Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูงล้ำประวัติศาสตร์ ประวัติเมืองสุพรรณ

สูงล้ำประวัติศาสตร์ ประวัติเมืองสุพรรณ

Published by Donchedi Library, 2021-06-02 05:04:21

Description: สูงล้ำประวัติศาสตร์ ประวัติเมืองสุพรรณ

Search

Read the Text Version

ประวตั สิ พุ รรณบุรี เป็นเมืองโบราณ พบหลักฐานทางโบราณคดี มี อายุไม่ต่ากว่า 3,500 - 3,800 ปี โบราณวัตถุทีขุด พบมีท้ังยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธ์ิ ยุคเหล็ก และสืบ ทอดวัฒนธรรมต่อเนืองมาตั้งแต่สมัยสุวรรณ ภู มิ ฟู นั น อ ม ร า ว ดี ท ว า ร ว ดี ศ รี วิ ชั ย สุพรรณบุรีเดิมมีชือ \"ทวารวดีศรีสุพรรณภูมิ หรือ \"พันธุมบุรี” คร้ังถึงสมัยพระเจ้าอู่ทอง ได้ สรา้ งเมืองทางตะวนั ตกของแม่น้่าท่าจีน ชือเมอื ง เรียกวา \"อู่ทอง\" จวบจนสมัยขุนหลวงพะงัว เมอื งจงึ ถกู เรียกวา่ ชอื วา่ \"สพุ รรณบรุ \"ี นับแตน่ ้ัน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อา่ เภอดอนเจดยี ์

ประวัตสิ ุพรรณบุรี \"จังหวัดสุพรรณบุรี\" เป็นจงั หวดั เป็นจงั หวดั เก่าแก่ จงั หวดั หน่งึ อยู่ทางภาคตะวนั ตกของประเทศไทย มอี ายุถงึ ยุค หนิ ใหม่ ประมาณ 3,500-4,000 ปี สบื ต่อเน่ืองกนั เร่ือยมาจนถงึ ยุคสมั ฤทธ์ิและเหลก็ อายุราว 2,500 ปี ล่วงเขา้ สู่ยุคสุวรรณภูมิ ฟูนนั อมรวดี ทวารวดี ลพบุรี อู่ทอง อยุธยา และปัจจุบนั น้ี โบราณวตั ถุ โบราณสถานท่ีพบเป็นประจกั ษพ์ ยานบ่งบอกว่า จงั หวดั สุพรรณฯ มอี ายุสูงถึงยุคหินใหม่จริง ไม่เพียงเท่านน้ั จงั หวดั สุพรรณบุรียงั เป็นเมอื งพทุ ธศาสนาอกี ดว้ ย จากการขุด คน้ พบพทุ ธปฎมิ ากรรมทวั่ ทงั้ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี จากสถติ พิ บไม่ นอ้ ยกว่า 140-150 ครงั้ ตง้ั แต่สมยั อมราวดีเป็นตน้ มา ทาให้ สนั นษิ ฐานไดว้ า่ จงั หวดั สุพรรณบรุ เี ป็นเมอื งทพ่ี ทุ ธศาสนาฝงั ราก ไวอ้ ยา่ งหนาแน่น ไมน่ อ้ ยกวา่ 2,300 ปี มาแลว้ ราว พ.ศ. 700 - 800 อาณาจกั รสุวรรณภูมซิ ่ึงมนี ครปฐุมเป็นราชธานี ตอ้ งตก เป็นเมอื งออกของจนี และเขมร ต่อมาราว พ.ศ. 1113 พวกไทย เมอื งละโวไ้ ดก้ ูอ้ สิ รภาพสาเรจ็ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อา่ เภอดอนเจดีย์

อาณาจักรสุวรรณภูมิโบราณ น้ีไดก้ ลบั มีความ เจริญรุ่งเรืองอกี วาระหน่ึงและมชี ่ือใหม่ว่า \"อาณาจกั รทวารวดี\" ในสมยั นนั้ เมอื งอู่ทอง (สุพรรณบรุ )ี คงจะเจรญิ เป็นบกึ แผ่นแลว้ ดงั ท่กี รมพระยาดารงราชานุภาพเล่าไวใ้ นนิทานโบราณคดีเร่ือง \"เมอื งอู่ทอง\" ว่า \"ขา้ พเจา้ เขา้ ไปดูเมอื งทา้ วอู่ทอง เมอื งตง้ั อยู่ฝงั่ ตะวนั ตกของลานา้ จระเขส้ ามพนั ดูเป็นเมอื งเก่าใหญ่โต เคยมี ป้ อมปราการก่อดว้ ยศิลา แต่หกั พงั ไปเสียเกือบหมดแลว้ ยงั เหลอื คงรูปแต่ประตูเมอื งแหง่ หน่งึ กบั ป้องปราการ..\" ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อา่ เภอดอนเจดีย์

ประวตั ิสุพรรณบรุ ี เมอื งทวารวดี (นครปฐม) เจริญแลว้ ก็เส่อื มลงตามความ เปล่ียนแปลงทางภูมิศาสตร์บา้ ง จากสงครามบา้ ง บางคราว ถึงกบั ท้ิงรา้ งไปนานๆ ถึงสมัยอู่ทอง พระยาพานได้ พยายามบูรณะใหม่ แต่นา้ ท่าไมอ่ ดุ มสมบูรณเ์ หมอื นสมยั โบราณ พระยาพานจงึ ไดแ้ ต่เพยี งซ่อมองค์ พระปฐมเจดยี ์ แลว้ สถาปนา เมืองพนั ธุมบุรีท่ีบนฝงั่ แม่นา้ (ท่าจีน) ข้ึนแทนระหว่าง พ.ศ. 1420- 425 และไดค้ รองเมอื งน้ี ต่อมาจนสวรรคต ในราว พ.ศ. 1459 พระพรรษาไดค้ รองราชยแ์ ทน แต่แลว้ กลบั เสดจ็ ไปครอง เมอื งอู่ทองซ่ึงใหญ่กว่า เมืองอู่ทอง จึงเป็นราชธานี เรียกกว่า \"เมอื งศรอี ยุธยา\" อยู่พกั หน่ึง ต่อจากนน้ั เหตุการณ์เมอื งพนั ธุม บุรีไดเ้ งยี บหายไปราวสองศตวรรษ มาปรากฏเร่ืองราวอีกครง้ั หน่งึ เมอ่ื พระเจา้ กาแต เช้อื สายมอญไดเ้สวยราชยใ์ นเมอื งอู่ทอง แลว้ ยา้ ยราชธานีกลบั มาอยู่ท่ีเมอื งพนั ธุมบุรี ไดม้ อบหมายให้ มอญนอ้ ย (พระญาติ) สรา้ งวดั สนามไชยและบูรณะวดั ลาน มะขวดิ (วดั ป่าเลไลยก)์ ในบรเิ วณเมอื งพนั ธุมบรุ เี สยี ใหม่ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อา่ เภอดอนเจดีย์

เม่ือบูรณะวดั แลว้ ทางราชการไดเ้ กิดศรทั ธาใน พระพทุ ธศาสนา และชวนกนั ออกบวชถึงสองพนั คน จึงได้ เรียกช่ือเมอื งน้ีใหม่ว่า \"เมืองสองพันบุรี“ เมืองอู่ ทอง มีกษตั ริย์ครองราชย์สืบต่อกนั มาหลายพระองค์ เรยี กว่า \"พระเจา้ อู่ทอง\" ทงั้ ส้นิ และพระราชธดิ าของพระเจา้ อู่ทอง ไดอ้ ภิเษกสมรสกบั พระเจา้ ราม โอรสพระเจา้ ศิริชยั เชยี งแสน ต่อมาพระเจา้ รามข้นึ ครองเมอื งอู่ทองแทน (พอ่ ตา) คนทวั่ ไปก็เรียกว่า \"พระเจา้ อู่ทอง\" เม่อื ขุนหลวงพะงวั่ (พ่ี มเหสี) ข้นึ ครองเมอื งสองพนั บุรี และไดย้ า้ ยไปครองเมอื งอู่ ทอง เมอื งอู่ทองตอ้ งกลายเป็นเมอื งรา้ งเพราะแมน่ า้ จระเขส้ าม พนั เปล่ียนทางเดินใหม่และต้ืนเขิน ซา้ รา้ ยยงั เกิดโรคห่า (อหวิ าตกโรค) อกี ดว้ ย ขนุ หลวงพะงวั่ จงึ ยา้ ยกลบั มาประทบั ท่ี เมอื งสองพนั บรุ ี และภายหลงั จงึ ไดเ้ปลย่ี นช่ือเมืองน้ีเสยี ใหม่ วา่ \"เมืองสุพรรณบุร\"ี เมือ พ.ศ. 1890 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ่าเภอดอนเจดยี ์

ประวตั สิ ุพรรณบรุ ี เมืองสุพรรณบุรี ท่ีสรา้ งข้นึ ในสมยั อู่ทองน้ัน ตงั้ อยู่ ทางฝงั่ ขวาของแมน่ า้ สุพรรณบรุ ี (ท่าจนี ) ยงั มคี ูและกาแพงเมอื ง ปรากฏอยู่จนกระทงั่ ทุกวนั น้ี แต่ตวั เมืองในปจั จุบนั ตงั้ อยู่ท่ี ตาบลท่าพ่เี ล้ยี งทางฝงั่ ซา้ ยของแม่นา้ สนั นิษฐานว่าคงยา้ ยมา เมอ่ื สมยั ตน้ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ เพราะในสมยั กรุงธนบุรกี าลงั มศี ึก พมา่ เขา้ มาประชดิ ตดิ พนั ยงั ไม่มเี วลาว่างท่จี ะทรงคิดในเร่อื งการ สรา้ งบา้ นเมอื งใหม่ข้นึ ในสมยั รชั กาลท่ี 3 แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ก็แสดงว่าเมืองท่ียา้ ยมาตงั้ ข้ึนใหม่น้ี ยงั คงเป็ นป่ าเปล่ียวอยู่ บา้ นเรือนราษฎรก็มแี ต่เฉพาะตามริมแม่นา้ เท่านน้ั ลกึ จากลานา้ เขา้ ไปยงั เป็นป่าอยู่แทบทง้ั ส้นิ ตามท่สี ุนทรภู่กวเี อกของไทยไป เทย่ี วเมอื งสุพรรณ ยงั พรรณาไวใ้ นโคลงนริ าศสุพรรณว่า \"ไดพ้ บ เสอื อยู่ในบริเวณเมอื งสุพรรณบุรีน้ี\" ตงั้ แต่สมยั โบราณมคี ติถอื กนั โดยเคร่งครดั ต่อกนั มาว่า \"ห้ามมิให้เจ้านายเสด็จไป เมืองสุพรรณ\" แต่จะหา้ มมาแต่ครงั้ ใดและดว้ ยเหตุผล ประการใดนน้ั ไมม่ ผี ูส้ ามารถจะตอบได้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อา่ เภอดอนเจดยี ์

จนกระทงั่ ถึงตน้ รชั กาลท่ี 5 ก็ยงั คงถือกนั เป็นประเพณีอยู่ เช่นน้ีเร่ือยมา เม่ือสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ดารง ตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จะเสด็จไปตรวจราชการท่ี เมอื งน้ี พระยาอ่างทองยงั ทูลหา้ มไว้ โดยถวายเหตผุ ลว่า เทพารกั ษ์ หลกั เมอื งไม่ชอบเจา้ นาย ถา้ เสด็จไปมกั จะทาใหเ้ กิดอันตรายต่างๆ แต่สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพไม่ทรงเช่ือ ทรงขนื เสด็จไป เมอื งสุพรรณบรุ เี ป็นพระองคแ์ รก เพอ่ื จะทรงตรวจราชการท่ีเมอื งน้ี ควรจะช่วยเหลือใหค้ วามสะดวกอย่างไร หรือควรทานุบารุง บา้ นเมืองใหเ้ จริญรุ่งเรืองย่ิงข้ึนอย่างไร ไม่ใช่การไปทาความชวั่ เทพารกั ษป์ ระจาเมืองคงจะไม่ใหโ้ ทษเป็นแน่ เม่อื เสด็จกลบั จาก ตรวจราชการครงั้ นน้ั แลว้ ก็ไม่ทรงไดร้ บั ภยนั ตรายประการใด เจา้ นายพระองคอ์ น่ื ทรงเหน็ เช่นนน้ั ก็ทรงเลกิ เช่อื ถือคตโิ บราณ และ เร่ิมเสด็จประภาสกันต่อมาเนืองๆ คร้ันเม่ือ พ .ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เสด็จประพาสเมือง สุพรรณอกี ครงั้ หน่งึ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ่าเภอดอนเจดีย์

ตง้ั แต่นนั้ เป็นมาก็ไม่มผี ูใ้ ดพูดถงึ คติท่หี า้ มเจา้ นายมใิ ห้ เสด็จไปเมืองสุพรรณอีกเลย ในสมยั รชั กาลท่ี 5 เม่ือมีการ ปกครองมณฑลเทศาภบิ าล เมอื งสุพรรณก็รวมอยู่ในมณฑล นครชยั ศรี ซง่ึ ประกอบดว้ ย เมอื งนครชยั ศรี สุพรรณบุรี และ สมทุ รสาคร ในปี พ.ศ. 2438 จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. 2456 มี การเปลย่ี นช่ือเมอื งมาเป็นจงั หวดั เมืองสุพรรณบุรีจึง เปน็ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ต้ังแต่น้ันมา ... หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อา่ เภอดอนเจดยี ์

โบราณคดีและประวตั ิศาสตร์ เมืองสพุ รรณบรุ ี เร่ืองราวทางประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดีของเมือง สพุ รรณบุรีนนั้ นักวิชาการทงั้ ชาวไทยและต่างชาติต่างก็ให้ ความสนใจศกึ ษาคน้ ควา้ กนั มานาน และเป็นท่ียอมรบั กนั วา่ เมืองสพุ รรณบรุ ี ไดเ้ ร่ิมตน้ การตงั้ ถ่ินฐานมาตั้งแต่สมยั ก่อน ประวตั ิศาสตรใ์ นยคุ หินใหม่ แลว้ พฒั นามาเป็นรฐั แรกเร่มิ ใน สมยั ทวารวดี โดยมีศนู ยก์ ลางอย่ทู ่ีเมืองอ่ทู อง จนเม่ือเมืองอู่ ทองเส่ือมสลายลงในราวพุทธศตวรรษท่ี 16 - 17 ดินแดน จังหวัดสุพรรณบุรีก็ไม่รา้ งราผู้คนไปแต่อย่างใด หากได้ ปรากฏร่องรอยชุมชนโบราณ และศาสนสถานท่ีได้รับ อิทธิพลศิลปกรรมของเขมร หลายแห่ง ท่ีสาคญั คือ เนินทาง พระ ในเขตอาเภอสามชุก ซ่ึงได้พบศาสนสถานในพุทธ ศาสนาแบบมหายาน จนกระท่งั ในราวปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 18 - ตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี 19 จึงไดป้ รากฏช่ือรฐั อิสระในนาม \"สุพรรณภูมิ\" ขึน้ โดยมีศนู ยก์ ลางอย่ใู นบริเวณท่ีเป็นตวั จงั หวดั สพุ รรณบรุ ใี นปัจจบุ นั ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อ่าเภอดอนเจดีย์

จากการศกึ ษารอ่ งรอยจากภาพถ่ายทางอากาศบรเิ วณ ตัวจังหวัดสุพรรณบุรีใน ปัจจุบัน ปรากฏร่องรอยเมือง โบราณท่ีมีคนู า้ และกาแพงเมืองลอ้ มรอบเป็นรูปส่ีเหล่ียม ผืน ผา้ อย่รู มิ ฝ่ังตะวนั ตกของแม่นา้ สพุ รรณบุรใี หเ้ ห็นอยา่ ง ชัดเจน ซ้อนทับอยู่บนเมืองรุ่นแรก ท่ีมีอาณาเ ขต ครอบคลมุ พืน้ ท่ีทงั้ สองฝ่ังแม่นา้ สพุ รรณบุรี สนั นิษฐานว่า เมืองรุน่ แรกนีเ้ องท่ีรูจ้ กั กนั ในนาม สพุ รรณภูมิ ซง่ึ เป็นเมือง รว่ มสมยั กบั สโุ ขทยั เมืองนีด้ ารงฐานะเป็นเมืองอิสระจนถงึ สมัยอยธุ ยาตอนตน้ เม่ือสมเด็จพระนครินทราธิราชแห่ง ราชวงศส์ พุ รรณภูมิเสด็จขึน้ ครองราชย์ ณ กรุงศรีอยธุ ยา จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ จา้ อา้ ยพระยาพระราชโอรสพระองค์ แรกมาครองเมืองสพุ รรณภูมิ เมืองนีจ้ ึงมีฐานะเป็ นเมือง ลกู หลวงของกรุงศรีอยธุ ยา เช่ือวา่ ในสมยั นีเ้ องท่ีเมืองนีถ้ กู ลดขนาดลงเหลือเพียงฝ่ังตะวนั ตกของแม่นา้ สพุ รรณบุรี และเม่ือกรุงศรอี ยธุ ยาทาสงครามกบั พมา่ เมืองนีก้ ็มีฐานะ เป็นเมืองหนา้ ด่านรบั ศึกพม่าดว้ ย จนในสมยั สมเด็จพระ มหาจกั รพรรดิจึงไดโ้ ปรดฯ ใหร้ ือ้ กาแพงเมืองนี้ลงเสียเพ่ือ ปอ้ งกนั ไมใ่ หพ้ มา่ ยดึ เป็นฐานตีกรุงศรี อยธุ ยาได้ (จากหนังสือโบราณคดแี ละประวัตศิ าสตร์ เมอื งสุพรรณบุรี) ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อา่ เภอดอนเจดยี ์

ตน้ ไมป้ ระจา่ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ........ตน้ มะเกลือ เป็นไมม้ งคลท่ีไดร้ บั พระราชทาน จาก สมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรม ราชินีนาถ พระราชทานเม่ือวนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2537 เพ่ือใหพ้ สก นิกรชาวสพุ รรณบรุ นี ามาปลกู เป็น สิรมิ งคล ตน้ มะเกลอื เป็นไมย้ ืนตน้ ขนาดกลาง มีความสงู ประมาณ 8- 15 เมตรบางต้นท่ีมีความสมบูรณ์ มากอาจสูงถึง 30 เมตร ลักษณะลาตน้ ตรง เรือนยอดเป็นพุ่ม กลม ก่ิงอ่อนมีขนน่มุ ท่วั ไป แตกก่ิงกา้ นสาขาทกุ ส่วนของลาตน้ เปลอื กนอกเป็นสีดาขรุขระ ประโยชนข์ องตน้ มะเกลือมีมากมาย และใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ทงั้ ตน้ คือ ลาตน้ ใชท้ าไมถ้ ือกบ (กบใสไม)้ ทาเคร่ืองตกแต่บา้ น ผลมะเกลือใช้ย้อมผ้า ใช้เป็ นยาถ่ายพยาธิ เปลือกใช้ผส ม เครื่องด่ืมพืน้ เมืองบางชนดิ เพ่ือกนั บดู หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อา่ เภอดอนเจดีย์

ดอกไมป้ ระจ่าจงั หวดั .........สุพรรณิการ์ เป็นตน้ ไมผ้ ลดั ใบสงู 7-15 เมตร ก่ิงกา้ นคดงอ ใบรูปหวั ใจ แผ่นใบแยกเป็น 5 แฉก ขอบใบเป็นคล่ืน ดอกเป็นช่อออก กระจายท่ีปลายก่ิง บานทีละดอก ดอกเหลืองมีกลิ่น กลีบ บาง เกสรสีเหลือง รังไข่มีขน ผลกลมเม่ือแก่แตก 3-5 พู ภายในมีเมล็ดรูปไตสีนา้ ตาล หมุ้ ดว้ ยปยุ ขาวคล้ายปยุ ฝา้ ย ออกดอกเกือบตลอดปี ดอกดกมาก ราวกุมภาพันธ์- เมษายน มีถ่ินกาเนิดในอินเดียทางตะวนั ตกเฉียงเหนือของ ภเู ขาหิมาลยั และเป็นไมพ้ ืน้ เมือง ของพม่าดว้ ย ในศรีลงั กา มักปลูกบริเวณพระอุโบสถ เป็ นดอกไม้บูชาพระ ใน เมืองไทยทางเหนือ เรยี กวา่ ฝา้ ยคา หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ่าเภอดอนเจดยี ์

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มีพืน้ ท่ีทงั้ หมดประมาณ 5358 ตารางกิโลเมตร แบง่ การปกครองออกเป็น 10 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี อาเภอบางปลามา้ อาเภอศรปี ระจนั ต์ อาเภอดอนเจดยี ์ อาเภออทู่ อง อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอดา่ นชา้ ง อาเภอหนองหญา้ ไซ อาเภอสองพ่ีนอ้ ง อาเภอสามชกุ อาณาเขตตดิ ตอ่ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ชยั นาท และจงั หวดั อทุ ยั ธานี ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั นครปฐม ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั จงั หวดั อ่างทอง พระนครศรอี ยธุ ยา และสิงหบ์ รุ ี ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั กาญจนบรุ ี หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อา่ เภอดอนเจดีย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook