Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BCP โรงเรียนบ้านหมากหัววัง

BCP โรงเรียนบ้านหมากหัววัง

Published by yaowaluck590, 2022-04-19 06:22:11

Description: BCP โรงเรียนบ้านหมากหัววัง

Keywords: BCP โรงเรียนบ้านหมากหัววัง

Search

Read the Text Version

แผนดำเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เน่อื ง สำหรบั การบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวกิ ฤต (Business Continuity Plan : BCP) โรงเรียนบา้ นหมากหวั วัง สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

คำนำ แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP) โรงเรียน บ้านหมากหัววัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 จัดทำขึ้นเพื่อให้โรงเรียน บ้านหมากหัววัง เตรียมความพร้อม และสามารถนำไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อ สถานศกึ ษา โดยไมใ่ ห้สภาวะวิกฤตหรือเหตกุ ารณ์ฉุกเฉินดงั กลา่ วส่งผลให้หน่วยงานต้องหยดุ การดำเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง การที่หน่วยงานไม่มีกระบวนการรองรับให้การดำเนินงานเปน็ ไป อย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น ดังนั้น การจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่าง ต่อเนื่องฯจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้หน่วยงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และทำให้ กระบวนการที่สำคัญ (Critical Business Process) กลับมาดำเนินงานได้อย่างปกติในระดับการให้บริการ ที่กำหนดไว้ รวมทั้ง ลดระดับความรนุ แรงของผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ ต่อหน่วยงานได้ โรงเรียนบา้ นหมากหัววงั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 สิงหาคม 2563

แผนดำเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเน่ืองสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP) ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ จัดทำขึ้น เพื่อให้ “โรงเรียนบ้านหมากหัววัง” เตรียมความพร้อมสถานศึกษา และ สามารถนำไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัย ธรรมชาติ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อสถานศึกษา โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉุกเฉนิ ดงั กลา่ วสง่ ผลให้หน่วยงานตอ้ งหยุดการดำเนินงาน หรอื ไมส่ ามารถใหบ้ ริการได้อย่างตอ่ เน่ือง การที่หน่วยงานไม่มีกระบวนการรองรับให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อ หน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน เป็นต้น ดังนั้น การจัดทำแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้โรงเรียน บ้านดอนไชย สามารถรบั มอื กบั เหตุการณท์ ี่ไมค่ าดคิด และทำใหก้ ระบวนการทส่ี ำคญั (Critical Business Process) กลับมาดำเนินงานได้อย่างปกติในระดับการให้บริการที่กำหนดไว้ รวมทั้ง ลดระดับความรุนแรงของผลกระทบท่ี เกิดขน้ึ ต่อหนว่ ยงานได้ 1. วัตถปุ ระสงค์ (Objectives) ของการจัดทำแผนดำเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนือ่ งฯ 1.1 เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารความตอ่ เนื่อง 1.2 เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤต และลดผลกระทบจากการ หยุดชะงักในการดำเนนิ งานหรอื การให้บรกิ าร 1.3 เพอื่ บรรเทาความเสยี หายให้อยู่ระดับทย่ี อมรบั ได้ 1.4 เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าที่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของ หน่วยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตกุ ารณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทำให้การดำเนินงานตอ้ ง หยดุ ชะงัก 2. สมมตฐิ านของแผนดำเนินธรุ กิจอยา่ งตอ่ เน่ืองฯ (BCP Assumptions) เอกสารฉบับน้จี ดั ทำขึ้นภายใตส้ มมติฐาน ดังต่อไปนี้ 2.1 เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขนึ้ ในชว่ งเวลาสำคญั ตา่ ง ๆ แตม่ ไิ ดส้ ง่ ผลกระทบต่อสถานทป่ี ฏิบัติงานสำรองท่ี ไดม้ ีการจัดเตรียมไว้ 2.2 หนว่ ยงานเทคโนโลยสี ารสนเทศรับผิดชอบในการสำรองระบบสารสนเทศต่าง ๆ โดยระบบสารสนเทศ สำรองมิได้รับผลกระทบจากเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉนิ เหมอื นกับระบบสารสนเทศหลกั 2.3 “บคุ ลากร” ท่ถี ูกระบุในเอกสารฉบับน้ี หมายถึง เจ้าหน้าทแ่ี ละพนกั งานทงั้ หมดของหน่วยงาน 3. ขอบเขตของแผนดำเนินธุรกจิ อยา่ งต่อเน่อื งฯ (Scope of BCP) แผนดำเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งต่อเน่ืองฯ (BCP) ฉบับนี้ ใช้รองรบั สถานการณ์ กรณเี กิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉกุ เฉนิ ในพืน้ ทส่ี ำนกั งานของหน่วยงาน หรอื ภายในหน่วยงาน ดว้ ยเหตุการณ์ต่อไปนี้ 3.1 เหตุการณอ์ ทุ กภัย 3.2 เหตกุ ารณ์อคั คีภัย 3.3 เหตุการณช์ ุมนมุ ประทว้ ง/จลาจล

