) ๕ ปีขึ้นไป ๑ โถปัสสาวะ ๒ โถอุจจาระ๑.๔.๔ การใช้ส้วมนั่งยอง ๕ ปีขน้ึ ไป ๑ วิธการนั่ง ๒ ทิศทางการนงั่๑.๔.๕ การใช้ส้วมนั่งราบ (วิธีการนัง่ ,ทิศทางการนั่ง) ๕ ปีขนึ้ ไป ๑ วธิ การนั่ง ๒ ทศิ ทางการน่งั๑.๔.๖ การทาความสะอาดหลังการใช้ส้วม ๕ ปีขน้ึ ไป ๑ โถปสั สาวะ – เพศชาย การ กดน้า ๒ ส้วมน่งั ยอง การใช้ขนั ตกั นา้ ราดใหส้ ะอาดเมื่อเสร็จ ธรุ ะ ๓ สว้ มนง่ั ราบ การกดชกั โครกใหส้ ะอาดเม่ือเสร็จ ธรุ ะทกั ษะย่อย ๑.๕ อนามยั ส่วนบุคคล๑.๕.๑ วธิ ลี า้ งมือ ๑ ปขี นึ้ ไป ๑ รจู้ กั การล้างมือ ๒ รจู้ กั การลา้ งมือตาข้นั ตอน๑.๕.๒ สถานการณ์ทีต่ อ้ งลา้ งมือ ๑ ปขี ึ้นไป ๑ ล้างมือก่อนรบั ประทาน อาหาร ๒ ลา้ งมือหลงั รับประทาน อาหาร ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

~ ๖๗ ~อายุ ข้อท่ี พฤติกรรมท่คี าดหวงั ระ ัดบ ข้อสังเกต ความสามารถ ๓ ล้างมือหลังการใชห้ อ้ งนา้ ๔ ล้างมอื หลังทากจิ กรรม ๕ ลา้ งมือในสถานการณ์อืน่ ๆ๑.๕.๓ รู้จกั อปุ กรณต์ า่ งๆ ทีใ่ ชใ้ นการล้างมือ (ชื่อ ตาแหน่ง วิธีใช้) ๑ ปขี ึ้นไป ๑ อ่างลา้ งมือ ๒ กอ๊ กน้า ๓ สบลู่ า้ งมอื (สบกู่ ้อน, สบู่ เหลว) ๔ ผ้าหรือกระดาษเชด็ มือทักษะย่อย ๑.๖ การปฏบิ ตั ิตนและดูแลบคุ ลิกภาพ๑.๖.๑ ความสะอาดของรา่ งกาย ๒ ปีขึน้ ไป ๑ เชด็ หนา้ ให้แห้ง ๒ ลา้ งมอื ๓ เช็ดมือให้แหง้ ๔ แปรงฟนั ๕ การส่ังนา้ มกู ๖ ผวิ หนัง ๓ ปขี น้ึ ไป ๗ ล้างหนา้ ๔ ปขี ึ้นไป ๘ เชด็ น้ามกู ๙ การสระผมและล้างออก ๑๐ สว่ นอน่ื ๆ๑.๖.๒ ดแู ลความสะอาดของเส้อื ผา้ เครอื่ งแต่งกาย ๕ ปีขน้ึ ไป ๑ เสือ้ กางเกง กระโปรง ๒ ถงุ เท้า รองเทา้ ๓ เครอ่ื งแต่งกายอ่นื ๆ๑.๖.๓ การดแู ลผม หนวด เลบ็ ขนรกั แร้ ๖ ปีขึน้ ไป ๑ ดแู ลความเรยบร้อยของ ทรงผม ๒ ตัดผมเมือ่ ถึงเวลา เหมาะสม ๓ ดแู ลความเรยบรอ้ ย ของเล็บ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

~ ๖๘ ~อายุ ขอ้ ท่ี พฤตกิ รรมที่คาดหวงั ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ๔ ดูแลความเรยบรอ้ ยของ หนวด ๕ โกนหนวด/โกนเคราเม่อื ถงึ เวลาเหมาะสม ๖ ดูแลความเรยบรอ้ ยของ ขนรักแร้๑.๖.๔ การใช้เครอื่ งสาอางสาหรับดแู ลความสะอาด ๖ ปีขน้ึ ไป ๑ ใช้โฟมลา้ งหนา้ ๒ ใชส้ บ่ถู ตู ัว ๓ ใชแ้ ชมพู ๔ ใชค้ รมนวดผม ๕ ใช้สารสม้ ลูกกลง้ิ หรือ สเปรย์ระงับกลิ่นกาย ๖ ใชค้ รมทาผวิ๑.๖.๕ การใชอ้ ปุ กรณ์ในการดูแลความสะอาดเรยี บรอ้ ย ๖ ปีขน้ึ ไป ๑ ใชห้ วแปรงผม ๒ ใช้มดโกนแบบธรรมดา โกนหนวด/โกนเครา ๓ ใชเ้ ครอื่ งโกนหนวดไฟฟ้า โกนหนวด/โกนเครา ๔ ใช้กรรไกรตดั เลบ็ ๕ ทาความสะอาด แปรงสฟัน ๖ เปา่ ผมให้แห้งดว้ ยไดรเ์ ปา่ ผมไฟฟ้า๒. ทกั ษะการเขา้ สังคมการทากจิ กรรมนนั ทนาการและการทางานอดิเรก(กิจกรรมยามว่าง)ทักษะยอ่ ย ๒.๑ มารยาทในการรบั ประทานอาหารรว่ มกนั๒.๑.๑ นง่ั ตาแหนง่ ท่ีเหมาะสม ๒ ปขี น้ึ ไป ๑ นง่ั บนพื้น ๒ นั่งบนเกา้ อ้ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

~ ๖๙ ~อายุ ขอ้ ที่ พฤตกิ รรมทีค่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ๒.๑.๒ เลือกใชอ้ ุปกรณ์ส่วนบคุ คลและส่วนกลาง ๑ ปขี นึ้ ไป ๑ บอกชอื่ วตั ถุท่ใช้ในการ รับประทานอาหาร ๒ ปีขนึ้ ไป ๒ รับประทานอาหารด้วยมือ ๓ ช้อนและส้อม ๔ รับประทานอาหารด้วย ช้อน ๕ แกะตะเกยบออกจากซอง / ฉกซองตะเกยบ ๖ แกะหลอดดูดออกจากซอง ๔ ปีขึ้นไป ๗ รับประทานอาหารด้วย ชอ้ นและส้อม ๘ ใชผ้ ้าเชด็ ปาก / ใช้ กระดาษเช็ดปาก ๙ กดน้าใสแ่ กว้ ๑๐ เทของเหลวลงในถ้วย / แกว้ ๕ ปีขน้ึ ไป ๑๑ ชอ้ นกลาง ๖ ปขี น้ึ ไป ๑๒ เกลย่ ด้วยมด ๑๓ ตดั อาหารดว้ ยมด๒.๑.๓ การดื่มน้าและการเคย้ี วอาหาร (เสียงดัง เลอะเทอะ มมู มาม) ๑ ปีขึน้ ไป ๑ ดมื่ นา้ จากแกว้ ๒ รับประทานอาหาร ประเภทนา้ ๓ รับประทานอาหาร ประเภทกรุบกรอบ ๔ รับประทานอาหาร ประเภทเส้น ๕ รับประทานอาหารได้ เรยบร้อย ไม่มูมมาม ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

~ ๗๐ ~ อายุ ข้อที่ พฤติกรรมท่ีคาดหวัง ระ ัดบ ข้อสงั เกต ความสามารถ๒.๑.๔ การแบง่ ปนั ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง ๓ ปีข้นึ ไป ๑ ตักอาหารจากถว้ ยกลาง ๒ บรกิ ารน้าใหเ้ พอ่ื นรว่ ม โต๊ะ/รว่ มวง ๓ บริการอาหารใหเ้ พื่อนรว่ ม โต๊ะ/ รว่ มวง ๔ ปขี ึ้นไป ๔ รนิ น้า จากขวดน้า กาน้า และเหยือก ๕ ส่งจานอาหารให้แก่บคุ คล อน่ื ๖ ยกอาหารเพือ่ เสริ ์ฟแก่ บคุ คลอ่ืน๒.๑.๕ เลอื กรบั ประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ๔ ปขี น้ึ ไป ๑ บอกชือ่ อาหาร ๒ บอกส่วนประกอบหลัก ของอาหาร ๓ รบั ประทานอาหารตาม หลกั โภชนาการ๒.๑.๖ เดนิ ตามแถวท่กี าหนดในโรงอาหาร๔ ปขี ึน้ ไป ๑ เดินไปล้างมือท่อา่ งลา้ งมอื ๒ เดนิ ไปหยบิ แก้วนา้ ๓ เดินไปกดน้า ๔ เดินเข้าแถวไปซื้ออาหาร ๕ เดินไปเทเศษอาหาร ๖ เดนิ ไปลา้ งจานท่อ่างล้าง จานและเก็บจานทักษะย่อย ๒.๒ การใชเ้ วลาวา่ งที่บา้ น ๔ ปีขึ้นไป ๑ เลอื กกจิ กรรมท่ชอบ ๒ ทากิจกรรมจนเสร็จ ๓ จัดเก็บเมื่อเสรจ็ กิจกรรม

~ ๗๑ ~อายุ ขอ้ ที่ พฤติกรรมที่คาดหวงั ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ๔ เปลย่ นกิจกรรมไปทาอย่าง อืน่ ๕ ปฏิบตั ิตามกฎของบา้ น๓. ทักษะการเคลอ่ื นย้ายตนเองในบา้ นทกั ษะย่อย ๓.๑ การเคลือ่ นย้ายตนเองในบ้าน๓.๑.๑. การเคลือ่ นย้ายตนเองจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ีหน่ึง (ใชห้ รือไมใ่ ช้อุปกรณช์ ่วย, คนช่วย, ทาเอง)๔ ปีขน้ึ ไป ๑ ไปหนา้ บ้าน ๒ ไปหลงั บา้ น ๓ ไปขา้ งบ้าน ๔ ไปท่อ่นื ๆ ในบรเิ วณบา้ น๓.๑.๒ รู้จกั สถานทีต่ ่างๆภายในบ้าน๔ ปีขึ้นไป ๑ ห้องน่งั เล่น ๒ หอ้ งน้า ๓ หอ้ งครวั ๔ หอ้ งนอน ๕ ห้องอ่ืนๆ๓.๑.๓ ร้จู ักการใช้ประโยชน์จากสถานท่ีหรืออปุ กรณ์ (ใช้หรือไม่ใช้อุปกรณช์ ่วย)๔ ปขี ้นึ ไป ๑ หอ้ งนั่งเลน่ ๒ ห้องน้า ๓ ห้องครวั ๔ หอ้ งนอน ๕ การใชป้ ระโยชน์ หรือ การใช้อุปกรณห์ อ้ งอืน่ ๆ๔. การดูแลสุขภาพและความปลอดภยั ในชวี ติ ประจาวันทักษะย่อย ๔.๑ การดูแลและการปอ้ งกันสขุ ภาพ๔.๑.๑ การดแู ลตนเองเมอ่ื เป็นไข้๔ ปีขน้ึ ไป ๑ พกั ผ่อน ๒ ดื่มนา้ เพ่ือบรรเทาอาการตัวร้อน ๓ เชด็ ตวั เมอ่ื มไข้ ๔ ทานยาลดไข้ ๕ วดั ไข้ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง

~ ๗๒ ~อายุ ข้อที่ พฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถ ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง๔.๑.๒ การดูแลตนเองเม่ือเป็นหวดั๔ ปีขน้ึ ไป ๑ สรา้ งความอบอุ่นให้รา่ งกาย๒ ปดิ ปากเม่ือไอ, จาม๓ กาจัดนา้ มูก, เสมหะ๔ รบั ประทานยาลดนา้ มกู ,แก้ไอ๔.๑.๓ การดแู ลตนเองเม่ือปวดท้อง ท้องเสีย๔ ปีข้ึนไป ๑ ดืม่ นา้ เกลือแร่๒ รบั ประทานอาหารอ่อน๓ รับประทานยาฆ่าเชือ้๔.๑.๔ การดูแลตนเองเมอื่ เป็นแผล๔ ปีขึ้นไป ๑ ทาความสะอาดแผลเบ้อื งต้น๒ ทาความสะอาดแผลดว้ ยน้ายาฆา่ เช้อื๓ ไปพบแพทย์๔ ป้องกันความสกปรก, เปียก๔.๑.๕ ปฏบิ ัติตนไดเ้ หมาะสมกบั สภาพภูมิอากาศ๔ ปีขน้ึ ไป ๑ ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับสภาพภมู ิอากาศร้อน เช่น ไม่เดินหรือเล่นกลางแดดนานๆใส่หมวกก่อนออกแดด ถอดหมวกเม่ือเข้าในอาคาร เปน็ ต้น๒ ปฏิบัตติ นไดเ้ หมาะสมกับสภาพภูมิอากาศฝนตก เชน่สวมเสือ้ กนั ฝน กางรม่ เมอ่ืออกไปดา้ นนอก ไม่เดินหรอื วงิ่กลางฝน เปน็ ตน้๓ ปฏิบัติตนไดเ้ หมาะสมกับสภาพภูมอิ ากาศหนาว เช่นสวมเสื้อกันหนาว หมวกผา้ พันคอ ถงุ มือ ถุงเทา้เมอ่ื ร้สู กึ หนาว เป็นต้น

~ ๗๓ ~ อายุ ข้อที่ พฤติกรรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สงั เกต ความสามารถ๔.๑.๖ หลีกเลีย่ งอันตรายหรือส่ิงที่จะทาให้บาดเจบ็๔ ปขี น้ึ ไป ๑ อนั ตรายจาก เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ๒ อนั ตรายจากการใช้ อปุ กรณ์ทางานบ้าน เชน่ กรรไกร มด เขม็ เปน็ ตน้ ๓ อันตรายจากการใช้ถนน ๔ อนั ตรายจากสง่ิ อ่นืทักษะยอ่ ย ๔.๒ การปฐมพยาบาล๔.๒.๑ ทาความสะอาดแผล๔ ปีขน้ึ ไป ๑ แผลไฟไหม้/นา้ ร้อนลวก ๒ แผลถลอก ๓ แผลอ่นื ๆ๔.๒.๒ ปดิ แผล๔ ปีขึ้นไป ๑ ใชพ้ ลาสเตอรป์ ดิ แผล ๒ ใชผ้ า้ พนั แผล๔.๒.๓ การเชด็ ตัวลดไข้๔ ปขี ึ้นไป ๑ เชด็ ดว้ ยผ้าชุบนา้ ๒ ใชแ้ ผน่ Cold packพฤติกรรมท่ีคาดหวงั ๔.๒.๔ กินยา๔ ปขี น้ึ ไป ๑ กนิ ยาตามเวลา ๒ กินยาตามประเภท ของยา (น้า,เม็ด,ผง)ทักษะย่อย ๔.๓ การแพ้อาหารหรือแพย้ า๔.๓.๑ บอกอาการ๔ ปขี ้นึ ไป ๑ ปวดหวั ๒ ปวดท้อง ๓ คลื่นไส้ ๔ ท้องเสย ๕ อาการอืน่ ๆ ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง

~ ๗๔ ~ อายุ ข้อท่ี พฤตกิ รรมท่คี าดหวัง ระ ัดบ ข้อสังเกต ความสามารถทกั ษะย่อย ๔.๓ การแพ้อาหารหรือแพย้ า ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง๔.๓.๑ บอกอาการ๔ ปีข้นึ ไป ๑ ปวดหวั ๒ ปวดทอ้ ง ๓ คลื่นไส้ ๔ ทอ้ งเสย ๕ อาการอน่ื ๆ๔.๓.๒ บอกสาเหตุ๔ ปขี ้นึ ไป ๑ สาเหตจุ ากการรบั ประทาน อาหาร ๒ สาเหตุจากอุบัตเิ หตุ ๓ สาเหตจุ ากสภาพอากาศ ๔ สาเหตุอืน่๔.๓.๓ หลีกเลยี่ งสาเหตุทแ่ี พ้๔ ปีขึ้นไป ๑ หลกเลย่ งการรบั ประทาน อาหารท่แพ้ ๒ หลกเล่ยงการรับประทาน ยาทแ่ พ้ ๓ หลกเลย่ งการใช้ เครือ่ งสาอางท่แพ้ ๔ อ่นื ๆ๕. การทางานบา้ นทักษะย่อย ๕.๑ การดแู ลเสอ้ื ผ้า๕.๑.๑ การจัดเกบ็ (แขวน พับ)๔ ปีขนึ้ ไป ๑ รู้จกั อปุ กรณ์ ๒ วธิ ใชอ้ ุปกรณ์ ๓ ข้ันตอนการจัดเก็บ ๔ การพบั เส้ือยดื คอกลม / เส้อื คอโปโล แขนสั้น ๕ การพบั เสื้อยดื คอกลม / เส้ือคอโปโล แขนยาว

~ ๗๕ ~อายุ ขอ้ ท่ี พฤตกิ รรมท่ีคาดหวงั ระ ัดบ ข้อสงั เกต ความสามารถ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ๖ พบั เสือ้ แบบมกระดุมผ่า หน้า แขนยาว ๗ พบั กางเกงขาสน้ั ๘ พับกางเกงขายาว ๙ พับชดุ ช้นั ใน ๑๐ พับถงุ เทา้ ๑๑ ใชไ้ มแ้ ขวน ๑๒ แขวนเสอ้ื ๑๓ แขวนกางเกง ๑๔ จัดเสือ้ ผา้ ใสใ่ นล้นิ ชกั ๑๕ เก็บรองเท้า๕.๑.๒ การซัก๔ ปขี ้ึนไป ๑ รู้จกั อุปกรณ์ ๒ วิธใช้อุปกรณ์ ๓ ข้นั ตอน การซัก๔ ปีขึ้นไป ๔ นาเสอื้ ผ้าท่ใส่แลว้ ลงใน ตะกร้า ๕ แยกสเส้ือผ้าทจ่ ะซัก ๖ ซักผา้ ดว้ ยมอื ๗ ต้งั โปรแกรม เครอ่ื งซักผ้า ๘ ใชเ้ ครือ่ งซักผ้า ๙ ใช้เครื่องอบผา้ ๑๐ ทาความสะอาดรองเท้า (การดแู ลรองเทา้ )๕.๑.๓ การรดี๔ ปีข้ึนไป ๑ รูจ้ กั อุปกรณ์ วธิ ใชอ้ ุปกรณ์ ๒ ขนั้ ตอน การรด ๓ รดเสอ้ื ผา้ ๔ รดเครอ่ื งนอน ๕ รดผ้าอืน่ ๆ ๖

~ ๗๖ ~อายุ ขอ้ ที่ พฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง ระ ัดบ ขอ้ สังเกต ความสามารถทักษะยอ่ ย ๕.๒ การเตรยี มอาหารและเคร่อื งดมื่๕.๒.๑ การเตรยี มเครอ่ื งด่มื๔ ปขี ึ้นไป ๑ น้าด่ืม ๒ เปดิ กระป๋องเคร่ืองดื่ม ๓ ชงเครือ่ งดื่มสาเรจ็ รปู ชนิด ผง ๔ เครื่องดื่มท่มการชง๕.๒.๒ การเตรียมอาหาร๔ ปีขน้ึ ไป ๑ เปดิ ถงุ ขนม หรอื อาหาร วา่ ง ๒ ล้างผกั หรืออาหาร ๓ เด็ดผกั หรืออาหาร ๔ หนั่ ผกั หรอื อาหาร ๕ เตรยมขา้ วโอ๊ตหรือซเรยล ลงในชาม ๖ ทาแซนวชิ๖ ปีขึ้นไป ๗ อบข้าวโพดในไมโครเวฟ ๘ ตม้ ๙ ทอด ๑๐ น่ึง ๑๑ ใช้เตาอบหรอื เตาย่าง ๑๒ ผัด ๑๓ แกง ๑๔ ปรงุ รสอาหารโดยใส่ เกลอื นา้ ปลา พริกไทยทกั ษะย่อย ๕.๓ การจดั และการทาความสะอาดโต๊ะอาหาร๕.๓.๑ การจดั กลุ่มของอาหารตามประเภทของอาหาร เช่น เนื้อ นม ขนมปัง ผัก ผลไม้ เป็นตน้๖ ปีข้นึ ไป ๑ เนื้อ ๒ นม ๓ ขนมปัง ๔ ผัก ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook