Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานคลินิกเติมยาโรคเรื้อรัง

คู่มือปฏิบัติงานคลินิกเติมยาโรคเรื้อรัง

Description: คู่มือปฏิบัติงานคลินิกเติมยาโรคเรื้อรัง17.6.64

Search

Read the Text Version

ค่มู ือปฏบิ ัติงานการจดั บริการคลนิ ิก เติมยาสำหรับผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั โดย ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข 48 นาควัชระอทุ ศิ สำนักอนามยั กรุงเทพมหานคร

สารบญั หนา้ 1 เรอ่ื ง 2 4 แนวทางการจัดบริการคลินิกเตมิ ยาสำหรับผ้ปู ่วยโรคเร้อื รงั 6 8 กระบวนการกอ่ นใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ เติมยาสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเรื้อรงั . 9 11 กระบวนการให้บรกิ ารคลินิกเติมยาสำหรับผ้ปู ่วยโรคเรอ้ื รัง 11 แนวทางการดำเนินงานคลนิ ิกเตมิ ยาสำหรบั เภสชั กร 13 14 กระบวนการหลงั จากใหบ้ รกิ ารทีค่ ลินกิ เติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรงั 15 วิธีคำนวณตัวช้วี ดั การจดั บรกิ ารคลนิ กิ เตมิ ยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้ือรัง 16 17 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 18 ปญั หาและอปุ สรรค 19 20 ภาคผนวก 21 22 - เกณฑก์ ารคัดเลือกผู้ปว่ ยเข้ารับบริการท่ีคลนิ กิ เตมิ ยาสำหรับผ้ปู ่วยโรคเรือ้ รงั 23 - ใบตรวจสอบคณุ สมบตั ิ (Checklist) ผู้ปว่ ยโรคเร้ือรงั ท่เี ขา้ เกณฑ์ในการเติมยา (Refill) (ก่อนเขา้ คลินิก) - แบบบันทึกผู้ป่วยสมคั รใจเข้ารว่ มโครงการจัดบรกิ ารคลนิ กิ เติมยาสำหรบั ผปู้ ่วยโรคเร้ือรัง - แบบคัดกรองผู้ป่วยคลินกิ เตมิ ยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรอ้ื รัง - แบบบันทกึ Serious ADR ผู้ปว่ ยทเ่ี ข้ารบั บริการคลนิ กิ เติมยาสำหรับผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจสำหรับผปู้ ว่ ยทรี่ บั บริการ - แบบประเมินความพึงพอใจของเจา้ หน้าที่ท่ใี ห้บริการ - แบบตรวจสอบการดำเนินงานคลินิกเตมิ ยาสำหรบั ผ้ปู ่วยโรคเรอื้ รัง - แบบรายงานรอบระยะเวลาการให้บริการคลนิ ิกผ้ปู ่วยโรคเรอ้ื รัง - แบบรายงานรอบระยะเวลาการใหบ้ รกิ ารคลินิกเติมยาสำหรับผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรัง - แบบรายงานบรกิ ารคลนิ ิกเติมยาสำหรับผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรงั

แนวทางการจัดบริการคลินกิ เตมิ ยาสำหรับผู้ปว่ ยโรคเร้ือรงั ความเป็นมา กรุงเทพมหานคร ได้กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินโครงการให้บริการที่ดีท่ีสุด เพื่ออำนวยความสะดวก ใหป้ ระชาชนหรือผ้รู บั บรกิ ารภายใตแ้ นวคิดการยดึ ผ้รู ับบริการเปน็ ศนู ย์กลาง โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561มธี ีมใน การพัฒ นาระบบบริการท่ีดีท่ีสุดของกรุงเทพมห านคร.3 ธีมดังนี้1..รอยยิ้ม 2.คนเก่งหัวใจแกร่ง 3..Green.and.Happy.office.โดยหน่วยงานต้องค้นหาปัญหาร่วมกัน เพื่อกำหนดประเด็นสำคัญ ที่ต้อง ดำเนินการแก้ไข ซึ่งจากการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากสำนักอนามัย พ.ศ. 2557 – 2560พบว่า สิ่งท่ี ผู้รับบริการเห็นว่าสำนักอนามัยควรปรับปรุง ได้แก่ขยายขนาดของสถานที่ การเพิ่มห้องตรวจเพราะบางคร้ัง คนไข้มีจำนวนมากทำให้ต้องรอคอยนาน แต่อย่างไรก็ตามศูนย์บริการสาธารณสุขหลายแห่งมีข้อจำกัดในการ ดำเนินการตามข้อแนะนำดังกล่าว และจากการที่มผี ู้รับบริการตรวจรักษาจำนวนมากทำให้ผปู้ ่วยโดยเฉพาะผู้ปว่ ย โรคเร้ือรงั ต้องใช้เวลาในการเข้าคิวรบั การตรวจรักษา รอรับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ.รอรับการตรวจทาง ร่างกาย รอรับการตรวจภาวะแทรกซ้อน รอรับผลตรวจ รอพบแพทย์ รวมท้ังรอรับยาในแต่ละครั้งท่ีมารับ บริการจากสาเหตุดังกล่าวทำให้ความพึงพอใจของผู้ป่วยลดน้อยลงเพราะต้องรอคอยนาน และส่งผลต่อผู้ ให้บริการเช่นกัน เช่นเหน่ือย เครียด ถูกกดดัน ได้รับประทานอาหารกลางวันไม่ตรงเวลา เน่ืองจากการ ใหบ้ ริการตรวจรกั ษาภาคเชา้ ยังไม่แล้วเสรจ็ จากประเด็นปัญหาของศูนย์บริการสาธารณสขุ สำนักอนามยั ซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิท่ีมีผู้ป่วย มารับบริการรักษาโรคเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยโรคเร้ือรังส่งผลให้ต้องรอคอยนาน สำนัก อนามัยจึงมีแนวคิดจัดบริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรอ้ื รังทคี่ วบคมุ โรคไดด้ ี เพื่อใหผ้ ู้ปว่ ยได้รับบริการที่ สะดวก รวดเร็ว และได้รบั การดแู ลอย่างต่อเนอ่ื ง ถกู ต้อง ปลอดภัย ผรู้ ับและผใู้ ห้บรกิ ารมคี วามพึงพอใจ วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหผ้ ู้ป่วยโรคเรื้อรังท่ีมาใช้บริการท่ีศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุขได้รบั บรกิ ารสะดวกรวดเร็ว 2. เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รังไดร้ บั ยาอย่างตอ่ เน่อื ง 3.เพ่ือให้ผู้ป่วยโรคเร้ือรังที่มารบั บริการท่ีศูนย์บริการสาธารณสุขมีความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารและ เจา้ หน้าที่มีความสุขในการทำงาน ผู้ป่วยทไ่ี ดร้ บั การเตมิ ยามี 3 กลุ่มโรค ดังน้ี 1. ไขมันในเลือดสงู 2. ความดนั โลหิตสงู 3. เบาหวาน โดยท้งั 3 กลุ่มโรคจะมีกระบวนการดำเนินงาน 1. กอ่ นให้บริการที่คลินิกเตมิ ยาสำหรบั ผปู้ ่วยโรคเร้ือรัง 2. ใหบ้ ริการที่คลนิ ิกเติมยาสำหรบั ผ้ปู ่วยโรคเร้อื รงั 3. หลงั จากใหบ้ ริการท่คี ลินิกเตมิ ยาสำหรบั ผูป้ ่วยโรคเรอื้ รงั

2 กระบวนการก่อนใหบ้ รกิ ารทคี่ ลินกิ เตมิ ยาสำหรับผู้ปว่ ยโรคเร้ือรงั 1. แพทยป์ ระจำคลินิกโรคเรอ้ื รังเปน็ ผ้คู ดั กรองผปู้ ่วยเพือ่ เขา้ คลินกิ เติมยาสำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รังตาม เกณฑด์ ังต่อไปนี้ ผปู้ ่วยโรคเร้อื รัง หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้ปว่ ยเพ่ือเข้าคลินิกเตมิ ยา 1.ไขมันในเลือดสงู 2.ความดันโลหิตสูง -ผลระดบั ไขมนั ในเลือด LDL ไมเ่ กิน ๑๖๐ mg/dl -Triglyceride ไม่เกนิ ๕๐๐ mg/dl 3.เบาหวาน - ค่าความดันโลหิต • ผูป้ ่วยอายุนอ้ ยกว่า ๖๐ ปี มีความดนั โลหิตปกติ BP อย่ใู นช่วง ๑๑๐ – ๑๔0/๖๐ – ๙๐mmHg ติดตอ่ กนั อย่างน้อย ๒ครงั้ • ผปู้ ว่ ยอายตุ ั้งแต่ ๖๐ ปีขนึ้ ไป มีความดันโลหิตปกติ BP อยใู่ นช่วง ๑๑๐ – ๑๕0/๖๐ – ๙๐ mmHg -อตั ราเต้นของหวั ใจ อยู่ระหว่าง ๖๐ – ๑๐๐ คร้ังตอ่ นาที - น้ำตาลอยู่ระหวา่ ง ๙๐ – ๑๔๐ mg/dl ติดต่อกัน ๓ ครงั้ และ HbA1c น้อยกว่าหรอื เท่ากบั ๘ - ผ้ปู ่วยเบาหวานทรี่ ับยาชนิดกินเท่านั้น - ผูป้ ่วยเบาหวานมคี วามดันโลหิตปกติ BP อยู่ในช่วง ๑๑๐ – ๑๔0/๖๐- ๙๐mmHg ติดต่อกันอย่างนอ้ ย ๒ คร้งั -อตั ราเต้นของหวั ใจ อยรู่ ะหว่าง ๖๐ – ๑๐๐ ครงั้ ต่อนาที *** หมายเหตุ : ผู้ปว่ ยโรคเร้ือรังดงั กลา่ วตอ้ ง ไม่มีภาวะ ดงั ต่อไปน้ี - อตั ราการกรองไต (eGFR) น้อยกวา่ ๖๐ - มโี รคกล้ามเนือ้ หวั ใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง - มแี ผลที่เทา้ เรอ้ื รงั - คา่ เอนไซม์ของตับ ผิดปกติ - คา่ อีเลค็ โทรไลท์ ผิดปกติ - ในกรณีผ้ปู ่วยไดร้ บั ยา HCTZ ค่ายูรกิ สงู ไม่มากกวา่ ๗ mg/dl ๒. แพทย์และพยาบาลใหค้ ำแนะนำบรกิ ารคลินิกเตมิ ยาสำหรบั ผ้ปู ่วยโรคเร้อื รังให้ผู้ปว่ ยท่ีมคี ณุ สมบัติ ตามเกณฑ์ ๓. พยาบาลดำเนินการให้ผู้ป่วยที่สมัครใจลงนามใบยินยอม เข้ารับบริการที่คลินิกเติมยาสำหรับ ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ๔. นัดหมายผู้ป่วยที่สมัครใจเข้ารับบริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังตามที่แพทย์กำหนด (เติมยา 1 – 3 ครง้ั ในระยะเวลา 2 – 4 เดอื น

3 กระบวนการกอ่ นใหบ้ ริการคลินิกเติมยาสำหรับผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั .(Refill) เรมิ่ ตน้ แพทย์ - คดั กรองผปู้ ว่ ย แพทย/์ พยาบาล - ตามหลกั เกณฑ์ เข้าตามหลกั เกณฑ์ ไมเ่ ข้าตามหลกั เกณฑ์ ให้คำแนะนำ บริการ .พยาบาล- ยนิ ดีเข้าร่วมโครงการ ไม่เขา้ รว่ มโครงการ เซน็ ยินยอม ส่งเขา้ รับการรักษาคลินกิ โรคเร้อื รัง นดั หมายเข้าคลนิ ิกเตมิ ยา สิ้นสุด สำหรับผู้ป่วยโรคเรอื้ รงั รบั ยา/กลบั บ้าน ส้ินสุด

4 กระบวนการใหบ้ รกิ ารทคี่ ลนิ กิ เติมยาสำหรับผ้ปู ่วยโรคเร้อื รงั 1. ผปู้ ่วยย่ืนบัตรทง่ี านเวชระเบียน เพือ่ ขอรบั ยาต่อเน่ืองท่ีคลนิ กิ เติมยาสำหรับผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรงั 2. งานเวชระเบยี น ส่งผูป้ ่วยให้พยาบาลเพือ่ ช่งั น้ำหนัก วัดส่วนสูง วดั ความดัน เจาะเลอื ด และให้สุขศึกษา แก่ผู้ปว่ ย 3. พยาบาลซักประวัติ เตรียมตรวจคัดกรองอาการและอาการแสดง ตรวจสัญญาณชีพ ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ และภาวะแทรกซ้อนจากยาของผู้ป่วย ตามแบบคัดกรองผู้ป่วยคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรค เรือ้ รงั - กรณีไมพ่ บอาการผิดปกติให้สง่ ตอ่ เภสชั กร - กรณีพบอาการผดิ ปกติไม่สามารถเตมิ ยาได้ สง่ ผู้ปว่ ยเขา้ คลนิ ิกโรคเรอ้ื รังตามเดิม ๔..เภสัชกรสัมภาษณ์และประเมนิ ทางเภสชั กรรมกบั ผู้ป่วยดว้ ยหลัก.๔.C.และซักภาวะแทรกซอ้ นจาก ยาของผู้ป่วยตามแบบคัดกรองผู้ป่วยคลินิกเติมยาฯอีกครั้ง พร้อมให้คำแนะนำตรวจสอบความถูกต้องของ แผนการส่งั ยา เขยี นใบสง่ั ยาและให้คำปรกึ ษาด้านยาเพือ่ แนะนำวิธีการใชย้ าทถ่ี กู ต้อง - กรณีไม่พบอาการผดิ ปกตจิ ่ายยาตามประวัตกิ ารรกั ษาเดมิ - กรณีพบอาการผิดปกตไิ ม่สามารถเติมยาได้ สง่ ผู้ป่วยเข้าคลนิ กิ โรคเรอ้ื รังตามเดิม ๕. เภสัชกรจ่ายยา ๖. เจา้ หนา้ ท่ีนดั ครัง้ ต่อไป

5 กระบวนการใหบ้ ริการคลนิ ิกเติมยาสำหรบั ผูป้ ่วยโรคเรื้อรงั (Refill) เร่มิ ตน้ ย่นื บตั ร -..เวชระเบยี น ช่งั นา้ หนกั วดั สว่ นสงู วดั ความดนั และเจาะเลอื ด -..พยาบาล ใหส้ ขุ ศึกษารายกลมุ่ คดั กรองผปู้ ่วย .-..พยาบาล คลนิ กิ เตมิ ยา ปกติ -..เภสชั กร ประเมนิ และให้ คำปรึกษาด้านยา ปกติเติมยาได้ ผดิ ปกติ รบั ยา ไมส่ ามารถเติมยาได้ นดั ครงั้ ต่อไป ส่งเขา้ รบั การรกั ษา คลนิ ิกโรคเรอื้ รงั สิ้นสุด สิ้นสดุ

6 แนวทางการดำเนินงานคลนิ ิกเตมิ ยาสำหรบั เภสชั กร บทบาทหน้าทเี่ ภสชั กร มีการประเมนิ ทางเภสัชกรรมกับผปู้ ่วย ดว้ ยหลัก 4 C ได้แก่ 1. ประเมนิ ประสิทธิภาพจากการใช้ยา (Control) 2. ประเมินความร่วมมอื ในการใชย้ า (Compliance) 3. ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการใชย้ า (Complication) 4. ประเมนิ ความความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับการใชย้ า (Concern) อตั รากำลังทใ่ี ชใ้ นคลนิ ิกเตมิ ยา 1. เภสชั กร จำนวน 2 คน 2. เจ้าพนักงานเภสชั กรรม จำนวน 1 คน 3. เจ้าหน้าท่ีห้องยา 1 คน ส่งิ ท่ีจำเป็น 1. มกี ารจัดพื้นท่แี ยกเฉพาะใหเ้ ภสัชกร สำหรับให้บรกิ ารคลนิ กิ เตมิ ยา 2. เคร่อื งคอมพิวเตอร์อยา่ งน้อย 2 เครือ่ ง 3. เคร่ืองพิมพเ์ อกสาร สำหรบั พิมพ์ฉลากยา และ สำหรบั พมิ พใ์ บสงั่ ยา ตัวชี้วัด 1. อตั ราการเกดิ serious ADR จากรายการยาที่ผปู้ ่วยไดร้ ับจากคลินกิ เติมยา เท่ากับ 0 (หมายเหตุ1) 2. อตั ราความคลาดเคลอ่ื นทางยาท่ีมีความรุนแรงระดับ E ขน้ึ ไปเทา่ กับ 0 (หมายเหตุ2) เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง 1. แบบบันทึก serious ADR ผู้ป่วยท่ีเขา้ รับบริการคลนิ ิกเตมิ ยา 2. แบบบนั ทกึ ความคลาดเคล่อื นทางยา หมายเหตุ 1 จำแนกระดบั ความรุนแรงของอาการไมพ่ งึ ประสงคอ์ อกเป็น 4 ระดบั ดังนี้ ระดับที่ 1.(Grade.1).หรอื ระดับเล็กน้อย (mild)หมายถึงอาการไม่พึงประสงค์ท่ีเกิดข้ึนนั้นเกิดขึ้นเพียง แค่รบกวนผปู้ ว่ ยเลก็ นอ้ ยใหรือรสู้ ึกไม่สะดวกสบายเพียงเล็กน้อยหรือชว่ั คราว(ไมเ่ กนิ 48 ช่ัวโมง)ไม่กระทบ กบั ชวี ิตประจำวนั ไมจ่ ำเปน็ ต้องเปลี่ยนการรกั ษา เพยี งแตต่ อ้ งมีการเฝ้าระวงั เพือ่ ให้ม่ันใจวา่ ไม่เกดิ อันตราย ต่อผปู้ ่วยหรืออาการผดิ ปกตนิ ัน้ ไมร่ ุนแรง ระดับท่ี 2.(Grade.2).หรือระดับปานกลาง (moderate) หมายถึงอาการไม่พึงประสงค์ท่ีเกิดข้ึนน้ัน สง่ ผลตอ่ การดำเนินชีวิตของผู้ป่วยเล็กน้อยถึงปานกลาง อาจต้องการความช่วยเหลือ ไม่ต้องการรกั ษาหรือ ต้องการเล็กนอ้ ย เชน่ อาจปรบั เปลีย่ นการรักษาหรือได้รบั การบำบดั อ่นื เพมิ่ ระดับที่ 3.(Grade.3).หรือระดบั รุนแรง (severe) หมายถงึ อาการไม่พึงประสงค์ท่ีเกิดขนึ้ นั้นสง่ ผลกระทบ ตอ่ การปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจำวนั มกั ตอ้ งการความช่วยเหลอื ควรใหห้ ยดุ ใชย้ า และให้การบำบัดรกั ษาผู้ป่วย ระดับที่ 4.(Grade.4).หรือระดับร้ายแรงหรือรุนแรงมาก (serious) หมายถึงอาการไม่พึงประสงค์ท่ี ก่อให้เกิดความพิการถาวร หรือต้องเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยนอนในโรงพยาบาล หรือเสี่ยงต่อการ เสียชวี ติ หรือเสยี ชวี ิต

7 หมายเหตุ 2 การแบ่งระดับความรุนแรงของความคลาดเคลื่อนทางยาท่ีส่งผลต่อผู้ป่วย โดย NCC.MERP (National Coordinating Council of Medication Error Reporting and Prevention) เปน็ ดังน้ี ไมม่ คี วามคลาดเคล่อื น Category A :ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ที่อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน ข้ึนได้ มีความคลาดเคลอ่ื นแตไมเปนอนั ตราย Category B :มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แตไมเปนอันตรายตอผูปวยเนื่องจากความคลาดเคลื่อน ไป…………………….ไม่ถงึ ผูปวย Category C :มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แตไมเปนอันตรายตอผูปวยถึงแมวาความคลาดเคลื่อน น้ันใ……………………จะไปถงึ ผูปวยแลว Category D :มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น.แมไมเปนอันตรายตอผูปวยแตยังจําเปนตองมีการติดตาม ……………………………ผปู วยเพม่ิ เตมิ มีความคลาดเคลือ่ นและเปนอนั ตราย Category E :มีความคลาดเคลอื่ นเกิดข้ึน และเปนอนั ตรายตอผปู วยเพยี งชั่วคราวรวมถึงจําเปนตองไดรับ การรักษาหรือแกไขเพ่มิ เตมิ Category F :มคี วามคลาดเคล่ือนเกดิ ขึน้ และเปนอันตรายตอผปู วยเพยี งชั่วคราวรวมถึงจาํ เปนตองไดรับ การรกั ษาในโรงพยาบาลหรือยืดระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป Category G :มีความคลาดเคล่ือนเกดิ ขน้ึ และเปนอนั ตรายตอผปู วยถาวร Category H :มคี วามคลาดเคล่อื นเกดิ ขึ้น และเปนอันตรายตอผปู วยจนเกอื บถึงแกชีวติ (เชน แพยาแบบ anaphylaxisและหัวใจหยุดเตน)มีความคลาดเคลื่อน และเปนอันตรายจนเสยี ชวี ติ Category I: มคี วามคลาดเคลือ่ นเกิดขนึ้ และเปนอนั ตรายตอผปู วยจนถงึ แกชีวิต ภาวะแทรกซอ้ นจากยาของผ้ปู ว่ ย CC (Chief Complaint)

8 กระบวนการหลังจากให้บรกิ ารที่คลนิ กิ เติมยาสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รัง 1. เม่ือครบกำหนดการเติมยาตามระยะเวลาตามที่แพทย์กำหนด นัดหมายพบแพทย์ในคลินิก โรคเรอื้ รงั ตามเดมิ 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยที่เข้ารับบริการคลินิกเติมยาทุกรายโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ของผปู้ ่วยโรคเรือ้ รังท่ีเขา้ ร่วมคลินิกเตมิ ยาสำหรับผ้ปู ว่ ยโรคเรื้อรงั ๓. ประเมินความพึงพอใจเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเม่ือสิ้นสุด โครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ ต่อโครงการจัดบริการคลินิกเติมยาสำหรับ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๔. เก็บฐานข้อมูลผู้ป่วย ในทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยที่ได้รับบริการเติมยา วิธีการนับจำนวนผู้ป่วย นบั ความสำเร็จของการเติมยาในแต่ละครัง้ (คน = จำนวนคร้ังที่เขา้ รับบรกิ าร ณ คลนิ ิกเตมิ ยาฯ) 5. เก็บระยะเวลาการรอคอยในการให้บริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้ือรัง โดยมีวิธีการ เก็บระยะเวลาตั้งแตเ่ ริม่ ตน้ - สิน้ สดุ บรกิ าร ดขู ้อมลู จากใบสัง่ ยาทป่ี ระทบั ตรา คลนิ ิกเติมยา/Refill ๑. สุ่มเก็บ ก่อนเริ่มบริการคลินิกเติมยาโดยสุ่มเก็บจากผู้ป่วยโรคเร้ือรัง จำนวน ๑๐วัน วนั ละ ๑๐ คน 2. นำระยะเวลาเฉลี่ยที่สุ่มเก็บก่อนเริ่มบริการคลินิกเติมยาเปรียบเทียบกับระยะเวลาเฉล่ีย ของบริการคลนิ กิ เติมยาสำหรบั ผูป้ ่วยโรคเร้ือรงั เพอื่ สรปุ การลดระยะเวลาการรอคอย ตวั ชว้ี ัดโครงการ 1..ร้อยละ80.ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้ือรังมีความพึงพอใจ ในระดับมาก – มากทีส่ ดุ 2..ร้อยละ100.ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้ือรังมีความปลอดภัย จากการใช้ยา 3./ร้อยละ 80ของเจ้าหน้าท่ีท่ีให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความพึงพอใจ ต่อโครงการจัดบริการ คลินิกเตมิ ยาสำหรบั ผู้ป่วยโรคเรอื้ รงั ในระดบั มาก – มากทส่ี ุด

9 วธิ คี ำนวณตวั ชว้ี ัดการจัดบริการคลินิกเติมยาสำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรงั ตัวชวี้ ัด วธิ กี ารคำนวณ นิยาม 1..รอ้ ยละ 80.ของ จำนวนผู้ปว่ ยโรคเร้อื รังท่ีเขา้ รว่ มฯ ที่มคี วามพึงพอใจระดบั มาก – มากที่สดุ x 100 1..ความพึงพอใจของ ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรังทีเ่ ขา้ จำนวนผ้ปู ว่ ยโรคเรื้อรงั ท่ีเขา้ รว่ มฯ ทั้งหมด ผปู้ ว่ ย หมายถึง ความพงึ ร่วมคลนิ กิ เติมยา พอใจของผปู้ ว่ ยท่ีมาใช้ สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรงั บรกิ ารคลินิกเติมยา มคี วามพึงพอใจใน สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ระดบั มาก – มากทสี่ ุด ทุกรายซึ่งมี 5 ระดบั (น้อยท่สี ดุ .–.มากท่ีสุด) โดยประเมนิ จากการตอบ แบบประเมนิ ความพึง พอใจสำหรับผู้ปว่ ยท่รี ับ บรกิ ารฯ 2..ความพึงพอใจระดบั มาก – มากท่ีสุดของ ผู้ปว่ ย หมายถงึ ผ้ปู ว่ ยมี ความพึงพอใจในบริการ คลนิ กิ เตมิ ยาสำหรบั ผูป้ ว่ ยโรคเรอื้ รัง มผี ลการ ประเมินคะแนนเฉล่ยี ระหวา่ ง 3.50 – 5.00 2..รอ้ ยละ 100.ของ จำนวนผปู้ ่วยโรคเรอ้ื รังทเี่ ข้าร่วมฯ ท่มี คี วามปลอดภัยจากการใช้ยา x 100 ความปลอดภัย หมายถึง ผู้ปว่ ยโรคเรื้อรัง ท่เี ขา้ จำนวนผูป้ ว่ ยโรคเรอ้ื รังท่ีเข้ารว่ มฯ ทง้ั หมด ผู้ ป่ ว ย ท่ี เข้ า ม า รั บ บ ริ ก า ร ค ลิ นิ ก เติ ม ย าฯ มี ค ว าม ร่วมคลินิกเติมยา ปลอดภัยจากการใช้ยา โดย สำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเร้อื รัง ป ร ะ เมิ น จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น มคี วามปลอดภยั จาก ทางเภสัชกรรมกับผู้ป่วยดว้ ย ห ลั ก .4.C.แ ล ะ มี อั ต ร า ก า ร การใช้ยา เ กิ ด Serious.ADR.จ า ก รายการยาท่ีผู้ป่วยได้รับจาก คลินิกเติมยาเท่ากับ.0.และ อัตราความคลาดเคลื่อนทาง ยาท่ีมีความรุนแรงระดับ.E. ขนึ้ ไปเท่ากับ๐ ตรวจสอบได้ จ า ก แ บ บ บั น ทึ ก . Serious.ADR.ผู้ป่วยที่เข้ารับ บรกิ ารฯ

10 ตัวชี้วัด วิธีการคำนวณ นิยาม 3./ร้อ ย ละ 80 ขอ ง จำนวนเจา้ หนา้ ท่ฯี ท่ีมคี วามพึงพอใจพอใจระดบั มาก – มากที่สุด x 100 1 ..ค ว าม พึ ง พ อ ใจ ข อ ง เจ้าหน้าท่ีท่ีให้บริการ จำนวนเจา้ หน้าทีท่ ท่ี ำแบบประเมนิ ฯ ทงั้ หมด เจ้ าห น้ า ท่ี ห ม าย ถึ ง ผู้ป่วยโรคเร้ือรังมีความ ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ข อ ง พึงพอใจต่อโครงการ เจ้ า ห น้ า ท่ี ท่ี ให้ บ ริ ก า ร จัดบริการคลินิกเติมยา คลินิ ก เติม ย าสำห รับ สำหรับผู้ป่วยโรคเรือ้ รัง ผู้ป่วยโรคเร้ือรังซ่ึงมี 5 ในระดับมาก – มาก ระดับ (น้อยที่สุดใ–ใมาก ที่สุด ที่ สุ ด )โด ย ป ร ะ เมิ น จ า ก ก า ร ต อ บ แ บ บ ป ร ะ เมิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ส ำ ห รั บ เจ้าหนา้ ทีใ่ หบ้ รกิ ารฯ 2..ความพึงพอใจระดับ มาก – มาก ท่ี สุดขอ ง เจ้ าห น้ า ที่ ห ม าย ถึ ง เจ้าห น้ าที่ มี ค ว าม พึ ง พ อ ใ จ ใ น บ ริ ก า ร ค ลิ นิ ก เติมยาสำหรับผู้ป่วยโรค เรื้อรัง มีผลการประเมิน คะแนนเฉลี่ย ระหว่าง 3.50 – 5.00 * เกณฑ์การประเมินผล (เชิงบวก) 5 ระดบั (สำหรบั การคำนวณแบบประเมินความพงึ พอใจ) ระดบั คา่ เฉลี่ย ความหมาย 1 1.00 – 1.49 นอ้ ยทสี่ ดุ (much below average) 2 1.50 – 2.49 น้อย (below average) 3 2.50 – 3.49 ปานกลาง (fair/average) 4 3.50 – 4.49 มาก (above average) 5 4.50 – 5.00 มากท่ีสุด (much above average)



11 ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 1. ผปู้ ่วยโรคเรือ้ รงั มีความพงึ พอใจต่อการให้บริการคลนิ ิกเตมิ ยา เน่อื งจากลดระยะเวลาการรอคอยในการให้บรกิ าร 2. เพิม่ ระยะเวลาในการตรวจของแพทย์ได้มากข้ึน ในรายทม่ี ีความซับซ้อนของโรค 3. เจา้ หน้าท่ีลดแรงกดดันจากการจำกดั จำนวนผู้ปว่ ยเข้ารับบริการตรวจรักษา เนื่องจากสามารถเพิ่มจำนวนผู้ปว่ ย ใหเ้ ข้ารบั บรกิ ารตรวจรกั ษาไดเ้ พ่ิมข้นึ 4. ผู้ป่วยไดร้ ับการดแู ลรักษาและการเฝา้ ระวงั ภาวะแทรกซอ้ นของโรคเร้ืองรงั โดยเภสัชกร 5. เภสัชกรสามารถดำเนินการตดิ ตามดแู ลการใช้ยาของผปู้ ่วยไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง ทำให้ลดอาการท่ีไมพ่ ึงประสงค์จาก การใช้ยาและเพม่ิ ความรว่ มมอื ในการใช้ยาของผปู้ ว่ ย ปัญหาและอปุ สรรค 1. กรณีเจ้าหน้าที่มีจำนวนน้อย (ติดอบรม ประชุม) ในการคัดกรองผู้ป่วยเข้าคลินิกเติมยาใช้เวลาในการคัดกรอง เป็นเวลานาน สำหรับในหอ้ งยา มีเภสัชกรมีเพียงคนเดียวซึ่งปฏิบตั ิหน้าที่ท้ังจ่ายยาในคลินิกปกติและให้บริการ คลนิ ิกเตมิ ยาดว้ ย ส่งผลใหร้ ะยะเวลาการรอคอยยาของผู้ปว่ ยนานขน้ึ 2. ผู้ป่วยเข้าคลินิกเติมยาแล้ว ในการให้บริการคร้ังถัดไปผู้ป่วยบางคนไม่สามารถเข้ารับบริการคลินิกเติมยาได้ เน่ืองจากผู้ป่วยมาด้วยอาการอื่นร่วมด้วย เช่น มีไข้ ปวดกล้ามเน้ือ ต้องการยานอนหลับเป็นต้น ทำให้ผู้ป่วย เหลา่ นต้ี ้องเข้าพบแพทย์ 3. บางคร้ังผูป้ ว่ ยในคลนิ กิ เติมยาต้องการยาอื่นร่วมดว้ ยหลังจากได้รบั ยาโรคเร้ือรงั แล้ว ซ่งึ ยาอนื่ ๆนั้นไม่สามารถจา่ ย ยาให้ในคลนิ ิกเตมิ ยาได้ เช่น ยานอนหลบั ยาแกค้ ัน เปน็ ตน้ ทำใหผ้ ้ปู ่วยต้องเข้าพบแพทย์อีกครั้งหนง่ึ

ภาคผนวก

13 เกณฑ์การคดั เลอื กผปู้ ว่ ยเข้ารบั บรกิ ารทีค่ ลินกิ เติมยาสำหรับผู้ปว่ ยโรคเร้ือรัง แพทย์ประจำคลินิกโรคเรื้อรังเป็นผู้คัดกรองผู้ป่วยเพื่อเข้าคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตามเกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี ผู้ปว่ ยโรคเรื้อรงั หลกั เกณฑก์ ารคัดเลือกผปู้ ว่ ยเพอื่ เข้าคลินกิ เติมยา 1.ไขมนั ในเลือดสูง - ผลระดับไขมนั ในเลอื ด LDL ไมเ่ กิน ๑๖๐ mg/dl - Triglyceride ไมเ่ กนิ ๕๐๐ mg/dl 2.ความดันโลหติ สงู - ค่าความดนั โลหิต • ผู้ป่วยอายุนอ้ ยกวา่ ๖๐ ปี มีความดนั โลหิตปกติ BP อยูใ่ นช่วง ๑๑๐ – ๑๔0/๖๐ – ๙๐mmHg ตดิ ต่อกนั อย่างน้อย ๒ครัง้ • ผูป้ ว่ ยอายุต้งั แต่ ๖๐ ปีขนึ้ ไป มีความดันโลหิตปกติ BP อยู่ในช่วง ๑๑๐ – ๑๕0/๖๐ – ๙๐ mmHg -อัตราเต้นของหวั ใจ อยู่ระหว่าง ๖๐ – ๑๐๐ ครัง้ ต่อนาที 3.เบาหวาน - น้ำตาลอยรู่ ะหว่าง ๙๐ – ๑๔๐ mg/dl ติดต่อกัน ๓ ครัง้ และHbA1c HbA1cนอ้ ยกวา่ หรือเท่ากับ ๘ - ผู้ปว่ ยเบาหวานท่ีรบั ยาชนดิ กินเทา่ นั้น - ผู้ป่วยเบาหวานมคี วามดันโลหิตปกติ BP อย่ใู นช่วง ๑๑๐ –๑๔0/ ๖๐ – ๙๐mmHgติดตอ่ กันอยา่ งนอ้ ย ๒ ครง้ั - อตั ราเต้นของหัวใจ อยู่ระหว่าง ๖๐ – ๑๐๐ ครั้งต่อนาที *** หมายเหตุ : ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รังดังกล่าว ไม่มภี าวะดงั ต่อไปน้ี - อัตราการกรองไต (eGFR) น้อยกวา่ ๖๐ - มีโรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ด โรคหลอดเลอื ดสมอง - มีแผลท่เี ท้าเร้ือรงั - ค่าเอนไซม์ของตับ ผิดปกติ - ค่าอีเล็คโทรไลท์ผิดปกติ - ในกรณีผปู้ ่วยไดร้ ับยา HCTZ ค่ายูริกสูง ไม่มากกว่า ๗ mg/dl

14 ใบตรวจสอบคณุ สมบัติ(Checklist)ผ้ปู ่วยโรคเรอื้ รังทีเ่ ขา้ เกณฑใ์ นการเติมยา (Refill) (กอ่ นเขา้ คลนิ กิ ) ไขมันในเลือด LDL ≤ 160 my/dl ไขมนั ในเลือด TG ≤ 500 my/dl เบาหวาน DTX 90 – 140 my/dl และ HBA1C < 8 ไขมนั ในเลือด BP ≤ 140 - 190 mmHy ไขมนั ในเลือด HR 60 – 100 คร้งั /นาที ความดนั โลหติ สูง BP (อายุ < 60 ปี)110 – 140 / 60 – 90 mmHg ความดันโลหติ สงู BP (อายุ ≥ 60 ปี) 110 – 140 / 60 – 90 mmHg ไขมนั ในเลือด HR 60 – 100 ครง้ั /นาที ไมม่ ีภาวะ อัตราการกรองไต (eGFR) น้อยกวา่ ๖๐ มีโรคกลา้ มเนือ้ หวั ใจขาดเลอื ด โรคหลอดเลอื ดสมอง มแี ผลท่เี ทา้ เรอ้ื รัง ค่าเอนไซมข์ องตบั ผิดปกติค่าอีเล็คโทรไลทผ์ ิดปกติในกรณีผู้ปว่ ยไดร้ ับยา HCTZ ค่ายรู ิกสงู ไม่มากกวา่ ๗ mg/dl ลงชือ่ ...................................................................... (.....................................................................) ตำแหนง่ .............................................................. วันที่ ....................................................................

15 แบบบันทกึ ผู้ป่วยสมัครใจเขา้ ร่วมโครงการ จัดบรกิ ารคลนิ ิกเติมยาสำหรบั ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รงั ศนู ย์บริการสาธารณสุข............................................................ เลขที่ผู้ป่วย......................................................... ข้าพเจ้า (นาย, นาง, นางสาว)............................................................นามสกลุ ....................................... สมัครใจเข้าร่วมโครงการจัดบริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้ือรัง ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่สะดวก รวดเรว็ มีความปลอดภัย และลดเวลาการรอคอยในการตรวจรักษา โดยข้าพเจ้าได้รับการเติมยาตามท่ีแพทย์นัด และได้รับ บริการจากพยาบาลเพอื่ ช่ังนำ้ หนัก วัดความดนั โลหิต ซกั ประวัติและประเมนิ ภาวะแทรกซ้อน เม่ืออยูใ่ นเกณฑท์ ีก่ ำหนด จะได้รับ บริการจากเภสัชกรเพื่อรับยา พร้อมท้ังประเมินความถูกต้องของยาที่ได้รับ เม่ือครบกำหนดการเติมยาจะได้เข้าคลินิกโรคเรื้อรัง ตามปกติ ข้าพเจา้ สมคั รใจเติมยาโดยไม่พบแพทย์ วนั ท่ี ลายมือช่อื ผปู้ ว่ ย

16 ชอ่ื …………………………………….HN……………… แบบคัดกรองผู้ป่วยคลินิกเตมิ ยาสำหรับผูป้ ่วยโรคเรื้อรงั วันที่ 1. การตรวจสัญญาณชพี และการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ใช่ ไมใ่ ช่ ใช่ ไมใ่ ช่ ใช่ ไมใ่ ช่ - BP อยใู่ นช่วง 110 – 140 / 60 – 90 mmHg *ผ้ปู ่วยความดันโลหิตสูงท่ีไม่เป็นโรคเบาหวานอายุต้งั แต่ ๖๐ ปีข้ึนไป BP อยูใ่ นช่วง ๑๑๐ –๑๕0/๖๐ – ๙๐mmHg - อัตราการเต้นชีพจร อยู่ระหว่าง 60 – 100 ครงั้ ต่อนาที - ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด 90 – 140 mg/dl HbA1c นอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับ ๘ 2. อาการและอาการแสดง ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี มี - ภาวะน้ำตาลในเลือดตำ่ (Hypoglycemia) - หนา้ มดื ,ใจสั่น,เหงอื่ แตก - ภาวะน้ำตาลในเลอื ดสงู (Hyperglycemia) - ถา่ ยปัสสาวะมากผิดปกติ (Polyuria), คลื่นไส้ อาเจยี น, หายใจหอบลึก, กระหายน้ำมากกวา่ ปกติ (Polydipsia) - อาการเจบ็ หน้าอก - เหนอ่ื ยง่ายกวา่ ปกติ - แขน ขา ออ่ นแรง - มภี าวะแทรกซอ้ นจากการใช้ยา - อาการไอแห้ง, ขาบวม, หอบเหน่ือย, ปวดท้อง, ถา่ ยดำ - อาการผิดปกตอิ ่นื ๆ ระบุ.................... ผูค้ ดั กรอง

แบบบันทกึ Serious ADR ผ้ปู ว่ ยทเี่ ข้ารับบ ระบุ serious ADR ลำดบั ชอ่ื -นามสกุล HN คร้งั ที่ 1 ไม่พบ พบ (วนั ท)่ี 1 (ช่ือยา/ 2 3 อาการ) 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

17 บรกิ ารคลนิ ิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเร้อื รัง วนั ทีเ่ ข้ารับบริการคลินิกเติมยา ครั้งที่ 2 ระบุ serious ADR ระบุ serious ADR ระบุ serious ADR (วนั ท่ี) ไม่พบ พบ ครั้งท่ี 3 ไม่พบ พบ ครงั้ ที่ 4 (ชอื่ ยา/ (วันที่) (วันที่) ไม่พบ พบ (ชือ่ ยา/ (ช่อื ยา/ อาการ) อาการ) อาการ)

18 แบบประเมนิ ความพึงพอใจสำหรบั ผ้ปู ว่ ยทร่ี บั บริการ คลินกิ เตมิ ยาสำหรับผู้ปว่ ยโรคเร้ือรัง สว่ นท่ี 1 การประเมนิ ความพึงพอใจในการรับบรกิ าร คำช้ีแจง กรุณาทำเครือ่ งหมาย✓ลงในช่องและใสข่ อ้ ความใหต้ รงกบั ความคิดเห็นของท่านมากทสี่ ุด ขอ้ ประเด็น มากทส่ี ดุ ระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ยท่ีสดุ (5) มาก ปานกลาง น้อย (1) (4) (3) (2) 1. ท่านได้รบั ความสะดวกรวดเร็วเม่ือเทยี บกับบรกิ ารใน รปู แบบเดิม 2. ทา่ นได้รับยาถกู ตอ้ งตามรายการยา 3. ท่านมีความพงึ พอใจต่อเจ้าหนา้ ที่คลินกิ เติมยา สำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรัง 4. ในภาพรวมทา่ นมีความพึงพอใจการใหบ้ รกิ ารคลนิ ิก สำหรับผู้ป่วยโรคเรือ้ รัง ประเดน็ ใช่ ไมใ่ ช่ 5. ท่านต้องการได้รบั บริการคลินกิ เติมยาสำหรับผูป้ ่วยโรคเรอื้ รัง ในคร้งั ต่อไป ส่วนที่ 2ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................

19 แบบประเมินความพึงพอใจของเจ้าหน้าทที่ ใ่ี ห้บริการ คลนิ ิกเติมยาสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รงั ส่วนท่ี ๑ การประเมนิ ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการ คำชี้แจง กรณุ าทำเคร่ืองหมาย✓ลงในช่องและใสข่ ้อความใหต้ รงกับความคิดเหน็ ของทา่ นมากทสี่ ุด ข้อ ประเด็น มากท่ีสุด ระดบั ความพงึ พอใจ น้อยทสี่ ดุ (5) มาก ปานกลาง น้อย (1) (4) (3) (2) 1. การบริการคลินิกเตมิ ยาสำหรับผู้ปว่ ยโรคเรื้อรัง ทำใหก้ ารใหบ้ ริการผูป้ ว่ ยรวดเร็วขึน้ 2. การให้บรกิ ารคลินิกเติมยาสำหรบั ผ้ปู ่วยโรคเรอ้ื รังไมเ่ ปน็ ภาระของท่านมากเกินไป 3. การจัดบริการคลนิ กิ เตมิ ยาทำใหง้ านในความรบั ผิดชอบของ ท่านมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน 4. การให้บรกิ ารคลนิ ิกเตมิ ยาสำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรงั ไม่ กระทบตอ่ การใหบ้ รกิ ารในภาคบ่ายของทา่ น 5. ท่านพึงพอใจระบบการทำงานแบบคลินิกเติมยาสำหรบั ผ้ปู ว่ ยโรคเรือ้ รงั ส่วนที่ ๒ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................

20 แบบตรวจสอบการดำเนนิ งานคลนิ ิกเตมิ ยาสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเร้อื รัง การดำเนนิ งานคลินิกเติมยาฯ ดำเนินการ ไมด่ ำเนนิ การ กอ่ นให้บรกิ ารคลนิ ิกเติมยาฯ 1. คัดกรองผ้ปู ว่ ยตามเกณฑ์ 2. ผูป้ ่วยสมคั รใจลงนามในใบยนิ ยอม 3. นัดหมายผู้ป่วยเขา้ คลนิ กิ เติมยาฯ ใหบ้ ริการคลนิ กิ เติมยาฯ 1. ซกั ประวัติ คัดกรอง อาการ และอาการแสดง ตรวจสัญญาณชีพ ตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร และภาวะแทรกซอ้ นจากยา 2. ประเมนิ ความปลอดภยั จากการใชย้ าตามตัวช้ีวดั ของเภสัชกร 3. จา่ ยยา หลังการใหบ้ รกิ ารคลินิกเตมิ ยาฯ 1. นัดผู้ปว่ ยเข้าคลนิ กิ โรคเรอื้ รังเมอ่ื ครบกำหนดการเติมยาฯ 2. ประเมนิ ความพึงพอใจผูป้ ว่ ยทุกราย 3. ประเมินความพงึ พอใจเจ้าหนา้ ท่ีที่ให้บริการ 4. เกบ็ ข้อมูลผ้ปู ว่ ยในทะเบยี นช่อื ผูป้ ่วยท่ไี ดร้ ับบริการเตมิ ยาฯ 5. เกบ็ ระยะเวลาการรอคอย

21 แบบรายงานรอบระยะเวลาการให้บรกิ ารคลนิ กิ เติมยาสำหรับผ้ปู ว่ ยโรคเรือ้ รัง เดือนท่ีเก็บขอ้ มูล................................................... ระยะเวลาก่อนให้บริการคลินกิ เติมยาสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคเรือ้ รงั …………………………………….................................... ผ้จู ดั เก็บขอ้ มลู .......................................... ตำแหนง่ ........................................... รายที่ โรคเรอ้ื รัง เวลาเริม่ ต้น เวลาสิ้นสุด ระยะเวลาท่ี ผลเปรยี บเทยี บ DM HT DLP ใหบ้ ริการ ใหบ้ ริการ ใหบ้ ริการจริง ระยะเวลาก่อน ให้บริการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 หมายเหตุ กรอกผลการเปรยี บเทียบกบั ระยะเวลาให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรอื้ รงั ระยะเวลาก่อนการ ให้บริการคลินิกเติมยาสำหรับผู้ป่วยโรคเรอื้ รงั ด้วยตวั เลขดังน้ี 0 แทนผ้ใู ช้บรกิ ารได้รับบริการเกนิ กว่าระยะเวลาการใหบ้ ริการคลินิกผู้ป่วยโรคเร้ือรงั 1 แทนผูใ้ ชบ้ ริการได้รบั บรกิ ารเทา่ กับระยะเวลาการใหบ้ ริการคลนิ กิ ผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รงั 2 แทนผใู้ ช้บริการได้รบั บริการรวดเร็วกวา่ ระยะเวลาการใหบ้ รกิ ารคลนิ ิกผปู้ ่วยโรคเรือ้ รัง

22 แบบรายงานรอบระยะเวลาการให้บรกิ ารคลนิ ิกเตมิ ยาผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั วันที่เกบ็ ข้อมูล......................................................... ผู้จัดเก็บข้อมูล.......................................... ตำแหนง่ ........................................... รายที่ โรคเรื้อรัง เวลาเรม่ิ ต้น เวลาสิน้ สดุ ระยะเวลาท่ี ใหบ้ รกิ าร ให้บริการ ให้บรกิ ารจริง DM HT DLP 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

23 แบบรายงานบริการคลนิ กิ เตมิ ยาสำหรับผปู้ ่วยโรคเร้อื รงั ประจำเดอื น......................................... จำนวนผ้ปู ว่ ย (คน) ความคลาดเคล่ือนทางยาระดบั Serious ADR ที่นดั เข้าคลินกิ เตมิ ยา E ข้ึนไป (จำนวนคน) ทัง้ หมด Refill Refill (จำนวนใบส่ังยา) สำเรจ็ ไมส่ ำเรจ็ ลงช่อื ...................................................ผู้รายงาน (..................................................) ตำแหน่ง........................................................... วันที่.................................................................