3.4 เหตกุ ารณโ์ รคระบาดต่อเนื่อง 4. การวิเคราะหท์ รพั ยากรท่สี ำคญั สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังน้ัน เพ่ือให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการ การดำเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สำคัญจึงเป็นสิ่งจำเป็น และต้องระบุไว้ในแผน ดำเนนิ ธุรกจิ อยา่ งตอ่ เน่ืองฯ ซ่งึ การเตรยี มการทรัพยากรทีส่ ำคญั จะพิจารณาจากผลกระทบใน 5 ด้าน ดงั นี้ 4.1 ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้สถานท่ี ปฏิบตั งิ านหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏบิ ัติงานหลักได้ และสง่ ผลใหบ้ ุคลากรไม่สามารถเข้า ไปปฏิบตั ิงานได้ชัว่ คราวหรือระยะยาว ซง่ึ รวมทั้งการทผี่ รู้ ับบริการไม่สามารถเข้าถึงสถานที่ให้บริการของหน่วยงาน ด้วย 4.2 ผลกระทบดา้ นวสั ดอุ ุปกรณท์ ีส่ ำคญั /การจดั หาจดั สง่ วัสดุอุปกรณ์ท่ีสำคญั หมายถงึ เหตกุ ารณ์ที่ เกิดขึ้นทำใหไ้ มส่ ามารถใช้งานวัสดุอปุ กรณ์ท่สี ำคัญ หรือไมส่ ามารถจดั หา/จดั สง่ วสั ดอุ ุปกรณท์ ่สี ำคญั ได้ 4.3 ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรอื ขอ้ มลู ที่สำคญั ไมส่ ามารถนำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้ตามปกติ 4.4 ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้บุคลากรหลักไม่สามารถมา ปฏิบตั ิงานได้ตามปกติ 4.5 ผลกระทบด้านค่คู า้ /ผใู้ หบ้ รกิ าร/ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียทส่ี ำคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนทำให้คู่ คา้ /ผใู้ ห้บริการ/ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ไมส่ ามารถติดตอ่ หรือให้บริการหรอื ส่งมอบงานได้ ตารางท่ี 1 สภาวะวกิ ฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ (ทำเครอื่ งหมาย ✓ ในด้านท่ไี ด้รบั ผลกระทบ) ผลกระทบ เหตุการณ์สภาวะวิกฤต ด้ าน อ าคาร/ ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านเทคโนโลยี ด ้ า น ค่คู ้า/ ส ถ า น ท่ี ที่สำคัญ และการ สารสนเทศและ บ ุ ค ล า ก ร ผใู้ ห้บริการ/ ปฏิบตั งิ านหลัก จดั หา/จดั ส่ง ข้อมลู ทีส่ ำคญั หลกั ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย 1 เหตุการณ์อุทกภยั ✓ ✓ ✓ ✓✓ 2 เหตกุ ารณ์อคั คีภยั ✓ ✓ ✓ ✓✓ 3 เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/ ✓ ✓ ✓ ✓✓ จลาจล 4 เหตุการณ์โรคระบาด ✓ ✓ ✓ ✓✓ ต่อเนื่อง

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการ ดำเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดำเนินงานและการให้บริการของ หนว่ ยงาน เนื่องจากหนว่ ยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแกไ้ ขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดย ผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บรหิ ารของแตล่ ะกลุ่มงานและฝา่ ยงานสามารถรับผิดชอบและดำเนนิ การได้ดว้ ยตนเอง 5. ทมี งานแผนดำเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเน่ืองฯ (Business Continuity Plan Team) ทีมงานแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ ประกอบด้วย คณะบริหารความต่อเนื่อง และทีมบริหารความ ตอ่ เน่อื ง โดยจะตอ้ งร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัตงิ าน และกู้คนื เหตุการณ์ฉกุ เฉินในฝา่ ยงานของตนเอง ให้สามารถ บริหารความตอ่ เน่ืองและกลบั สู่สภาวะปกติได้โดยเรว็ ตามบทบาทหน้าท่ีทก่ี ำหนดไว้ ดังนี้ 5.1 คณะบรหิ ารความต่อเนื่อง มหี น้าทใี่ นการประเมินลักษณะ ขอบเขต และแนวโน้มของอุบัติการณท์ ี่เกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจประกาศใชแ้ ผนดำเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเนื่องฯ และดำเนินการตามข้ันตอนและแนวทางการบริหารความ ตอ่ เนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรตามทไี่ ดก้ ำหนดไว้ในแผนดำเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเนื่องฯ 5.2 ทีมบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเนื่อง และ ดำเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรที่ได้กำหนดไว้ในแผน ดำเนนิ ธุรกจิ อยา่ งตอ่ เนือ่ งฯ ของฝ่ายงาน/ส่วนงานของตน 5.3 ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการติดต่อ และประสานงานภายในหน่วยงาน ให้ การสนับสนุนในการติดต่อสื่อสารกับฝ่ายงาน/ส่วนงาน ภายในหน่วยงาน และดำเนินการตามขั้นตอนและแนว ทางการบริหารความต่อเนือ่ ง โครงสรา้ งและทีมงานแผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง (BCP Team) ของโรงเรียนบ้านหมากหัววัง หัวหนา้ คณะบริหารความตอ่ เนือ่ ง นางเยาวลกั ษณ์ เกษรเกศรา ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านหมากหัววงั ผปู้ ระสานงาน คณะบรหิ ารความต่อเนอื่ ง นางละเอยี ด โรจนร์ ุง่ ทมี บรหิ ารความต่อเน่อื ง ทมี บริหารความต่อเนอื่ ง ทีมบริหารความตอ่ เน่ือง ทีมบริหารความตอ่ เนอื่ ง กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล กลุม่ บรหิ ารงานทัว่ ไป นายฤทธิรงค์ สภุ าสืบ นางละเอียด โรจนร์ งุ่ นายฤทธริ งค์ สภุ าสืบ นางนงนภัส ชืน่ ใจ

รูปภาพท่ี 1 โครงสร้างการพรอ้ มตอ่ สภาวะวิกฤตของโรงเรยี นบา้ นหมากหวั วัง แต่ละตำแหน่งมีหน้าที่มให้ความร่วมมือ ดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในกลุ่มงาน ของตนเอง เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารความต่อเนื่องและกลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว ตามรายชื่อบุคลากรและ บทบาทของทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ที่กำหนดให้เป็นบุคลากรหลัก ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่ สามารถปฏืบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสำรองรับผิดชอบบทบาทหน้าท่ีของบุคลากรหลักไปก่อน จนกว่าจะได้มีการ มอบหมายและแต่งตั้งขึ้นโดยหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง รายชื่อทีมแผนงาน ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ดังปรากฏในตารางท่ี 2 ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสำรองรับผดิ ชอบทำหน้าท่ใี น บทบาทของบคุ ลากรหลกั ตารางที่ 2 รายชือ่ บุคลากรและบทบาทของทมี งานแผนดำเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเนอ่ื งฯ (BCP Team) บุคลากรหลกั เบอร์ บทบาท บคุ ลากรสำรอง เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ โทรศัพท์ ชอ่ื หวั หนา้ คณะบริหารความ 0818827320 นางเยาวลกั ษณ์ เกษรเกศรา 0882600866 ต่อเนอื่ ง นางละเอยี ด โรจนร์ งุ่ 0882646432 นางละเอียด โรจนร์ ุง่ 0818827320 หวั หน้าทีมบริหารความ นางศุภัสญา อนิ ตะ๊ พันธ์ ต่อเน่อื งกลมุ่ งาน 0882646432 นายฤทธริ งค์ สุภาสืบ 0843699606 บริหารงานวิชาการ นางศภุ สั ญา อนิ ตะ๊ พันธ์ หวั หนา้ ทมี บรหิ ารความ 0818827320 นางเยาวลกั ษณ์ เกษรเกศรา 0882600866 ตอ่ เนื่องกลุม่ งานบริหาร นางละเอียด โรจนร์ ุง่ งบประมาณ 0811999283 นายฤทธริ งค์ สุภาสบื 0843699606 หัวหนา้ ทีมบริหารความ นายชัยมงคล ชปู ระพนั ธ์ ตอ่ เนื่องกลุ่มงาน บรหิ ารงานบุคคล หัวหนา้ ทมี บรหิ ารความ ตอ่ เนอ่ื งกลมุ่ งาน บรหิ ารงานทว่ั ไป

6. ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการใหบ้ รกิ าร การวเิ คราะหผ์ ลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรอื การให้บรกิ าร (Business Impact Analysis) โดยใช้ เกณฑ์ในการกำหนดระดับผลกระทบ ดังนี้ ระดับผลกระทบ หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาระดับของผลกระทบ สงู มาก 1. ส่งผลใหข้ ดี ความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการลดลง มากกว่าร้อยละ 50 2. สง่ ผลกระทบตอ่ ช่ือเสียงและความมั่นใจต่อประชาชน 3. เกดิ การสูญเสยี ชวี ติ และทรัพย์สินของประชาชน สูง 1. สง่ ผลใหข้ ดี ความสามารถในการดำเนนิ งานหรือใหบ้ รกิ ารลดลงรอ้ ยละ 25-50 2. ส่งผลกระทบต่อช่ือเสียงและความม่ันใจตอ่ ประชาชน 3. เกดิ การสญู เสยี ชวี ติ และทรัพย์สินของประชาชน ปานกลาง 1. สง่ ผลให้ขดี ความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บรกิ ารลดลงร้อยละ 10-25 2. ส่งผลกระทบต่อช่ือเสียงและความม่ันใจตอ่ ประชาชน ไมเ่ ป็นสาระสำคญั 1. สง่ ผลให้ขีดความสามารถในการดำเนนิ งานหรือให้บรกิ ารลดลงนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 หมายเหตุ : สามารถกำหนดระดับผลกระทบได้ตามความเหมาะสม เช่น สงู /ปานกลาง/ต่ำ หรือ สูงมาก/สูง/ปาน กลาง/ต่ำ/ไม่เปน็ สาระสำคญั เปน็ ตน้ เมื่อพิจารณาเกณฑร์ ะดับผลกระทบมาใช้ในการวิเคราะหง์ านตามภารกจิ ของโรงเรียนแลว้ พบว่า กระบวนการทำงานทห่ี น่วยงานต้องให้ความสำคัญและกลับมาดำเนนิ งานหรือฟื้นคนื สภาพใหไ้ ด้ภายในระยะเวลา ตามท่ีกำหนดปรากฎดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทำงานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis) ระดบั ผลกระทบ/ ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคนื สภาพ กระบวนการหลกั ความเร่งด่วน 4 ชัว่ โมง 1 วนั 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดอื น (สูง/ปานกลาง/ต่ำ) กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ ปานกลาง ✓ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ ปานกลาง ✓ กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล ปานกลาง ✓ กลมุ่ บรหิ ารงานทว่ั ไป ปานกลาง ✓ หมายเหตุ : 1. ระยะเวลาเป้าหมายในการฟนื้ คืนสภาพ หมายถึง ระยะเวลาภายหลังจากเกดิ อบุ ตั ิการณ์ขน้ึ ที่ทำให้ ผลิตภณั ฑห์ รือบรกิ ารต้องกลับคืนสภาพเดิม กิจกรรมต้องกลบั มาดำเนินการได้ และทรัพยากรตอ้ ง ได้รับการฟื้นฟู (มอก. 22301-2556) 2. การกำหนดช่วงของระยะเวลาเปา้ หมายในการฟ้ืนคนื สภาพ สามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามความ เหมาะสม

สำหรับกระบวนงานอื่น ๆ ท่ปี ระเมนิ แล้ว อาจไม่ไดร้ ับผลกระทบในระดบั สงู ถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่น สามารถชะลอการดำเนินงานและการใหบ้ ริการได้ โดยให้ผบู้ ริหารของฝ่ายงานประเมนิ ความจำเปน็ และเหมาะสม ทง้ั นี้ หากมีความจำเปน็ ใหป้ ฏิบัติตามแนวทางการบริหารความตอ่ เนื่องเช่นเดยี วกับกระบวนงานหลัก 7. การวิเคราะหเ์ พอ่ื กำหนดความตอ้ งการทรพั ยากรท่สี ำคญั วิเคราะห์ความต้องการทรัพยากรในกำรสนับสนนุ ให้โรงเรียนบา้ นหมากหวั วงั ยังคงสามารถดำเนินงาน หรือใหบ้ ริการประชาชนได้เม่ือเกิดสภาวะวิกฤต โดยพิจารณาทรัพยากรใน 5 ดา้ น ดังน้ี 1) ดา้ นสถานที่ปฏิบัติงานสำรอง (Working Space Requirement) ดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 การระบุพนื้ ท่กี ารปฏบิ ัตงิ านสำรอง ทรัพยากร สถานท/่ี ท่ีมา 4 ช่วั โมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดอื น 30 ตร.ม. พืน้ ท่ีสำหรับสถานที่ อาคาร/บริเวณ 15 ตร.ม. 20 ตร.ม. 25 ตร.ม. 25 ตร.ม. 10 คน 30 ตร.ม. ปฏบิ ัตงิ านสำรอง สถานศกึ ษา 2 คน 4 คน 6 คน 8 คน 6 คน 60 ตร.ม. ปฏบิ ัตงิ านท่บี า้ น 10 ตร.ม. 15 ตร.ม. 20 ตร.ม. 25 ตร.ม. 16 คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน 1 เดือน 7 เครือ่ ง รวม 25 ตร.ม. 35 ตร.ม. 45 ตร.ม. 50 ตร.ม. 1 เครอ่ื ง 4 คน 7 คน 10 คน 13 คน 4 เครอ่ื ง 2) ความต้องการดา้ นวัสดอุ ุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 การระบจุ ำนวนวัสดุอุปกรณ์ ทรัพยากร ที่มา 4 ชัว่ โมง 1 วนั 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ คอมพิวเตอรส์ ำรองท่ีมี รา้ นคา้ ผา่ น 3 เครอ่ื ง 4 เคร่อื ง 5 เครอ่ื ง 6 เครื่อง คณุ ลักษณะเหมาะสม กระบวนการ จัดซื้อ / ใชเ้ ครอื่ ง สว่ นตัวของ บคุ ลากร คอมพวิ เตอร์ทท่ี ำหนา้ ท่ี รา้ นคา้ ผ่าน 1 เครอ่ื ง 1 เครื่อง Server กระบวนการ จัดซื้อ เคร่อื งพิมพ์รองรับการใช้ ร้านค้าผา่ น 1 เคร่อื ง 2 เคร่อื ง 3 เครอ่ื ง 3 เครอื่ ง งานกบั คอมพวิ เตอร์ กระบวนการ จัดซ้อื / ใช้เครื่อง สว่ นตัวของ บคุ ลากร

โทรศพั ท์เคลือ่ นที่ ใช้เครอ่ื งสว่ นตัว 1 เครอ่ื ง 2 เครื่อง 4 เครอ่ื ง 6 เครอ่ื ง 8 เครือ่ ง ของบุคลากร ระบบ WI-FI ใชเ้ คร่ืองสว่ นตัว 1 เครอ่ื ง 1 เครือ่ ง 2 เคร่อื ง 2 เครื่อง 3 เครือ่ ง ของบุคลากร 3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมลู (IT & Information Requirement) ตารางท่ี 6 การระบคุ วามตอ้ งการด้านเทคโนโลยี ทรพั ยากร แหลง่ ข้อมลู /ทีม่ า 4 ช่วั โมง 1 วนั 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดอื น Face Book โรงเรียน ✓✓ ✓ ✓ ระบบเฝา้ ระวงั และเตือน ร้านค้าผา่ น ✓ ✓✓ ✓ ✓ ภยั (CCTV) กระบวนการ จดั ซ้ือ เอกสารการเงนิ เชน่ ใบ ผ้ปู ระกอบการ/ ✓✓ ✓ แจง้ หน้ี ใบเสรจ็ รบั เงิน ผูค้ า้ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั กิจกรรม ระบบสำรอง ✓✓ งาน / โครงการของ ข้อมูลของ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ข้อมูลประกอบการจดั ทำ ระบบสำรอง ✓✓ แผนงาน / งบประมาณ ข้อมูลของ สถานศึกษา 4) ความต้องการดา้ นบุคลากรสำหรับความตอ่ เน่ืองเพือ่ ปฏิบัติงาน (Personnel Requirement) ตารางที่ 7 การระบุจำนวนบคุ ลากรหลกั ที่จำเปน็ ทรัพยากร 4 ชว่ั โมง 1 วนั 1 สัปดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดอื น จำนวนบุคลากรปฏิบัตงิ านที่ ----- สำนักงาน /สถานท่ีปฏบิ ตั งิ านสำรอง จำนวนบุคลากรท่จี ำเป็นต้องปฏบิ ตั งิ าน - - - - - ทบี่ ้าน รวม - - - - - 5) ความต้องการด้านผใู้ ห้บริการทสี่ ำคญั (Service Requirement) ตารางท่ี 8 การระบุผใู้ ห้บรกิ ารท่ีตอ้ งติดต่อหรือขอรับบรกิ าร

ผูใ้ หบ้ ริการ 4 ชวั่ โมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดอื น หนว่ ยงานราชการ ✓ ✓ ✓ ✓ ผปู้ กครอง / ชุมชน ✓ ✓ ✓ ✓ รวม ✓ ✓ ✓ ✓ 8. กลยุทธค์ วามต่อเน่ือง (Business Continuity Strategy) กลยทุ ธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจดั หาและบรหิ ารจดั การทรัพยากรให้มีความพร้อมเม่ือเกิด สภาวะวกิ ฤต ซึง่ พจิ ารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางท่ี 9 ตารางที่ 9 กลยทุ ธค์ วามตอ่ เน่ือง (Business Continuity Strategy) ทรัพยากร กลยทุ ธค์ วามตอ่ เนอ่ื ง อาคาร/ สถานท่ี ▪ กำหนดให้ใช้พ้นื ที่ปฏิบัตงิ ำนสำรองภายในอาคารสำนักงาน โดย ปฏิบตั งิ านสำรอง มกี ารสำรวจความเหมาะสมของสถานท่ี ไวล้ ว่ งหนา้ ▪ กำหนดพ้นื ทีป่ ฏบิ ตั ิงานสำรองไว้ในเขตอำเภอเถนิ โดยให้มกี าร วสั ดอุ ุปกรณ์ที่ ประสานงานไวล้ ว่ งหน้า โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพนื้ ที่ สำคัญ / การจัดหา ไวล้ ว่ งหน้า จดั สง่ วัสดุอุปกรณ์ ▪ ประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนรับรชู้ ่องทางการติดต่อ ณ ท่ี ท่สี ำคญั ปฏบิ ตั ิงานสำรอง กรณเี กิดเหตุฉกุ เฉนิ ไมส่ ามารถเข้ามารับบริการ ณ โรงเรียนบา้ นหมากหวั วงั ได้ เทคโนโลยี สารสนเทศและ ▪ จัดใหม้ คี อมพิวเตอร์สำรอง จำนวน 7 เครื่อง ทีม่ ีคณุ ลักษณะ ขอ้ มูลท่ีสำคัญ เหมาะสมกบั การใช้งาน พร้อมอุปกรณท์ ส่ี ามารถเชอ่ื มต่อผ่าน อนิ เทอร์เนต็ เชอ่ื มโยงเข้าสู่ระบบเทคโนโลยขี องหน่วยงาน และ ตดิ ต่อกับหนว่ ยงานภายนอกได้ หากไมส่ ามารถจัดเตรยี ม ไว้ ลว่ งหนา้ ได้ ให้จดั ทำข้อมูลหน่วยงานทีส่ ามารถตดิ ต่อ ประสานงาน หรอื จดั หาเครื่องคอมพวิ เตอร์ในการทำงานได้ อย่างทนั การณ์เม่อื เกิดสภาวะวิกฤต ▪ กรณีคอมพิวเตอร์สำรองไม่เพยี งพอหรอื จัดหาไม่ได้หรืออยู่ ระหว่างการจัดหา กำหนดใหใ้ ชค้ อมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (Laptop/Notebook) ของบุคลากรไดเ้ ป็นการชวั่ คราว ▪ พัฒนาระบบสำรองข้อมูล และให้มีการสำรองข้อมลู (Back-up) ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ันอย่างสม่ำเสมอ เพอื่ ใหส้ ามารถนำข้อมูลมาใช้ งาน ได้อย่างต่อเน่ือง

ทรพั ยากร กลยทุ ธ์ความตอ่ เน่อื ง บคุ ลากรหลกั ▪ ใหใ้ ช้บุคลากรสำรองทดแทนภายในกลุ่มงานเดียวกัน ▪ ใหใ้ ชบ้ คุ ลากรนอกกลมุ่ งานในกรณที ีบ่ ุคลากรไม่เพยี งพอหรือ ขาดแคลน ▪ ให้ใชก้ ารปฏิบัตงิ านเหลือ่ มเวลา ▪ ให้ปฏบิ ัตงิ านท่บี า้ นหากมผี ลกระทบต่อชวี ิตและความ ปลอดภยั ของบุคลากร คู่คา้ /ผ้ใู ห้บรกิ ารท่ี ▪ สพฐ. ผใู้ หบ้ ริการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เบอร์โทรศัพทใ์ น สำคัญ/ผูม้ ีส่วนได้ การตดิ ต่อ เบอร์โทร 0 2288 5511-5 หรอื ส่วนเสยี E-mail: [email protected] ▪สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 2 เบอร์ โทรศัพท์ในการติดต่อ เบอร์โทร 054 284791-2

ข้นั ตอนการบริหารความต่อเนอื่ งและกอบกู้กระบวนการ วันที่ 1 การตอบสนองต่อเหตกุ ารณท์ ันที (ภายใน 24 ช่ัวโมง) การปฏิบตั ิการใดๆ ให้บคุ ลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถงึ ความปลอดภัยในชีวติ ของตนเองและบุคลากรอ่ืน และปฏบิ ัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และข้ันตอนการปฏิบัติงานทกี่ ำหนดอย่างเคร่งครดั ขน้ั ตอนและกิจกรรม บทบาทความ ดำเนนิ การแล้วเสรจ็ รบั ผิดชอบ แจง้ เหตฉุ ุกเฉิน วกิ ฤติ ใหก้ ับบคุ ลากรภายในโรงเรยี น หวั หนา้ ทีมงานบริหาร  ตามกระบวนการในแต่กลุ่มงาน ภายหลังได้รบั แจ้งจาก ความตอ่ เน่อื ง หวั หนา้ คณะบริหารความตอ่ เนอื่ งของหนว่ ยงาน จัดประชุมทีมงานบรหิ ารความต่อเน่ืองเพอ่ื ประเมินความ ทมี งานบริหาร ความ  เสยี หายของผลกระทบต่อการดำเนนิ งาน การให้บริการ ต่อเนื่อง และทรัพยากรสำคัญท่ตี ้องใช้ในการบรหิ ารความตอ่ เน่ือง ทบทวนกระบวนการททำงานทมี่ คี วามจำเปน็ เร่งด่วน หรือ สง่ ผลกระทบอย่างสูงหากไม่ไดด้ ำเนนิ การ ดังน้ัน จำเปน็ ตอ้ งดำเนินงานหรือปฏิบัตดิ ้วยมือ (Manual Pricessing) ระบแุ ละสรุปรายชอ่ื บุคลากรในกลุ่มงานที่ได้รบั บาดเจ็บ  ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ หรอื เสียชวี ิต รายงานหัวหนา้ คณะบรหิ ารความตอ่ เน่ืองของสถานศึกษา หวั หน้าทีมงานบรหิ าร  ทราบโดยครอบคลุมประเด็นดังน้ี ความต่อเนื่อง จำนวนและราชอื่ บคุ ลากรทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บ / ผลกระทบ / เสยี ชวี ิต ความเสยี หายและผลกระทบตอ่ การดำเนินงานและ การให้บรกิ าร ทรัพยากรสำคัญทตี่ ้องใชใ้ นการบรหิ ารความต่อเนื่อง กระบวนการทำงานที่มคี วามเรง่ ดว่ นและส่งผลกระทบ อย่างสูงหากไม่ดำเนนิ การ และจำเป็นต้องดำเนนิ งาน หรือ ปฏิบัติงานด้วยมอื สื่อสารและรายงานสถานการณ์แกบ่ ุคลการในสถานศึกษา หวั หน้าทีมบรหิ ารความ  ใหท้ ราบ ตามเนื้อหาและข้อความท่ไี ด้รับการพจิ ารณาและ ต่อเนอื่ งของกล่มุ งาน เห็นชอบจากคณะบรหิ ารความตอ่ เน่ืองของสถานศึกษา แล้ว

ประเมินและระบุกระบวนการหลัก และงานเรง่ ด่วนที่ หวั หนา้ และทมี บริหาร  จำเป็นตอ้ งดำเนินการให้แลว้ เสร็จ ภายใน 1-5 วันขา้ งหน้า ความตอ่ เนื่องของกลุม่ งาน ประเมนิ ศักยภาพและความสามารถของสถานศกึ ษาในการ หวั หนา้ และทีมบริหาร  ดำเนินงานเร่งด่วนขา้ งต้น ภายใตข้ อ้ จำกัดและสภาวะ ความตอ่ เน่ืองของกลุ่ม วิกฤต พร้อมระบทุ รัพยากรท่ีจำเปน็ ตอ้ งใช้ในการบริหาร งาน ความต่อเนื่องตามแผนการจดั หาทรพั ยากร รายงานความคบื หน้าใหแ้ ก่หัวหน้าคณะบรหิ ารความ หัวหน้าและทมี บริหาร  ตอ่ เน่ืองของสถานศกึ ษาทราบ พรอ้ มขออนุมัติดำเนินงาน ความตอ่ เนื่องของกลุ่ม หรอื ปฏิบตั ิงานดว้ ยมือ (Manaul Processing) สำหรบั งาน กระบวนการทำงานท่ีมคี วามเรง่ ดว่ นและสง่ ผลกระทบ อย่างสูงหากไม่ดำเนนิ การ คิดค่อและประสานงานกับหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องในการ หัวหน้าและทีมบริหาร  จดั หาทรัพยากรทจี่ ำเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเน่อื ง ความตอ่ เนื่องของกลุ่ม ไดแ้ ก่ งาน สถานทปี่ ฏิบตั ิงานสำรอง วสั ดอุ ุปกรณ์สำคัญ เทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ท่ีสำคัญ บุคลากรหลกั ค่คู ้า / ผู้ปกครอง / ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี พจิ ารณาดำเนนิ งานหรือปฏิบัติงานด้วยมอื (Manaul หวั หน้าและทมี บรหิ าร  Processing) สำหรับกระบวนการทำงานท่ีมคี วามเร่งดว่ น ความตอ่ เนื่องของกลุ่ม และส่งผลกระทบอย่างสูงหากไมด่ ำเนนิ การ และไม่ งาน สามารถรอได้ ทงั้ น้ตี ้องไดร้ บั การอนมุ ตั ิ ระบุหน่วยงานที่ให้บริการเร่งด่วน เพ่ือแจ้งสถานการณ์และ หวั หนา้ และทมี บริหาร  แนวทางในการบรหิ ารให้มคี วามตอ่ เน่ือง ตามความเห็น ความตอ่ เน่ืองของกลุ่ม ของคณะบริหารความต่อเน่ืองของสถานศึกษา งาน บันทกึ (LogBook) และทบทวนกิจกรรมและงานตา่ งๆ ที่ ทมี บริหารความต่อเน่ือง  ทีมบรหิ ารความต่อเน่ืองของกล่มุ งาน ต้องดำเนนิ การ ของกลุ่มงาน (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดำเนินการและเวลา) อยา่ ง สม่ำเสมอ แจง้ สรุปสถานการณแ์ ละขั้นตอนการดำเนินงานท่ี หัวหนา้ ทมี บรหิ ารความ  ดำเนินงานในวันถัดไปใหก้ ับบุคลากรทราบ และดำเนินการ ต่อเนื่องของกล่มุ งาน อาทิ แจ้งวนั เวลา และสถานที่ปฏบิ ตั ิงานสำรอง

รายงานความคบื หน้าใหแ้ ก่หวั หนา้ คณะบริหารความ หัวหน้าทีมบรหิ ารความ  ต่อเนื่องของหน่วยงานอย่างสมำ่ เสมอ หรือตามที่ได้กำหนด ตอ่ เน่ืองของกล่มุ งาน ไว้ วนั ที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสนั้ การปฏิบตั กิ ารใดๆ ใหบ้ ุคลากรของทุกกลุ่ม คำนงึ ถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบคุ ลากรอ่นื และปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และข้ันตอนการปฏิบตั งิ านที่กำหนดอยา่ งเคร่งครดั ขัน้ ตอนและกจิ กรรม บทบาทความรบั ผิดชอบ ดำเนินการแลว้ เสรจ็ ตดิ ตามสถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรท่ี หัวหนา้ และทมี บริหารความ  ได้รบั ผลกระทบ ประเมินความจำเป็นและระยะเวลาท่ี ตอ่ เนอ่ื งของกลมุ่ งาน ตอ้ งใชใ้ นการกอบกู้คนื ตรวจสอบกับหนว่ ยงาน ความพรอ้ มและขอ้ จำกดั ใน หัวหนา้ และทีมบริหารความ  การจัดหาทรัพยากรท่ีจำเปน็ ต้องใช้ในการบริหารความ ตอ่ เนอ่ื งของกลมุ่ งาน ต่อเนอื่ ง ได้แก่ สถานท่ีปฏิบตั ิงานสำรอง วสั ดอุ ุปกรณ์สำคัญ เทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ บคุ ลากรหลกั คู่ค้า / ผู้ปกครอง / ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย รายงานหัวหน้าคณะบรหิ ารความตอ่ เนื่องของ หัวหนา้ และทีมบริหารความ  สถานศกึ ษา ความพร้อม ขอ้ จำกัด และขอ้ เสนอแนะใน ตอ่ เน่ืองของกลมุ่ งาน การจัดหาทรัพยากรทจี่ ำเป็นในการบรหิ ารความ ตอ่ เนือ่ ง ประสานงานและดำเนนิ การจัดหาทรพั ยากรที่ หวั หนา้ และทมี บรหิ ารความ  จำเปน็ ตอ้ งใช้ในการบริหาความตอ่ เน่ือง ได้แก่ ต่อเนอื่ งของกลมุ่ งาน สถานที่ปฏิบตั ิงานสำรอง วสั ดุอปุ กรณส์ ำคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลท่สี ำคัญ บุคลากรหลัก คคู่ า้ / ผูป้ กครอง / ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย ดำเนนิ การกอบกกแู้ ละจดั หาข้อมูลและรายงานต่างๆ ที่ ทมี บริหารความต่อเน่ืองของ  จำเปน็ ในการดำเนนิ งานและจดั การเรยี นการสอนตาม กล่มุ งาน ตารางที่ 6

ดำเนินงานและจดั การศึกษาภายใต้ทรัพยากรทีจ่ ดั หา หวั หน้าและทมี บรหิ ารความ  เพอื่ บริหารความต่อเน่อื ง ตอ่ เน่ืองของกลมุ่ งาน สถานทีป่ ฏบิ ตั ิงานสำรอง หัวหน้าทีมบริหารความ  วสั ดุอปุ กรณส์ ำคัญ ตอ่ เน่อื งของกลมุ่ งาน  เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ  บุคลากรหลัก ทีมบรหิ ารความต่อเน่ืองของ  คคู่ า้ / ผูป้ กครอง / ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสีย กลมุ่ งาน แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความ ต่อเนื่องใหแ้ ก่หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ผปู้ กครอง ชมุ ชน หัวหนา้ ทมี บริหารความ และบคุ ลลอื่น ๆ ตอ่ เนื่องของกลมุ่ งาน บนั ทึก (LogBook) และทบทวนกิจกรรมและงาน ตา่ งๆ ท่ที มี บรหิ ารความต่อเนื่องของกลุ่มงาน ต้อง หวั หนา้ ทีมบริหารความ ดำเนินการ (พรอ้ มระบรุ ายละเอยี ด ผู้ดำเนนิ การและ ต่อเน่อื งของกลมุ่ งาน เวลา) อย่างสมำ่ เสมอ แจ้งสรปุ สถานการณ์และขัน้ ตอนการดำเนนิ งานท่ี ดำเนนิ งานในวันถดั ไปให้กับบุคลากรทราบ และ ดำเนินการ อาทิ แจ้งวนั เวลา และสถานทีป่ ฏบิ ตั งิ าน สำรอง รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนือ่ งของหน่วยงานอย่างสมำ่ เสมอ หรือตามท่ีได้ กำหนดไว้

วนั ท่ี 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห)์ การปฏบิ ัตกิ ารใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลมุ่ คำนงึ ถึงความปลอดภยั ในชีวติ ของตนเองและบคุ ลากรอื่น และปฏิบัติตามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานท่กี ำหนดอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกจิ กรรม บทบาทความรบั ผิดชอบ ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ ตดิ ตามสถานภาพการกอบกคู้ ืนมาของทรัพยากรที่ไดร้ ับ หัวหน้าและทีมบริหารความ  ผลกระทบ ประเมินความจำเปน็ และระยะเวลาทต่ี ้องใชใ้ น ตอ่ เนอื่ งของกลมุ่ งาน การกอบกู้คนื ระบุทรพั ยากรที่จำเป็นต้องใช้ เพื่อดำเนินงานและจัดการ หัวหนา้ และทมี บรหิ ารความ  เรียนการสอนตามปกติ ตอ่ เนอ่ื งของกลุ่มงาน รายงานหวั หนา้ คณะบรหิ ารความตอ่ เน่ืองของหน่วยงาน หวั หน้าและทมี บริหารความ  สถานภาพการกอบกูค้ ืนมาของทรัพยากรทีไ่ ดร้ บั ต่อเนื่องของกลุ่มงาน ผลกระทบ และทรัพยากรท่ีจำเป็นต้องใช้เพอื่ ดำเนนิ งาน และจดั การเรยี นการสอนตามปกติ ประสานงานและดำเนินการจดั หาทรพั ยากรท่ีจำเปน็ ต้อง หวั หน้าและทีมบริหารความ  ใชเ้ พือ่ ดำเนินงานและจัดการเรียนการสอนตามปกติ ตอ่ เนอ่ื งของกลุ่มงาน ได้แก่ สถานทป่ี ฏบิ ัติงานสำรอง วสั ดุอปุ กรณส์ ำคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมลู ทส่ี ำคัญ บุคลากรหลกั ค่คู ้า / ผปู้ กครอง / ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี บันทกึ (LogBook) และทบทวนกจิ กรรมและงานต่างๆ ทมี บริหารความต่อเนื่องของ  ทที่ ีมบริหารความต่อเนื่องของกลมุ่ งาน ตอ้ งดำเนินการ กลมุ่ งาน (พร้อมระบุรายละเอียด ผูด้ ำเนนิ การและเวลา) อยา่ ง สม่ำเสมอ แจ้งสรุปสถานการณ์และเตรยี มความพร้อมด้านทรัพยากร หวั หน้าทีมบรหิ ารความ  ต่างๆ ทีด่ ำเนินงานในวนั ถัดไปให้กับบุคลากรทราบ และ ตอ่ เนือ่ งของกลุ่มงาน ดำเนนิ การ อาทิ แจง้ วัน เวลา ในการจดั การเรยี นการ สอนปกติ

รายงานความคบื หน้าใหแ้ ก่หวั หน้าคณะบรหิ ารความ หวั หนา้ ทีมบริหารความ  ตอ่ เนื่องของหนว่ ยงานอย่างสมำ่ เสมอ หรือตามท่ีได้ ต่อเนอ่ื งของกลุ่มงาน กำหนดไว้ การตอบสนองระยะยาว (มากกว่า 1 เดือน) การปฏบิ ตั กิ ารใดๆ ให้บคุ ลากรของทุกกลุ่ม คำนึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบคุ ลากรอืน่ และปฏิบตั ติ ามแนวทาง แผนเผชญิ เหตุ และขั้นตอนการปฏิบตั ิงานทก่ี ำหนดอย่างเคร่งครดั ขัน้ ตอนและกิจกรรม บทบาทความรบั ผดิ ชอบ ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ ตดิ ตามสถานภาพการกอบกคู้ ืนมาของทรัพยากรท่ีได้รบั หวั หน้าและทมี บริหารความ   ผลกระทบ ประเมนิ ความจำเป็นและระยะเวลาท่ีต้องใช้ใน ต่อเนื่องของกลมุ่ งาน  การกอบกู้คืน  ระบทุ รพั ยากรท่จี ำเป็นตอ้ งใช้ เพอื่ ดำเนนิ งานและจัดการ หวั หน้าและทีมบริหารความ  เรียนการสอนตามปกติ ต่อเน่ืองของกลมุ่ งาน รายงานหัวหนา้ คณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน หัวหนา้ และทีมบริหารความ สถานภาพการกอบกูค้ ืนมาของทรพั ยากรทีไ่ ดร้ ับ ต่อเนือ่ งของกลุ่มงาน ผลกระทบ และทรัพยากรทจ่ี ำเปน็ ต้องใชเ้ พื่อดำเนินงาน และจดั การเรยี นการสอนตามปกติ ประสานงานและดำเนนิ การจัดหาทรัพยากรทจี่ ำเปน็ ต้อง หวั หนา้ และทีมบริหารความ ใชเ้ พอื่ ดำเนินงานและจัดการเรียนการสอนตามปกติ ต่อเนือ่ งของกลุ่มงาน ได้แก่ สถานท่ปี ฏิบตั ิงานสำรอง วสั ดุอุปกรณ์สำคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมลู ที่สำคัญ บุคลากรหลกั คู่ค้า / ผ้ปู กครอง / ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย บันทกึ (LogBook) และทบทวนกจิ กรรมและงานต่างๆ ทีมบริหารความต่อเนื่องของ ทที่ ีมบริหารความตอ่ เน่ืองของกลมุ่ งาน ตอ้ งดำเนนิ การ กลมุ่ งาน (พรอ้ มระบรุ ายละเอยี ด ผดู้ ำเนนิ การและเวลา) อยา่ ง สมำ่ เสมอ

แจ้งสรุปสถานการณ์และเตรยี มความพร้อมด้านทรัพยากร หวั หน้าทมี บริหารความ  ต่างๆ ทด่ี ำเนนิ งานในวนั ถดั ไปให้กบั บุคลากรทราบ และ ตอ่ เน่อื งของกลมุ่ งาน  ดำเนินการ อาทิ แจง้ วนั เวลา ในการจดั การเรียนการ สอนปกติ รายงานความคืบหน้าใหแ้ กห่ วั หนา้ คณะบรหิ ารความ หวั หน้าทมี บริหารความ ตอ่ เนอ่ื งของหนว่ ยงานอย่างสม่ำเสมอ หรือตามทไี่ ด้ ต่อเนอื่ งของกลุ่มงาน กำหนดไว้ กรณีหนว่ ยงานทีม่ ภี ารกจิ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ความมั่นคง เป็นเร่ืองทีม่ ีชั้นความลับของข้อมลู หรือข้อมลู มคี วาม อ่อนไหวทห่ี นว่ ยงานไม่อาจเผยแพร่ต่อสาธารณะ หรืออาจมีผลกระทบต่อความมน่ั คงของประเทศ ไดจ้ ดั ทำแผน รองรับภารกิจดงั กลา่ วไวแ้ ล้ว และจดั เกบู้ ไวท้ ห่ี นว่ ยงาน โดยมรี ายชื่อแผนทจ่ี ดั เก็บไวด้ ังน้ี 1. ……………………-………………………….. 2. ……………………-………………………….. 3. ……………………-………………………….. 4. ……………………-………………………….. 5. ……………………-………………………….. 6. ……………………-…………………………..

ภาคผนวก ก การกำหนดกระบวนการแจ้งเหตฉุ กุ เฉนิ (Call Tree) เพื่อให้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ (BCP) สามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธผิ ล กำหนดใหม้ กี ระบวนการแจ้งเหตุฉกุ เฉิน (Call Tree) ของโรงเรยี นบา้ นหมากหัววงั ขนึ้ โดยกระบวนการ Call Tree คือ กระบวนการแจ้งเหตุฉกุ เฉินให้กับสมาชิกในคณะบริหารความต่อเนื่องและทีมบริหารความต่อเน่อื ง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถบริหารจัดการในการติดต่อบุคลากรของหน่วยงาน ภายหลังจากมีการประกาศ เหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินหรือสภาวะวกิ ฤต กระบวนการ Call Tree เริ่มต้นที่หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องแจ้งให้ผู้ประสานงานคณะบริหาร ความต่อเนื่องทราบถึงเหตุการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้ผู้ประสานงานฯ แจ้งให้หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องรับทราบ เหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องฯ จากนั้นทีมบริหารความต่อเนื่องของแต่ละ กอง/กลุ่ม/ฝา่ ย มหี น้าที่แจ้งไปยงั บคุ ลากรภายใต้การบงั คบั บัญชาเพอื่ รับทราบ โดยมรี ายชื่อบคุ ลากรดงั นี้ บคุ ลากรหลัก เบอรโ์ ทรศัพท์ บทบาท บคุ ลากรสำรอง เบอรโ์ ทรศัพท์ ช่ือ 088-2600866 หัวหนา้ คณะบริหาร ช่ือ 081-8827-320 นางเยาวลกั ษณ์ นางละเอียด โรจน์รงุ่ 081-8827-320 เกษรเกศรา ความต่อเน่ือง นางละเอียด โรจนร์ ่งุ นางนงนภสั ชื่นใจ 089-5566802 หวั หน้าทมี บริหาร 099-3944-436 นางสาวรชต กาวอี ้าย นายฤทธริ งค์ สภุ าสบื ความตอ่ เนื่องกลุ่มงาน 088-2646432 บรหิ ารงานวิชาการ นางศุภัสญา อนิ ต๊ะพนั ธ์ นางละเอยี ด โรจน์รุ่ง 084-3699606 หัวหน้าทีมบรหิ าร 0830655290 ความต่อเนื่องกลุ่ม นายนวิ ตั ิ พอใจ นายฤทธิรงค์ สุภาสืบ บริหารงบประมาณ 081-8827320 หวั หนา้ ทีมบริหาร ความต่อเนื่องกลุ่ม บริหารงานบคุ คล 084-3699606 หัวหนา้ ทีมบรหิ าร ความตอ่ เนื่องกลุ่มงาน บริหารงานท่ัวไป

รายชือ่ บุคลากรในกระบวนการแจ้งเหตฉุ ุกเฉนิ ของกล่มุ งานบรกิ ารงานวชิ าการ หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนอ่ื ง ทีมบริหารความต่อเนื่อง ช่ือ เบอร์โทรศัพท์ ชอื่ เบอร์โทรศัพท์ 081-8827320 นางนงนภัส ชนื่ ใจ 089-5566802 นางละเอยี ด โรจน์รุง่ 0830655290 นายนวิ ตั ิ พอใจ เบอรโ์ ทรศัพท์ 099-3944-436 รายชอ่ื บุคลากรในกระบวนการแจง้ เหตุฉุกเฉนิ ของกลุ่มบรหิ ารงบประมาณ 088-2646432 081-5683827 หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนือ่ ง ทีมบริหารความต่อเนอ่ื ง เบอรโ์ ทรศัพท์ ชื่อ เบอรโ์ ทรศัพท์ ช่อื 088-2646432 089-5566802 นายฤทธิรงค์ สภุ าสบื 084-3699606 นางสาวรชต กาวีอ้าย เบอรโ์ ทรศัพท์ นางศุภสั ญา อนิ ต๊ะพันธ์ 081-8827320 นางสาวสุวรรณี อุดเอ้ย 088-2646432 089-5566802 รายชอ่ื บุคลากรในกระบวนการแจ้งเหตฉุ กุ เฉนิ ของกลมุ่ บริหารงานบุคคล 084-3699606 064-4070959 หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง ทีมบริหารความต่อเนอ่ื ง 085-6531397 ชื่อ เบอรโ์ ทรศัพท์ ช่อื นางละเอยี ด โรจน์รงุ่ 081-8827320 นางศุภัสญา อนิ ต๊ะพนั ธ์ นางนงนภัส ชน่ื ใจ รายชื่อบุคลากรในกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินของกล่มุ งานบริการงานทว่ั ไป หัวหนา้ ทีมบรหิ ารความตอ่ เนื่อง ทมี บริหารความต่อเน่ือง ชอ่ื เบอร์โทรศัพท์ ช่ือ นายฤทธริ งค์ สภุ าสืบ 084-3699606 นางละเอียด โรจน์รงุ่ นางศุภัสญา อนิ ต๊ะพันธ์ นางนงนภสั ชื่นใจ นายฤทธริ งค์ สภุ าสืบ นายนวิ คั ิ พอใจ นายเกตุ ตามรูป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook