Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบรายงาน Best Practice งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอภาชี

แบบรายงาน Best Practice งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอภาชี

Published by กศน.อำเภอภาชี, 2021-09-09 04:11:57

Description: แบบรายงาน Best Practice งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอภาชี

Keywords: Best Practice

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เอกสารผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน ที่ประสบผลสำเร็จด้านงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอภาชี ตามยุทธศาสตร์การพัฒนา นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้น การดำเนินงานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภาชี ตลอดจนบริบทและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลต่อไป เอกสารผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) เล่มนี้ ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ/กิจกรรม (2) ความสอดคล้องกับนโยบาย (3) ความเป็นมาของโครงการ/กิจกรรม (4) ขั้นตอนการดำเนินงาน (5) ความสำเร็จที่เป็นจุดเด่นของโครงการ/หรือกิจกรรมนี้ (6) รางวัลแห่งความสำเร็จของโครงการ/ กิจกรรม (7) ข้อคิดควรคำนึงในการนำไปขยายผลหรือนำโครงการนี้ไปทำ (8) ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิง (9) ผู้เขียน/บรรณาธิการกจิ เอกสารผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) งานการศึกษาขั้นพื้นฐานของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอภาชี ประสบความสำเร็จไดด้ ว้ ยดี เนอื่ งจากไดร้ ับการสนับสนุน จาก นางสาวมกุ ดา แข็งแรง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตลอดจนคณะครู บุคลากรทางศึกษา และนักศึกษาทุกคนของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ให้ข้อมูลส่งเสริม และสนับสนนุ ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเปน็ อย่างดี หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ สำหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย ขอขอบพระคุณทกุ ท่านมา ณ ที่นดี้ ว้ ย นางสาวฐิตริ ตั น์ ร่งุ ฤทธ์ิ นกั จัดการงานทว่ั ไป ผจู้ ัดทำ

สารบัญ ข เรอื่ ง หน้า คำนำ สารบัญ ก (1) ชื่อโครงการ/กิจกรรม ข (2) ความสอดคลอ้ งกบั นโยบาย 1 (3) ความเปน็ มาของโครงการ/กจิ กรรม 1 (4) ข้นั ตอนการดำเนินงาน 1 (5) ความสำเรจ็ ท่เี ปน็ จุดเดน่ ของโครงการ/หรือกจิ กรรมน้ี 3 (6) รางวัลแหง่ ความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม 4 (7) ขอ้ คิดควรคำนงึ ในการนำไปขยายผลหรอื นำโครงการนไ้ี ปทำ 6 (8) ขอ้ มูล/หลักฐานอา้ งองิ 6 (9) ผเู้ ขยี น/บรรณาธกิ ารกจิ 6 10

๑ แบบรายงาน Best Practice ๑. ช่ือโครงการ/กิจกรรม การใช้การศึกษาออนไลน์ในการแกไ้ ขปัญหาการพบกลมุ่ ของนักศกึ ษา กศน.อำเภอภาชี ๒. ความสอดคล้องกบั นโยบาย สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้น ปี 2561 ของสำนกั งาน กศน. : ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 1) สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบต้งั แต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โดยดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ท่มี คี ุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาดและขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัด และประเมินผลการเรียน ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล ๓. ความเป็นมาของโครงการ/กจิ กรรม ตามประกาศของกระทาวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของ กระทรวงศึกษาธิการปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษ เนื่องจากการแพร่ระบาดรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในหลายพื้นที่ในประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการตระหนกั ถึงความปลอดภัยในชีวิต ของนักเรียน นักศึกษา ที่จะได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดดังกล่าว อีกทั้งเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง และลดโอกาสการแพร่ระบาดใหม่ของโรค COVID-19 จึงให้สถานศึกษาทุกแห่งทั้งของรัฐและเอกชน ทั้งในระบบและนอกระบบ ซึ่งอยู่ในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ ในควบคุมสูงสุด และเขม้ งวดตามทศ่ี นู ยบ์ ริหารสถานการณโ์ ควิด 19 (ศบค.) กำหนดใน 29 จงั หวดั ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา กาญจนบุรี ตาก นครนายก นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี เพชรบุรี เพชรบูรณ์ ระยอง ราชบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี และอ่างทอง ให้ส่วนราชการต้นสังกัด กำหนดแนวทางจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง ที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดไว้ เช่น การสื่อสารแบบทางไกล หรือด้วยวธิ อี ิเล็กทรอนิกส์ หากไม่สามารถ จัดการเรียนการสอนโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ สถานศึกษาอาจจัดการเรียนการสอนโดยใบสั่งงาน หรือมอบงานตามความเหมาะสม โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน ดังนั้นเพื่อลดโอกาสการแพร่ระบาดใหม่ ของโรค COVID-19 จึงมีมาตรการที่ทางรัฐบาลได้แก่ การยึดหลัก Social distancing หรือการเว้น ระยะหา่ งทางสงั คม ผลเสยี ของการรวมพลวา่ เสี่ยงตอ่ การติดเช้ือและก่อผลกระทบทำให้เกดิ การแพร่ระบาด

๒ แผ่ขยายในวงกวา้ งท้ังประเทศ เพราะการติดเชือ้ น้นั เริม่ จากการกระจายไปท่ีคนรอบข้าง ท้งั เพอ่ื น เพ่ือน ร่วมงาน ญาตพิ นี่ อ้ ง คนในครอบครวั และผ้อู ื่น เพราะผตู้ ิดเช้ือบางรายไมแ่ สดงอาการ ทำให้เดินทางไปยัง สถานที่ตา่ งๆ ทำให้คนอ่ืนมีโอกาสสมั ผัส และไดร้ บั โรคจากผู้ติดเชื้อโดยไม่ร้ตู ัว ในอีกมุมหนึ่งกลับเป็นตัวแปรในการสรา้ งการเปลี่ยนแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตวั ขบั เคลือ่ น ในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย ดังนั้นหากทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยช่วยกัน ทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง ก็จะสามารถขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลางสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างแน่นอนระบบการศึกษาที่ดคี วรมีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ทันสถานการณ์และบริบทแวดล้อม ที่ไม่ใช่แค่ในประเทศแต่เป็นของโลก ซึ่งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผลกระทบให้นักเรียน นักศึกษา และครูผู้สอนต้องปรับตัวเข้าสู่การเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ เพื่อให้หลักสูตรยังคงดำเนินต่อไปได้อย่างไม่ขาดตอนการบริหารจัดการต่อการเรียนการสอน สามาร ถเข้าถึง ของ น ักน ักศึกษาทุกคน ไ ด้อย่าง มีปร ะ สิทธิภาพ แล ะ ให้คร ูผู้สอน ปร ะ สบความสำเร็ จ ในการจัดการเรียนรู้โดยมีการหารือและวางแผนร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง นักศึกษา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สิ่งสำคัญ ที่ครูผู้สอนควรปลูกฝังนักศึกษาคือทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นเพื่อรับมือ กับโลกอันพลกิ ผัน การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนการสอนที่กระตุน้ การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเป็นสิ่งสำคั ญในการยกระดับผลสัม ฤทธ์ิ ทางการศึกษา ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรยี น ครูผู้สอนจึงใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ที่สามารถบูรณาการการใช้เทคโนโลยี มาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งเหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภาชี จึงได้เล็งเหน็ ความสำคัญ การจัดการเรียนสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงไดม้ กี ารใช้วธิ กี ารจัดการศึกษาออนไลน์มาจัดเป็นรูปแบบการเรียนการสอนเพอื่ แก้ไขปัญหาการพบกลุ่ม ของนักศกึ ษา โดยประโยชนจ์ ากการจดั การศึกษาออนไลน์ ได้แก่ 1) เพอื่ แกป้ ัญหาการจัดการเรียนสอนใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2) เพื่อให้นักศึกษา ของกศน.อำเภอภาชี ได้เรยี นรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง

๓ ๔. ข้นั ตอนการดำเนินงาน 4.1 กำหนดกลมุ่ เป้าหมาย - นักศกึ ษา กศน.อำเภอภาชี อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4.2 การดำเนนิ การจัดกิจกรรม 4.2.1 ขั้นตอนการวางแผน 1) การติดตามสอบถามนักศึกษา เพื่อนของนกั ศกึ ษา ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2) นำข้อมูลที่ได้จากการติดตามผู้เรียนมาหาแนวทางในการจัดกิจกรรมที่เอื้อต่อการ เรียนรขู้ องผเู้ รยี นดงั น้ี 2.1) การตัง้ กลมุ่ line นักศึกษา ของแต่ละกศน.ตำบล 2.2) การต้ังกลุ่มใน Facebook 2.3) การใช้บทเรียนออนไลน์ที่ทางสำนักงาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดจ้ ดั ทำข้ึนเพ่อื เปน็ แนวทางในการที่ครูผู้สอนสามารถนำมาใช้ประกอบการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ ออนไลน์ 2.4) การใชแ้ บบทดสอบออนไลน์ (Google form) 2.5) การขยายเวลาในการตดิ ตามงาน หรอื กจิ กรรมตา่ งๆ 4.2.2 ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 1) ครูผู้สอนมีการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาการพบกลุ่ม ของนักศึกษา 2) ครูผู้สอนทำการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ และวิธีการแก้ไขปัญหาให้กับนักศึกษา เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษารับทราบถึงแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาและทำขอ้ ตกลงร่วมกันในการทำกิจกรรม 3) ครูผู้สอนมีการจัดตั้งกลุ่มทั้งใน Line , Facebook แต่ละกศน.ตำบล เพื่อใช้ เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร การมอบหมายงาน ในการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษากลุ่มที่ไม่สามารถ มาพบกลุ่มได้ในแต่ละครั้ง และเปน็ การทบทวนใหก้ บั ผ้ทู มี่ าพบกล่มุ ดว้ ย 4) มีการวัดผลประเมินผลผู้เรียนโดยใช้แบบฝึกหัด และแบบทดสอบออนไลน์ (Google form) มาชว่ ยในการแก้ไขปญั หาในเรอื่ งการวดั ผลประเมินผลผเู้ รียน 5) มีการเผยแพร่การจัดกิจกรรมการพบกลุ่มโดยการใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ไข ปัญหาการพบกลุม่ ของนักศกึ ษา ทางเว็บเพจของต่ละกศน.ตำบล

๔ 4.2.3 ขั้นตอนการตรวจสอบและประเมินผล จากการใช้การศึกษาออนไลน์มาจัดเป็นรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา การพบกลมุ่ ของนกั ศึกษาของแต่ละกศน.ตำบล พบว่า นกั ศกึ ษาสามารถเรยี นรู้ ติดตามงาน กิจกรรมต่างๆ ได้อย่างต่อเน่อื ง 4.2.4 ขนั้ ตอนการปรบั ปรงุ และพฒั นาผลการปฏบิ ัติ นำข้อเสนอแนะจากนักศึกษาในเรื่องของการใช้การศึกษาออนไลน์มาจัดเป็นรูปแบบ การเรียนการสอนเพือ่ แก้ไขปัญหาการพบกลุ่มอย่างตอ่ เน่ือง และจากการแนะนำของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูมาดำเนินการปรับปรุงแก้ไขวิธีการจัดการเรียนรู้โดยการใช้การศึกษาออนไลน์ ใหม้ ีความสมบูรณ์ เพ่อื นำไปใชใ้ นการพฒั นาผ้เู รยี นกลมุ่ อ่นื ๆ ท่มี สี ภาพปัญหาเหมือนกนั ต่อไป 4.2.5 เผยแพรผ่ ลงานแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Practice) โดยการนำเสนอผลงาน ปัญหาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพ่ือใช้ เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้งตอ่ ไป รวมท้ังนำเสนอผลงานในรปู แบบต่างๆ เช่น นำเสนอข้อมูล ในการจัดกจิ กรรม นำเสนอผ่าน เวบ็ เพจของแตล่ ะกศน.ตำบล ๕. ความสำเรจ็ ท่เี ปน็ จดุ เด่นของโครงการ/หรือกิจกรรมน้ี การใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษา กศน.อำเภอภาชี พบว่า ปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษากศน. อำเภอภาชี ได้รับการแก้ไข และนักศึกษากศน. อำเภอภาชี ได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยสมาร์ทโฟน ซึ่งจะอำนวยความสะดวกแก่ นักศึกษาทุกคน จะทำให้สะดวกและประหยัดเวลามากยิ่งขึ้น และสามารถเรียนรู้ ติดตามงาน กิจกรรมต่างๆ ได้ อยา่ งต่อเนื่อง การดำเนินงาน การใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษา กศน.อำเภอภาชี ตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) สามารถแสดงได้ ดังผังงานแนวปฏิบัติที่ดีด้านการใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษา กศน.อำเภอภาชี อำเภอภาชี จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ดังน้ี

๕ ผงั งานแนวปฏบิ ัติทดี่ ีด้านการใชก้ ารศึกษาออนไลนใ์ นการแก้ปัญหาการพบกล่มุ ของนกั ศกึ ษากศน.อำเภอภาชี อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 1. ศกึ ษาสภาพปัญหา และความตอ้ งการของผู้เรียน 2. วิเคราะห์งานตามบทบาทหนา้ ที่ และภารกิจ P 3. วิเคราะหค์ วาม ไมส่ อดคลอ้ ง สอดคล้องท่ี เก่ยี วข้อง 4. นำขอ้ มูลจากการวิเคราะห์มาวางแผนการแก้ปญั หาผูเ้ รยี น D 5. จดั กิจกรรมท่ีเอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น ไดแ้ ก่ การตั้งกลมุ่ Line ตั้งกลุ่ม ใน Facebook การใชแ้ บบทดสอบออนไลน์ (Google form) 8. ประเมนิ ผลจากการติดตามงาน จากกลมุ่ Line C 9. ประเมินผลจากผลงานที่นักศกึ ษาได้จดั ทำสง่ ผลงานเพ่ือเสนอตอ่ ครูผูส้ อน 10. ประเมินผลจากจำนวนนักศกึ ษาท่ีเขา้ สอบปลายภาคเรียน 11. เผยแพรผ่ ลงาน ปญั หา อปุ สรรค ต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา A 12. นำข้อเสนอแนะของผเู้ รยี น มาปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือวางแผนการปรบั ปรุง ใหส้ มบรู ณ์ เออื้ ต่อการเรียนรู้ เพือ่ นำไปใชพ้ ัฒนาผเู้ รยี นกลมุ่ อนื่ ๆ ท่มี สี ภาพปัญหาเหมือนกนั ต่อไป

๖ ๖. รางวลั แหง่ ความสำเร็จของโครงการ/กจิ กรรม 6.1 การสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนในการร่วมกันแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน เป็นการกระตุ้น ให้ความร่วมมอื ในการเรียนรู้ตามข้นั ตอนกระบวนการจัดกจิ กรรม ทำให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง 6.2 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เทคนิควิธีการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ดว้ ยความมุ่งม่นั ตั้งใจของครผู ู้สอน 6.3 การใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษากศน.อำเภอภาชี ดำเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ซ่ึงเป็นการดำเนินการ อย่างเป็นระบบสามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน โดยเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์สภาพปัญหา และความตอ้ งการผู้เรียน จงึ ทำให้สามารถพฒั นาผเู้ รียนไดบ้ รรลุตามตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ของโครงการ ๗. ขอ้ คิดควรคำนงึ ในการนำไปขยายผลหรือนำโครงการนไี้ ปทำ การใช้การศึกษาออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการพบกลุ่มของนักศึกษา กศน.อำเภอภาชี จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนของ กศน.มากขึ้น เป็นการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง เป็นการจัดการศึกษาที่มีความยึดหยุ่นสูง จากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา กศน.อำเภอภาชี ในจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ผลการประเมินความพงึ พอใจจากการสัมภาษณ์นกั ศึกษา อยู่ในระดับดีมาก ทั้งนี้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ครูผู้สอนนั้นควรมีการวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บรรลุ ตามจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ตามหลักสูตร และต้องคอยให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำกับผู้เรียนอยู่เสมอ เมือ่ ผเู้ รยี นเกดิ ปญั หาในการเรียนออนไลน์หรือเกิดปญั หาระหวา่ งเรยี น ๘. ขอ้ มูล/หลกั ฐานอ้างอิง การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564







๑๐ ๙. ผเู้ ขยี น/บรรณาธิการกจิ นางสาวฐิติรัตน์ รุง่ ฤทธ์ิ นกั จัดการงานท่วั ไป