Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

Description: หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

41 3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อส่ือสาร การทางานและการวิจัย เช่น เครือข่ายสังคม (Social Network) การใชฐ้ านขอ้ มลู ในการวจิ ัย 6. ทักษะพสิ ยั 1. มที ักษะในการบรหิ ารจัดการและประเมินเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ 2. มีความสามารถในการออกแบบ สร้างสรรค์เกีย่ วกบั ด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรียนรู้ 3. มีทกั ษะในการวจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้

4 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 1.เป็นผ้นู าในการ 1. มคี วามร้แู ละความเข้าใจอยา่ งถ่อง 1. จัดการต่อประเด็นและปญั หา สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมในการ แทแ้ ละลกึ ซึ้งในแนวคิด หลกั การ อยา่ งเปน็ ระบบ ทางานและตอ่ ชมุ ชน ทฤษฎี และงานวิจัย ท่เี กยี่ วข้อง 2. ริเรมิ่ และสรา้ งสรรค์ความรู้และ 2. จัดการปัญหาโดยยึด หลกั คณุ ธรรม กบั เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ นวัตกรรมใหม่ จรยิ ธรรมทีม่ ี ผลกระทบต่อตนเอง เรียนรู้ 3. สังเคราะห์และใชผ้ ลงานวจิ ัย และผู้อนื่ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ เพอื่ พฒั นาความคดิ ใหม่หรือ 3. เคารพสทิ ธิ กฎระเบียบ และ ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรูใ้ หม่ เสนอความรู้ใหมไ่ ด้อยา่ ง ข้อบงั คับขององคก์ ร และสังคม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ ต่อสาขา สรา้ งสรรค์ วชิ าชีพ สังคม สภาพแวดล้อมของ 4. วางแผนและจดั การโครงการได้ ระดับชาติ และนานาชาติใน ดว้ ยตนเอง ปจั จุบนั และอนาคต 5. วางแผนและจดั การ 3. จัดการความร้ทู างเทคโนโลยแี ละ โครงการวจิ ัยเพ่ือขยายองค์ นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง ความรูห้ รอื แนวทางปฏบิ ตั ใิ น วิชาชีพ ที่มอี ยเู่ ดิมไดอ้ ยา่ งมี นัยสาคัญ

42 สาหรบั หมวดวชิ าเฉพาะ 4. ด้านทักษะความสมั พันธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข ระหว่างบคุ คลและความ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย รับผิดชอบ สารสนเทศ 1.แก้ไขปัญหาทม่ี ีความ 1. คดั กรองข้อมูลทาง 1. มีทกั ษะในการบริหารจดั การ ซับซ้อน หรอื ย่งุ ยาก คณิตศาสตร์ และสถติ ิ ใน และประเมินเทคโนโลยีและ ระดับสงู ทางวชิ าชพี ด้วย การค้นควา้ สรุป และ นวตั กรรมการเรยี นรู้ การตัดสินใจดาเนินงาน เสนอแนะได้ 2. มคี วามสามารถในการออกแบบ และประเมนิ ดว้ ยตนเอง 2. ส่ือสารในการพูด ฟัง อา่ น สร้างสรรค์เกยี่ วกบั ดา้ น ได้ และเขยี นอยา่ งมี เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 2.วางแผนปรับปรงุ ตนเอง ประสิทธิภาพและเหมาะสม เรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพในการ กบั กลุม่ บุคคลในวงการ 3. มีทกั ษะในการวิจัย และพฒั นา ปฏิบัติงานระดบั สงู ได้ วิชาการและวิชาชพี และ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 3.รับผดิ ชอบการ ชมุ ชน เรียนรู้ ดาเนินงานของตนเอง 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน และรว่ มมอื กบั ผู้อ่นื ได้ การติดตอ่ สือ่ สาร การทางาน อย่างเตม็ ที่ และการวจิ ัย เชน่ เครือขา่ ย 4.เป็นผู้นาได้อย่าง สงั คม (Social Network) เหมาะสมเพอ่ื ให้การ การใช้ฐานขอ้ มูลในการวิจยั ทางานของกล่มุ มี ประสิทธิภาพ

4 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ  ความรับผดิ ชอบหลัก รายวชิ า 1. คณุ ธรรม 2. ความรู้ จริยธรรม 123 1 2 3 02-211-601 พนื้ ฐานทางการศึกษา     02-311-601 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 02-131-601 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั    02-311-605 นวตั วถิ ที างการศึกษา 02-311-602 การสร้างสรรค์ส่ือใหมแ่ ละแหลง่ การ        เรียนร้แู บบเปดิ   02-311- 604 การบริหารและการจดั การเทคโนโลยี     และนวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-311-701 สัมมนาทางเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ      เรียนรู้ 02-312-601 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร      เพื่อการเรียนรู้

43 รเรยี นรูจ้ ากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6. ทักษะพสิ ัย ความสัมพันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ ระหวา่ งบคุ คลและ ตัวเลข การ 123 ความรับผดิ ชอบ ส่อื สาร และการ  ใชเ้ ทคโนโลยี  สารสนเทศ 12345123 4 1 2 3                                            

4 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 1.เป็นผ้นู าในการ 1. มคี วามร้แู ละความเข้าใจอยา่ งถ่อง 1. จัดการต่อประเด็นและปญั หา สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมในการ แทแ้ ละลกึ ซึ้งในแนวคิด หลกั การ อยา่ งเปน็ ระบบ ทางานและตอ่ ชมุ ชน ทฤษฎี และงานวิจัย ท่เี กยี่ วข้อง 2. ริเรมิ่ และสรา้ งสรรค์ความรู้และ 2. จัดการปัญหาโดยยึด หลกั คณุ ธรรม กบั เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ นวัตกรรมใหม่ จรยิ ธรรมทีม่ ี ผลกระทบต่อตนเอง เรียนรู้ 3. สังเคราะห์และใช้ผลงานวจิ ัย และผู้อนื่ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ เพอื่ พฒั นาความคดิ ใหม่หรือ 3. เคารพสทิ ธิ กฎระเบียบ และ ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรูใ้ หม่ เสนอความรู้ใหมไ่ ดอ้ ยา่ ง ข้อบงั คับขององคก์ ร และสังคม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ ต่อสาขา สรา้ งสรรค์ วชิ าชีพ สังคม สภาพแวดล้อมของ 4. วางแผนและจดั การโครงการได้ ระดับชาติ และนานาชาติใน ดว้ ยตนเอง ปจั จุบนั และอนาคต 5. วางแผนและจัดการ 3. จัดการความร้ทู างเทคโนโลยแี ละ โครงการวจิ ัยเพ่ือขยายองค์ นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง ความรหู้ รอื แนวทางปฏบิ ตั ใิ น วิชาชพี ที่มอี ยเู่ ดิมไดอ้ ยา่ งมี นัยสาคัญ

44 สาหรบั หมวดวชิ าเฉพาะ 4. ด้านทักษะความสมั พันธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข ระหว่างบคุ คลและความ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย รับผิดชอบ สารสนเทศ 1.แก้ไขปัญหาทม่ี ีความ 1. คดั กรองข้อมูลทาง 1. มีทกั ษะในการบริหารจดั การ ซับซ้อน หรอื ยงุ่ ยาก คณิตศาสตร์ และสถติ ิ ใน และประเมินเทคโนโลยีและ ระดับสงู ทางวชิ าชพี ด้วย การค้นควา้ สรุป และ นวตั กรรมการเรยี นรู้ การตัดสินใจดาเนินงาน เสนอแนะได้ 2. มคี วามสามารถในการออกแบบ และประเมนิ ดว้ ยตนเอง 2. ส่ือสารในการพดู ฟัง อา่ น สร้างสรรค์เกยี่ วกบั ดา้ น ได้ และเขยี นอยา่ งมี เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 2.วางแผนปรับปรงุ ตนเอง ประสิทธิภาพและเหมาะสม เรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพในการ กบั กลุม่ บุคคลในวงการ 3. มีทกั ษะในการวิจัย และพฒั นา ปฏิบัติงานระดบั สงู ได้ วิชาการและวิชาชพี และ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 3.รับผดิ ชอบการ ชมุ ชน เรียนรู้ ดาเนินงานของตนเอง 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน และรว่ มมอื กบั ผู้อ่นื ได้ การติดตอ่ สือ่ สาร การทางาน อย่างเตม็ ที่ และการวจิ ัย เชน่ เครือขา่ ย 4.เป็นผู้นาได้อย่าง สงั คม (Social Network) เหมาะสมเพอ่ื ให้การ การใช้ฐานขอ้ มลู ในการวิจยั ทางานของกล่มุ มี ประสิทธิภาพ

4 แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการ  ความรบั ผดิ ชอบหลัก รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ จริยธรรม 123 1 2 3 02-311-603 การวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยแี ละ      นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-311-702 การเรยี นรู้ผ่านโสตประสาท    02-311-703 แนวโนม้ และวถิ ใี หม่ทางเทคโนโลยแี ละ       นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-311-704 การสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้       รอบโลก 02-311-705 เรยี นรู้เพ่ือรู้เรยี นสาหรับนวตั กร     02-311-706 กลยทุ ธ์การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม       02-311 -707 การจดั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรูเ้ สมอื น   จริง 02-312-701 สอื่ สงั คมออนไลน์เพ่ือการเรียนรู้  

45 รเรยี นรจู้ ากหลกั สตู รสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ก  ความรับผดิ ชอบรอง 3. ทักษะทางปญั ญา 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ 6. ทักษะพสิ ยั ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ระหวา่ งบุคคลและ ตวั เลข การ 123 ความรบั ผดิ ชอบ ส่ือสาร และการ  ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 12345123 4 1 2 3                                     

4 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 1.เป็นผ้นู าในการ 1. มคี วามร้แู ละความเข้าใจอยา่ งถ่อง 1. จัดการต่อประเด็นและปญั หา สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมในการ แทแ้ ละลกึ ซึ้งในแนวคิด หลกั การ อยา่ งเปน็ ระบบ ทางานและตอ่ ชมุ ชน ทฤษฎี และงานวิจัย ท่เี กยี่ วข้อง 2. ริเรมิ่ และสรา้ งสรรคค์ วามรู้และ 2. จัดการปัญหาโดยยึด หลกั คณุ ธรรม กบั เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ นวัตกรรมใหม่ จรยิ ธรรมทีม่ ี ผลกระทบต่อตนเอง เรียนรู้ 3. สังเคราะห์และใชผ้ ลงานวจิ ัย และผู้อนื่ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ เพอื่ พฒั นาความคดิ ใหมห่ รอื 3. เคารพสทิ ธิ กฎระเบียบ และ ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรูใ้ หม่ เสนอความรู้ใหมไ่ ดอ้ ยา่ ง ข้อบงั คับขององคก์ ร และสังคม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ ต่อสาขา สรา้ งสรรค์ วชิ าชีพ สังคม สภาพแวดล้อมของ 4. วางแผนและจดั การโครงการได้ ระดับชาติ และนานาชาติใน ดว้ ยตนเอง ปจั จุบนั และอนาคต 5. วางแผนและจัดการ 3. จัดการความร้ทู างเทคโนโลยแี ละ โครงการวจิ ัยเพ่ือขยายองค์ นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง ความรหู้ รอื แนวทางปฏบิ ตั ใิ น วิชาชพี ที่มอี ยเู่ ดิมไดอ้ ย่างมี นัยสาคัญ

46 สาหรบั หมวดวชิ าเฉพาะ 4. ด้านทักษะความสมั พันธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข ระหว่างบคุ คลและความ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย รับผิดชอบ สารสนเทศ 1.แก้ไขปัญหาทม่ี ีความ 1. คดั กรองข้อมูลทาง 1. มีทกั ษะในการบริหารจดั การ ซับซ้อน หรอื ย่งุ ยาก คณิตศาสตร์ และสถติ ิ ใน และประเมินเทคโนโลยีและ ระดับสงู ทางวชิ าชพี ด้วย การค้นควา้ สรุป และ นวตั กรรมการเรยี นรู้ การตัดสินใจดาเนินงาน เสนอแนะได้ 2. มคี วามสามารถในการออกแบบ และประเมนิ ดว้ ยตนเอง 2. ส่ือสารในการพูด ฟัง อา่ น สร้างสรรค์เกยี่ วกบั ดา้ น ได้ และเขยี นอยา่ งมี เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 2.วางแผนปรับปรงุ ตนเอง ประสิทธิภาพและเหมาะสม เรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพในการ กบั กลุม่ บุคคลในวงการ 3. มีทกั ษะในการวิจัย และพฒั นา ปฏิบัติงานระดบั สงู ได้ วิชาการและวิชาชพี และ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 3.รับผดิ ชอบการ ชมุ ชน เรียนรู้ ดาเนินงานของตนเอง 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน และรว่ มมอื กบั ผู้อ่นื ได้ การติดตอ่ สือ่ สาร การทางาน อย่างเตม็ ที่ และการวจิ ัย เชน่ เครือขา่ ย 4.เป็นผู้นาได้อย่าง สงั คม (Social Network) เหมาะสมเพอ่ื ให้การ การใช้ฐานขอ้ มูลในการวิจยั ทางานของกล่มุ มี ประสิทธิภาพ

4 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการ  ความรบั ผิดชอบหลัก รายวชิ า 1. คณุ ธรรม 2. ความรู้ จรยิ ธรรม 123 1 2 3 02-312-702 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อ   การเรียนรู้ 02-312-703 สอื่ ดิจิทัลเพ่ือการศึกษา   02-312-704 การพัฒนาแอปพลเิ คชันเพ่ือการเรยี นรู้   02-313-701 การพฒั นาสื่อปญั ญาประดษิ ฐ์เพอ่ื การ   เรยี นรู้ 02-313-702 นวตั กรรมสงิ่ ประดิษฐ์เพ่ือการเรียนรู้     02-313-703 การผลิตรายการวิทยุ-โทรทัศน์ดิจทิ ลั   เพอื่ การเรียนรู้ตามอัธยาศยั 02-314-701 ววิ ฒั นาการเรียนรู้จากอเี ลริ ์นนิง่ ถงึ ยูเลิรน์ นงิ่  

47 รเรยี นรจู้ ากหลักสตู รสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping) ก  ความรบั ผิดชอบรอง 3. ทักษะทางปญั ญา 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ 6. ทักษะพสิ ัย ความสัมพันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ ระหว่างบุคคลและ ตวั เลข การ 123 ความรบั ผดิ ชอบ สอื่ สาร และการ  ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 12345123 4 1 2 3                                  

4 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 1.เป็นผ้นู าในการ 1. มคี วามร้แู ละความเข้าใจอยา่ งถ่อง 1. จัดการต่อประเด็นและปญั หา สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมในการ แทแ้ ละลกึ ซึ้งในแนวคิด หลกั การ อยา่ งเปน็ ระบบ ทางานและตอ่ ชมุ ชน ทฤษฎี และงานวิจัย ท่เี กยี่ วข้อง 2. ริเรมิ่ และสรา้ งสรรค์ความรู้และ 2. จัดการปัญหาโดยยึด หลกั คณุ ธรรม กบั เทคโนโลยีและนวตั กรรมการ นวัตกรรมใหม่ จรยิ ธรรมทีม่ ี ผลกระทบต่อตนเอง เรียนรู้ 3. สังเคราะห์และใชผ้ ลงานวจิ ัย และผู้อนื่ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ เพอื่ พฒั นาความคดิ ใหมห่ รือ 3. เคารพสทิ ธิ กฎระเบียบ และ ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรูใ้ หม่ เสนอความรู้ใหมไ่ ดอ้ ย่าง ข้อบงั คับขององคก์ ร และสังคม โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ ต่อสาขา สรา้ งสรรค์ วชิ าชีพ สังคม สภาพแวดล้อมของ 4. วางแผนและจดั การโครงการได้ ระดับชาติ และนานาชาติใน ดว้ ยตนเอง ปจั จุบนั และอนาคต 5. วางแผนและจัดการ 3. จัดการความร้ทู างเทคโนโลยแี ละ โครงการวจิ ัยเพ่ือขยายองค์ นวตั กรรมการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง ความรหู้ รอื แนวทางปฏบิ ตั ิใน วิชาชพี ที่มอี ยเู่ ดิมไดอ้ ย่างมี นัยสาคัญ

48 สาหรบั หมวดวชิ าเฉพาะ 4. ด้านทักษะความสมั พันธ์ 5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข ระหว่างบคุ คลและความ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย รับผิดชอบ สารสนเทศ 1.แก้ไขปัญหาทม่ี ีความ 1. คดั กรองข้อมูลทาง 1. มีทกั ษะในการบริหารจดั การ ซับซ้อน หรอื ย่งุ ยาก คณติ ศาสตร์ และสถติ ิ ใน และประเมินเทคโนโลยีและ ระดับสงู ทางวชิ าชพี ด้วย การค้นควา้ สรุป และ นวตั กรรมการเรยี นรู้ การตัดสินใจดาเนินงาน เสนอแนะได้ 2. มคี วามสามารถในการออกแบบ และประเมนิ ดว้ ยตนเอง 2. ส่ือสารในการพูด ฟัง อา่ น สร้างสรรค์เกยี่ วกบั ดา้ น ได้ และเขยี นอยา่ งมี เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 2.วางแผนปรับปรงุ ตนเอง ประสิทธิภาพและเหมาะสม เรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพในการ กบั กลุม่ บุคคลในวงการ 3. มีทกั ษะในการวิจัย และพฒั นา ปฏิบัติงานระดบั สงู ได้ วิชาการและวิชาชพี และ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการ 3.รับผดิ ชอบการ ชมุ ชน เรียนรู้ ดาเนินงานของตนเอง 3. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน และรว่ มมอื กบั ผู้อ่นื ได้ การติดตอ่ สือ่ สาร การทางาน อย่างเตม็ ที่ และการวจิ ัย เชน่ เครือขา่ ย 4.เป็นผู้นาได้อย่าง สงั คม (Social Network) เหมาะสมเพอ่ื ให้การ การใช้ฐานขอ้ มูลในการวิจยั ทางานของกล่มุ มี ประสิทธิภาพ

4 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ  ความรบั ผิดชอบหลัก รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ จรยิ ธรรม 02-314-702 การออกแบบสือ่ บูรณาการเพื่อการ 123 1 2 3 เรียนรู้   02-317-702 วิทยานิพนธ์    

49 รเรียนรู้จากหลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง 3. ทกั ษะทางปญั ญา 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6. ทกั ษะพสิ ยั ความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชิง ระหวา่ งบุคคลและ ตวั เลข การ 123 ความรบั ผิดชอบ ส่ือสาร และการ  ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 12345123 4 1 2 3            

50 แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลลัพธ์การเรยี นรูร้ ะดับหลกั สูตร (PLO) และผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ระดบั หลักสูตรย่อย (Sub PLO) ในตารางมคี วามหมายดังนี้ 1. PLO 1 : สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ความรู้ เฉพาะกลุ่มวิชาและสามารถประยุกต์ใชส้ ถติ ิในการศกึ ษาวิจยั ท่สี ามารถบูรณาการองคค์ วามรู้ เพอ่ื ต่อยอดงานวิจยั ท่ีนาไปสู่การพัฒนานวตั กรรมดา้ นการเรียนรู้ทที่ นั สมยั ได้ Sub PLO 1.1 เช่ือมโยงสถานการณ์โลกและเทคโนโลยีให้ทันกับยุคปจั จบุ ัน Sub PLO 1.2 พฒั นาต่อยอดงานวจิ ยั จนไดอ้ งคค์ วามรู้ใหม่ทที่ นั สมัยยิ่งขึน้ Sub PLO 1.2 บูรณาการเชงิ สถติ ิเพื่อสังเคราะห์งานวิจยั จนได้ผลลัพธท์ ถ่ี ูกตอ้ ง 2. PLO 2 : สามารถนาความรเู้ ฉพาะกลุ่มวิชามาประยุกตใ์ ช้และบรู ณาการกบั การศึกษาวทิ ยานิพนธ์ การวางแผนการจัดทาวิทยานิพนธ์ วิธีการดาเนินงาน การวิเคราะห์และอภิปรายผลตลอดจน นาเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณะได้ Sub PLO 2.1 นาเสนอผลการวจิ ัยในทีป่ ระชมุ ระดับชาตแิ ละนานาชาติ Sub PLO 2.2 เผยแพรผ่ ลงานตีพมิ พ์ในวารสารที่อยใู่ นฐานข้อมลู ท่ีสากลยอมรับ Sub PLO 2.3 ศกึ ษาวิจัยอยา่ งรอบคอบภายใต้กรอบจรรยาบรรณนักวจิ ยั 3. PLO 3 : สามารถเป็นผู้นาในองค์กร เป็นนักวางแผนและพัฒนาองค์กรให้เกิดความก้าวหน้าด้วย ผลการวิจยั ในองค์กรท่ีนาไปสู่การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน พรั่งพร้อมด้วยเทคโนโลยลี ้าสมัย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบส่วนรวม สามารถแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าได้ Sub PLO 3.1 ประยุกต์งานวจิ ยั เขา้ กบั กระบวนการทางานภายในองคก์ ร Sub PLO 3.2 มีวิสัยทัศน์บริหารองค์กรด้านการศึกษาสมบทบาทความเป็นผู้นามี คุณธรรม จริยธรรม สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบส่วนรวม สามารถ แกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าได้ Sub PLO 3.3 สรรหาเทคโนโลยีทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับองค์กรด้านการศึกษา PLO 4 : นาวิทยาการท่ีได้รับจากงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้สู่ชุมชนรอบข้าง และนาภูมิ ปญั ญาทอ้ งถ่นิ มาบูรณาการรว่ มกบั งานวิจัย และเผยแพรอ่ งคค์ วามรูใ้ หมส่ สู่ าธารณชน Sub PLO 4.1 เก็บข้อมูลวจิ ัยเชงิ ลึกกบั ปราชญช์ าวบ้านและภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น Sub PLO 4.2 สง่ เสรมิ ให้เกิดการสรา้ งงาน สร้างอาชีพ เกิดรายไดแ้ กช่ ุมชน Sub PLO 4.3 ประยกุ ต์ใชร้ ปู แบบการจัดการความร้แู ละถา่ ยโยงความรสู้ ู่ชุมชน

51 แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบผล และผลลัพธ์การเรียนรูร้ ะดับหลกั สตู รย่อย (Sub P  ความรบั ผดิ ชอบหลกั รายวิชา Sub PLO PLO1 Sub PLO S 1.1 1.3 02-311-702 การเรียนร้ผู ่านโสตประสาท Sub PLO 02-311-703 แนวโน้มและวถิ ีใหมท่ างเทคโนโลยี  1.2  และนวตั กรรมการเรยี นรู้  02-311-704 การสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยีเพอื่ การเรียนรู้   รอบโลก 02-311-705 เรียนรูเ้ พื่อรูเ้ รยี นสาหรับนวตั กร   02-311-706 กลยทุ ธก์ ารพฒั นาหลกั สูตรฝกึ อบรม   02-311-707 การจัดสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้   เสมือนจริง 02-312-701 สอ่ื สงั คมออนไลน์เพอ่ื การเรยี นรู้   02-312-702 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ   เพือ่ การเรยี นรู้ 02-312-703 สื่อดิจทิ ลั เพอ่ื การศึกษา 

ลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสตู ร (PLO ) Sub PLO PLO4 Sub PLO PLO) สู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) 3.3 4.3 Sub PLO Sub PLO  ความรับผิดชอบรอง  4.1 4.2  PLO2 PLO3  Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO 2.1 2.2 3.3 3.1 3.2                       

52 แผนที่แสดงการกระจายความรับผดิ ชอบผล และผลลัพธก์ ารเรียนรูร้ ะดับหลกั สูตรย่อย (Sub P  ความรับผิดชอบหลกั รายวชิ า Sub PLO PLO1 Sub PLO S 1.1 1.3 02-312-704 การพัฒนาแอปพลเิ คชันเพ่ือการเรียนรู้ Sub PLO 02-313-701 การพฒั นาส่อื ปัญญาประดิษฐเ์ พื่อการ  1.2  เรียนรู้  02-313-702 นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์เพื่อการเรยี นรู้   02-313-703 การผลติ รายการวิทยุ-โทรทัศน์ดิจทิ ัล   เพ่ือการเรียนรู้ตามอธั ยาศัย 02-314-701 ววิ ฒั นาการเรียนรจู้ ากอีเลริ ์นน่งิ   ถึงยเู ลิรน์ นิง่ 02-314-702 การออกแบบสื่อบูรณาการเพื่อการเรยี นรู้   02-317-702 วิทยานพิ นธ์  

ลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลกั สตู ร (PLO ) Sub PLO PLO4 Sub PLO PLO) สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 3.3 4.3 Sub PLO Sub PLO  ความรบั ผิดชอบรอง 4.1 4.2  PLO2 PLO3  Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO Sub PLO 2.1 2.2 3.3 3.1 3.2                  

53 หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลนกั ศกึ ษา 1. กฎระเบยี บหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรื่อง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษา ระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.2559 (ภาคผนวก ง) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนักศกึ ษา 1.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรขู้ ณะนักศึกษายังไม่สาเรจ็ การศึกษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของระบบการประกัน คุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยฯ ท่ีจะต้องทาความเข้าใจตรงกันทั้งมหาวิทยาลัยฯ และนาไป ดาเนนิ การจนบรรลผุ ลสัมฤทธิ์ ซง่ึ ผูป้ ระเมนิ ภายนอกจะต้องสามารถตรวจสอบได้คณะกรรมการบริหาร หลกั สูตรจะทาการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดงั นี้ การเรยี นการสอนในระดับรายวชิ า ประกอบดว้ ย 2 สว่ นคอื - ประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษาต่อประสิทธิภาพการสอนและการควบคุม วิทยานิพนธ์ - ประเมินจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยพิจารณาจากแผนการสอน เน้ือหาและ ความทันสมัย การประเมินข้อสอบ และผลสมั ฤทธ์ิของการเรียนการสอน การเรียนการสอนในระดับหลักสูตร ทาได้โดยใช้การประกันคุณภาพภายในดาเนินการทวน สอบมาตรฐานผลการเรียนร้แู ละรายงานผล 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรหู้ ลังนกั ศกึ ษาสาเร็จการศกึ ษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังนักศึกษาสาเร็จการศึกษานั้น ควรเน้นการทาวิจัย อย่างต่อเน่ืองในด้านสัมฤทธ์ิผลของการประกอบอาชีพของบัณฑิต และนาผลวิจัยท่ีได้มาปรับปรุงการ เรยี นการสอนและหลกั สตู ร รวมทั้งการประเมินคณุ ภาพของหลักสูตรและภาควิชา โดยการดาเนินการมี ดงั นี้ 1. ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลมาพัฒนาบณั ฑิตศึกษาในสาขาวชิ า 2. มีการตดิ ตามขอ้ มูลของบัณฑิตตอ่ ภาวะการไดง้ านทาเพ่ือนามาพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสูตร 3. ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหรืออาจารย์พิเศษต่อกระบวนการเรียนรู้และ ผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั ศึกษา 3. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร 1. ศึกษารายวิชาครบตามท่ีกาหนดในหลกั สูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวชิ าตาม หลกั สูตรไมต่ ่ากว่า 3.00 จากระบบ 4.00 ระดบั คะแนน หรอื เทยี บเทา่ 2. เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้ายโดยกรรมการสอบท่ีคณบดีแต่งต้งั และตอ้ งเป็นระบบเปดิ ให้ผู้สนใจเขา้ รับฟังได้ สาหรับผลงานวิทยานพิ นธ์ หรอื สว่ นหน่งึ ของวทิ ยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรอื อย่างนอ้ ยไดร้ ับการยอมรบั ให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง

54 วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการหรือนาเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการ โดยบทความท่ี นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) อย่างน้อย 1 เร่ือง ทั้งนี้ข้อกาหนดอ่ืนใด จะต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรื่องการตีพมิ พ์บทความวจิ ัยเพ่ือสาเร็จการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา 3. สอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามเง่ือนไขและหลักเกณฑ์ โดยให้เป็นไปตามประกาศ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 4. เกณฑ์อ่ืนใด ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม

55 หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรยี มการสาหรบั อาจารย์ใหม่ 1.1 มกี ารอบรมความรู้ทักษะกระบวนการโดยการสอนสาหรบั อาจารย์ใหมโ่ ดยมหาวิทยาลัย 1.2 มีการสอนแนะ (Coaching) ในเรือ่ งท่เี กยี่ วขอ้ งกับหลักสตู รและการเรียนการสอน 1.3 จัดหาสงิ่ อานวยความสะดวก และวัสดุการสอน 2. การพฒั นาความรูแ้ ละทักษะใหแ้ กอ่ าจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นการสอน การวดั และการประเมินผล 2.1.1 อบรมเพ่ือพัฒนาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผลและการวิจยั 2.1.2 ส่งเสริมการเข้าร่วมแลกเปลีย่ นและเพิ่มทักษะจากผู้ทรงคุณวุฒิ 2.1.3 ส่งเสรมิ และจดั หาสง่ิ อานวยความสะดวกและเทคโนโลยีการศึกษา 2.1.4 สร้างความเข้าใจในหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน 2.2 การพฒั นาวิชาการและวิชาชีพด้านตา่ ง ๆ 2.2.1 สง่ เสริมให้ทาการวจิ ยั เสนอผลงานและเผยแพร่ผลงานวจิ ัย 2.2.2 ส่งเสรมิ ใหเ้ ข้าร่วมองค์กรทางวชิ าการและวิชาชพี 2.2.3 ส่งเสรมิ การทาผลงานทางวชิ าการ เพ่ือกาหนดตาแหนง่ ทางวชิ าการ 2.2.4 ส่งเสริมการเป็นผู้นาทางวิชาการและวชิ าชีพ เช่น การเป็นวิทยากร การมีส่วนร่วมกบั มหาวทิ ยาลยั ชน้ั นา

56 หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การกากบั มาตรฐาน หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ กาหนดการกากับ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้วยการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สานักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กาหนดไว้ และการบริหารจัดการหลักสูตรดาเนินการ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้มอบหมายใหร้ องคณบดฝี ่ายวชิ าการและวจิ ัย ทาหน้าทีก่ ากับดูแลการ บริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมผ่าน ทางคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซ่ึงมีการจัดประชุมทุกเดือน เพ่ือติดตามประเมินผลการดาเนินงาน และพิจารณาปรับปรุงแก้ไขการดาเนินการหรือพัฒนาหลักสตู ร 2. บัณฑติ หลักสูตรมีการติดตามคุณภาพของบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ หรือ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ของ หลักสตู ร โดยพจิ ารณาจากข้อมลู ผลลัพธ์การเรยี นรู้ ผลการสอบประมวลความรอบรู้และการมีงานทา นอกจากนั้นยังติดตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสังคม หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ทาการสารวจความ พึงพอใจและความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตเป็นประจา ทุกปี และแจ้งผลการสารวจให้กับคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรได้รับทราบเพี่อเป็นข้อมูลสาหรับการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนการ สอน 3. นกั ศกึ ษา หลักสูตรให้ความสาคัญกับการรับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร การส่งเสริมพัฒนานักศึกษา และ ผลลพั ธ์ท่เี กดิ ขนึ้ กบั นักศึกษา 3.1 หลักสูตรกาหนดคุณสมบัติของนักศึกษาในการคัดเลือกจากผลคะแนนการสอบเข้าศึกษาต่อใน หลกั สูตร 3.2 หลักสตู รสง่ เสรมิ พฒั นานักศกึ ษา (1) กาหนดให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมที่สามารถให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพท่จี าเป็นใหก้ บั นกั ศกึ ษา โดยเนน้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (2) มีระบบสนับสนุนและการให้คาแนะนานักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ แต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาทางวิชาการให้แก่นักศึกษาทุกคน โดยอาจารย์จะแจ้งวันและเวลาที่จะขอรับคาปรึกษาไวห้ รือผา่ นช่องทางอ่ืนๆ ที่เหมาะสม เพอื่ ให้นักศึกษา ท่มี ปี ัญหาในการเรียนหรือปัญหาอื่นๆ สามารถขอรับคาปรึกษาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาทางวิชาการได้

57 (3) มีระบบการอุทธรณ์ของนักศึกษาสาหรับนักศึกษาท่ีต้องการอุทธรณ์หรือมีเรื่องร้องเรียนทั้ง เร่ืองทั่วไปหรือผลการประเมิน สามารถติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ที่ทาหน้าท่ีดูแลการจัดการเรียน การสอนรายวิชานน้ั ๆ 3.3 หลักสูตรมีการติดตามข้อมูลท่ีแสดงผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนกับนักศึกษา ได้แก่ อัตราการคงอยู่ของ นกั ศึกษา อตั ราการสาเร็จการศกึ ษา และความพึงพอใจต่อหลกั สูตร 4. อาจารย์ หลักสูตรให้ความสาคัญกับคุณภาพของอาจารย์ จึงมีนโยบายและแผนระยะยาวในการรับอาจารยใ์ หม่ การแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตร การมีส่วนร่วมของอาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวน หลกั สูตร การบรหิ าร การสง่ เสรมิ และการพัฒนาอาจารย์ 4.1 การรบั อาจารย์ใหม่ มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย โดยผู้สมัครจะต้องสาเรจ็ การศึกษาไมต่ า่ กว่าปริญญาเอก ทางด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรียนรู้และสาขาทเี่ ก่ยี วข้อง 4.2 การแตง่ ต้ังคณาจารย์พเิ ศษ มีการเชิญอาจารย์พิเศษหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาร่วมสอนในบางรายวิชา และบางหัวข้อท่ี ตอ้ งการความเช่ยี วชาญเฉพาะหรอื ประสบการณ์จริงสูง 4.3 การมสี ่วนร่วมของคณาจารยใ์ นการวางแผน การติดตามและการทบทวนหลกั สูตร อาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ประจามีการประชุมร่วมกันในการวางแผนการจัดการเรียน การสอน การประเมินผล ติดตามการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนาไปสู่ การปรบั ปรุงหลกั สตู ร 4.4 การบรหิ าร การส่งเสรมิ และการพัฒนาอาจารย์ (ดหู มวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย)์ 5. หลักสตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผู้เรียน 5.1 ระบบการจดั การเรียนการสอน 5.1.1 จัดประชุม ปรึกษาหารือเพื่อเตรียมความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ที่มีคุณสมบัติตรงตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรวี า่ ด้วยการศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.2559 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม 5.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบการเรียนการสอนในแต่ละวิชา จะต้องจัดทาเอกสารรายละเอียดของ รายวิชาและเตรียมความพร้อมในด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนและเอกสารประกอบการเรียน 5.1.3 การจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาต้องประกอบด้วย 3 ส่วน โดยแบ่งสัดส่วนตาม ความเหมาะสมของแต่ละรายวิชา ได้แก่ การบรรยาย และ/หรือปฏิบัติ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและ การอภิปรายปัญหา

58 5.1.4 แต่ละวิชามีการประเมินความเข้าใจและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อวิชานั้น ดังน้ี การ ประเมนิ ความร้กู อ่ นเรียน - งานท่ีได้รับมอบหมาย ไดแ้ ก่ รายงาน และ/หรอื การเสนอผลงาน - การประเมนิ ความรู้ ไดแ้ ก่ การสอบขอ้ เขียน และ/หรือ การสอบปากเปลา่ 5.1.5 ในบางรายวชิ าเปิดโอกาสใหเ้ ชิญบคุ คลภายนอกท่ีมีประสบการณ์วิชาชีพในสาขาท่ีเก่ียวข้อง มารว่ มสอน รวมทง้ั นานักศกึ ษาไปศกึ ษาดูงานทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 5.2 ระเบยี บการศกึ ษา การวัดผลและประเมินผลการศกึ ษา 5.2.1 การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา โดยประกาศมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรื่อง เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ.2559 (ภาคผนวก ง) 5.2.2 การสอบวิทยานิพนธ์ให้เปน็ ไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วา่ ดว้ ย การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ.2559 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ (ภาคผนวก ค) 5.2.3 การดาเนินการเมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนต้องรายงานผลการดาเนินงาน ของแตล่ ะรายวิชา 5.3 การประเมนิ การเรียนการสอน 5.3.1 เม่ือสิน้ สดุ ภาคการศึกษา คณะดาเนนิ การรายงานผลการดาเนนิ งานหลักสูตรในภาพรวม 5.3.2 ดาเนินการประเมนิ ผู้สอน โดยผ้เู รยี นในแต่ละรายวิชา 5.3.3 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดประชุมอาจารย์เพื่อวิเคราะห์ผลการดาเนินการของหลักสูตร ประจาปีเพอื่ แกไ้ ขและปรับปรงุ หลักสตู รเลก็ น้อยใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จุบัน 5.3.4 แต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรท่ีมีจานวนและคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของ สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อปรับปรุงหลักสูตรอย่างน้อย ทุก 5 ปี 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 การกาหนดคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่ง มีการกาหนดคุณสมบัติของบุคลากรสายสนับสนุนให้มีวุฒิและความรู้ตรงตามภาระงานท่ี รบั ผิดชอบ 6.2 การเพมิ่ ทกั ษะความร้เู พอ่ื การปฏิบัตงิ าน มีการสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเฉพาะทางในสาขาที่เก่ียวข้องกับศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเรียนรู้ สนับสนุนให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในโครงการบริการทางวิชาการ ตลอดจน โครงการวจิ ยั ของคณะ 6.3 สิ่งสนบั สนนุ การเรียนการสอน 6.3.1 หอ้ งเรียนและห้องปฏิบตั ิการมเี พียงพอตอ่ ความต้องการของนักศึกษา

59 6.3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์เพียงพอสาหรับการจัดการเรียนการสอน เช่น อุปกรณ์โสตทัศน์ กล้องถ่ายรูป และคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ 6.3.3 มีการให้บริการระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ไรส้ าย (WiFi) ใหก้ ับนกั ศึกษา 6.3.4 มีห้องสาหรับใช้ในการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา โดยจัดให้มีหนังสือ ตารา เอกสารต่าง ๆ ท่ีนกั ศกึ ษาสามารถค้นควา้ เพ่มิ เตมิ 6.3.5 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีตารา และส่ือต่าง ๆ สาหรับนักศึกษา สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ได้ศกึ ษาคน้ ควา้ 7. ตวั บ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง 2 ปี การศึกษาเพื่อ ตดิ ตามการดาเนินการตาม TQF ตอ่ ไป ทั้งน้ีเกณฑก์ ารประเมินผา่ น คอื มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1-5 และ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 ของตวั บ่งชผี้ ลการดาเนนิ งานท่ีระบไุ ว้ในแต่ละปี ดชั นบี ง่ ชผ้ี ลการดาเนินงาน ปีท่ี 1 ปที ี่ 2 ปีท่ี 3 ปีท่ี 4 ปที ่ี 5 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 X X X X X มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวน การดาเนินงานหลกั สตู ร 2. มีรายละเอียดของ หลั กสูต ร ตามแบบ มคอ. 2 X X X X X ทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานคณุ วฒุ สิ าขา/สาขาวิชา 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม X X X X X (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิด สอนในแต่ละภาคการศึกษาใหค้ รบทกุ รายวิชา 4. จัดทารายงานผลการดาเนนิ การของรายวิชา และรายงาน X X X X X ผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม แบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุดภาค การศึกษาท่ีเปดิ สอนให้ครบทุกรายวชิ า 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ X X X X X มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปกี ารศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผล X X X X X การเรียนรู้ ที่ กาหนดใน มคอ.3และ มคอ. 4 (ถ้ามี) อย่าง น้อยร้อยละ 25 ของรายวชิ าท่ีเปิดสอนในแต่ละปกี ารศึกษา 7 . มี ก า ร พั ฒ น า / ป รั บ ป รุ ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น X X X X X การสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7

60 ดัชนีบ่งช้ีผลการดาเนินงาน ปีท่ี 1 ปีที่ 2 ปที ่ี 3 ปที ี่ 4 ปที ี่ 5 8. อาจารยใ์ หม่(ถ้ามี)ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนิเทศ X X X X X หรือคาแนะนาดา้ นการจัดการเรยี นการสอน 9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนา X X X X X ทางวิชาการ และ/หรอื วชิ าชีพอยา่ งน้อยปีละหน่ึง ครัง้ 10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียน X X X X X การสอน(ถ้ามี)ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/ หรอื วิชาชีพ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 50 ตอ่ ปี 11. ระดบั ความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/ XXXX บัณฑิตใหม่ท่ีมีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไม่น้อย กว่า 3.5 จาก คะแนน 5.0 12. ระดับความพึงพอใจของผ้ใู ชบ้ ัณฑิต เฉลย่ี ไม่ XXX น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 รวมตัวบง่ ช้บี งั คับท่ีต้องดาเนินการ (ขอ้ 1-5) 5 5 5 5 5 ในแต่ละปี รวมตัวบ่งชี้ในแตล่ ะปี 10 11 12 12 12

61 หมวดท่ี 8 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดาเนนิ การของหลกั สตู ร 1. การประเมนิ ประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมนิ กลยุทธก์ ารสอน 1. ประเมนิ กลยุทธก์ ารสอนโดยการประเมนิ การสอนของผู้สอนจากนกั ศึกษา 2. ประเมินจากผลการเรยี นรู้ของนักศึกษา 3. ประชมุ ร่วมระหว่างผู้สอนและกรรมการประจาหลกั สูตร 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยทุ ธ์การสอน ประเมินผลการสอนของอาจารยท์ ุกภาคการศกึ ษา 2. การประเมนิ หลักสตู รในภาพรวม 2.1 ประเมินผลการจดั การศึกษาตามท่ีกาหนดไวท้ ุกภาคการศกึ ษา 2.2 ประเมนิ ความพงึ พอใจของนักศึกษาที่สาเรจ็ การศึกษา ผูใ้ ช้บัณฑติ และผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอก 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลกั สตู ร มีการประเมนิ ผลการดาเนินงานตามหลักสูตร ตามดชั นตี วั บง่ ชผี้ ลการดาเนนิ งานท่ีระบุในหมวด ที่ 7 ข้อ 7 โดยคณะกรรมการการประเมนิ ทไ่ี ดร้ ับการแตง่ ต้งั จากมหาวิทยาลัยฯ และจากหนว่ ยงานภายนอก 4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรับปรงุ หลกั สูตรและแผนกลยุทธก์ ารสอน 4.1 นาผลการประเมินมาพิจารณาวางแผนโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและปรับปรุงแผนกลยุทธ์ การสอนทกุ ภาคการศกึ ษา 4.2 นาผลประเมนิ มาพิจารณาและพฒั นาหลกั สตู รทกุ 3 ปี

62 ขอ้ แตกต่างระหวา่ งหลกั สตู รเดิมและหลกั สตู รปรบั ปรุง หัวข้อ หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2559 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 1.ช่ือหลักสูตร หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ 2. โครงสร้าง หลกั สตู ร สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 2. รายวชิ า แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 1 วิทยานพิ นธ/์ การคน้ ควา้ อสิ ระ 42 หนว่ ยกิต ไม่มี แผน ก แบบ ก 2 แผน ก แบบ ก 2 1.หมวดวชิ าพ้ืนฐานทางการศึกษา 9 หน่วยกติ 1.หมวดวชิ าบงั คบั 18 หน่วยกิต 2.หมวดวิชาเฉพาะ 21 หนว่ ยกติ 1.1 วิชาพน้ื ฐานทางการศกึ ษา 9 หนว่ ยกติ 2.1 วชิ าบงั คบั 15 หน่วยกิต 1.2 วชิ าเฉพาะ 9 หนว่ ยกิต 2.2 วิชาเลือก 6 หน่วยกติ 2.หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกติ 3.วทิ ยานพิ นธ์ 12 หน่วยกติ 3.วทิ ยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมหนว่ ยกิตตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต รวมหน่วยกิตตลอดหลกั สูตร 36 หนว่ ยกิต แผน ข แผน ข 1.หมวดวชิ าพื้นฐานทางการศกึ ษา 9 หนว่ ยกิต ไม่มี 2.หมวดวชิ าเฉพาะ 21 หน่วยกติ 2.1 วิชาบงั คับ 15 หน่วยกิต 2.2 วิชาเลือก 12 หนว่ ยกติ 3.การค้นคว้าอสิ ระ 9 หน่วยกติ รวมหนว่ ยกิตตลอดหลักสูตร 42 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าปรบั พืน้ ฐาน 3 หนว่ ยกติ (ไม่นบั หนว่ ยกิต) หมวดวชิ าปรบั พืน้ ฐาน 3 หนว่ ยกิต (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) 02-211-601 พ้ืนฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) 02-211-601 พนื้ ฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) 1. หมวดวิชาพ้ืนฐานทางการศกึ ษา 9 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาบงั คับ 18 หนว่ ยกิต 02-311-601 หลักการและแนวคิดเทคโนโลยี 3(3-0-6) 1.1 วชิ าพนื้ ฐานทางการศึกษา 9 หน่วยกิต เพือ่ การศึกษา (ปรบั ชอ่ื และคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ *) 02-131-601 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 3(3-0-6) 02-311-601 เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกำร 3(3-0-6) 02-311-605 การออกแบบและพัฒนาระบบ 3(3-0-6) เรยี นรู้* การเรยี นการสอน 02-131-601 ระเบยี บวธิ วี ิจยั 3(3-0-6) 2. หมวดวิชาเฉพาะ 02-311-605 นวัตวิถีทำงกำรศึกษำ* 3(3-0-6) - แผน ก 2 จานวน 21 หน่วยกติ 1.2 วชิ าเฉพาะ จานวน 9 หน่วยกติ ใหศ้ กึ ษาจากวชิ า - แผน ข จานวน 27 หนว่ ยกติ ต่อไปน้ี 2.1 วิชาบังคับ 15 หนว่ ยกิต ให้ศึกษาจากวิชาต่อไปน้ี (ปรับชอ่ื และคำอธิบำยรำยวชิ ำ*) 02-311-602 กำรสร้ำงสรรค์ส่อื ใหม่และ 02-311-602 การออกแบบและพัฒนา 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-311-603 ระบบสื่อการศึกษา 3(3-0-6) แหลง่ กำรเรียนร้แู บบเปดิ * 3(3-0-6) 02-311-604 การวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยี 3(3-0-6) 02-311-604 กำรบริหำรและกำรจดั กำร และสือ่ สารการศกึ ษา 3(2-3-5) การบรหิ ารและการจัดการ เทคโนโลยีและนวตั กรรมกำร เทคโนโลยีและสือ่ สาร เรียนร*ู้ การศกึ ษา 02-311-701 สัมมนำทำงเทคโนโลยแี ละ นวตั กรรมกำรเรยี นรู*้

63 02-312-601 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ 3(3-0-6) 2. หมวดวิชาเลือก จานวน 6 หน่วยกติ ใหเ้ ลือกศึกษา 02-311-701 สื่อสารเพือ่ การศึกษา 3(3-0-6) สัมมนาทางเทคโนโลยีและ จากรายวิชาต่อไปน้ี สือ่ สารการศึกษา 2.1 กลุม่ วชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ (เปลี่ยนชื่อกลมุ่ วิชำ) (ปรับชอ่ื และคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ *) 02-311-603 กำรวจิ ยั และพัฒนำเทคโนโลยี 3(3-0-6) 2.2 วชิ าเลือก สาหรบั แผน ก 2 จานวน 6 หนว่ ยกติ และนวัตกรรมกำรเรียนร้*ู แผน ข จานวน 12 หนว่ ยกติ ใหเ้ ลือกศึกษาจากรายวชิ า 02-312-601 เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำร 3(3-0-6) ต่อไปน้ี สื่อสำรเพ่อื กำรเรียนรู*้ 02-311-702 กำรเรียนรผู้ ่ำนโสตประสำท* 3(3-0-6) 2.2.1 กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา 02-311-703 แนวโนม้ และวถิ ีใหม่ทำง 3(3-0-6) 02-311-702 จติ วิทยากับเทคโนโลยีและ 3(3-0-6) เทคโนโลยีและนวตั กรรมกำร สื่อสารการศกึ ษา เรยี นร*ู้ 02-311-703 แนวโนม้ และกระบวนทศั น์ใหม่ 3(3-0-6) 02-311-704 กำรสรำ้ งสรรค์เทคโนโลยีเพ่ือ 3(3-0-6) ทางเทคโนโลยีและส่อื สาร กำรเรียนรูร้ อบโลก* การศึกษา 02-311-705 เรียนรู้เพื่อรเู้ รยี น 3(3-0-6) 02-311-704 การสร้างสรรค์เทคโนโลยีเพื่อ 3(3-0-6) สำหรับนวัตกร* การศกึ ษาในอาเซยี น 02-311-706 กลยุทธก์ ำรพัฒนำหลักสูตร 3(3-0-6) 02-311-705 การแพร่กระจายเทคโนโลยี 3(3-0-6) ฝกึ อบรม* และสือ่ สารการศึกษาเพื่อ 02-311-707 การจัดสภาพแวดล้อมการ 3(3-0-6) พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ เรียนรู้เสมอื นจรงิ 02-311-706 กลยุทธการออกแบบ 3(3-0-6) 2.2 กลุ่มวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝกึ อบรมท่มี ีประสทิ ธภิ าพ 02-312-701 สื่อสงั คมออนไลนเ์ พอื่ การ เรียนรู้ 02-311-707 การจดั สภาพแวดล้อมการ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-312-702 นวตั กรรมและเทคโนโลยี เรยี นร้เู สมือนจรงิ สารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ 3(3-0-6) 2.2.2 กลมุ่ วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 02-312-703 สอ่ื ดจิ ทิ ัลเพอ่ื การศกึ ษา 3(3-0-6) 02-312-704 การพฒั นาแอปพลเิ คชนั เพ่อื 3(3-0-6) 02-312-701 ส่ือสังคมออนไลนเ์ พ่ือ 3(3-0-6) การเรยี นรู้ การศกึ ษา 02-312-702 นวตั กรรมและเทคโนโลยี 3(3-0-6) สารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้ 02-312-703 สือ่ ดิจติ อลเพ่อื การศึกษา 3(3-0-6) 2.3 กลุม่ วิชาสร้างสรรคน์ วตั กรรม (เปลย่ี นชอื่ กลุ่มวชิ ำ) 02-312-704 การพัฒนาแอพปลิเคชน่ั เพื่อ 3(3-0-6) (ปรบั ชือ่ และคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ*) 02-313-701 กำรพัฒนำสือ่ ปญั ญำประดิษฐ์ 3(2-3-5) การเรียนรู้ เพอื่ กำรเรยี นร*ู้ 2.2.3 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีโสตทศั น์ 3(2-4-5) 02-313-702 นวตั กรรมสง่ิ ประดษิ ฐ์เพือ่ กำร 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-313-701 การพฒั นาส่อื สิ่งพิมพ์ 3(2-4-5) เรียนร*ู้ เพ่อื การศึกษา 02-313-703 กำรผลิตรำยกำรวทิ ยุ-โทรทัศน์ 3(2-3-5) 02-313-702 การออกแบบส่ือ ดจิ ิทลั เพอื่ กำรเรียนรู้ตำม ประสมเพ่อื การศกึ ษา อธั ยำศยั * 02-313-703 สื่อวิทยุและโทรทัศน์ ทางการศกึ ษา

64 2.2.4 กลุ่มวชิ าเทคโนโลยีบูรณาการ 3(3-0-6) 2.4 กลุ่มวิชาเทคโนโลยบี รู ณาการ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-314-701 การพฒั นาการสอน 3(3-0-6) (ปรับชอื่ และคำอธิบำยรำยวิชำ*) 12(0-0-36) จากอเี ลิร์นน่งิ ถงึ ยูเลิรน์ นิ่ง 02-314-701 วิวฒั นำกำรเรยี นรู้จำก 42(0-0-126) 02-314-702 การออกแบบสอ่ื บูรณาการเพอ่ื 12(0-0-36) อเี ลิร์นน่งิ ถึงยูเลริ ์นนงิ่ * การศึกษา 6(0-0-18) 02-314-702 การออกแบบสื่อบูรณาการเพื่อ 3.วิทยานิพนธ์ 02-317-701 วทิ ยานพิ นธ์ (สาหรบั แผน ก1) การเรียนรู้ 02-317-702 วทิ ยานพิ นธ์ (สาหรับแผน ก2) 02-317-702 วิทยานพิ นธ์ 02-315-701 การค้นคว้าอิสระ (สาหรบั แผน ข)

65 ภาคผนวก ก คาสง่ั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการการจดั ทาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรยี นรู้ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ.2564)

66

67

68 ภาคผนวก ข ผลงานวจิ ยั และผลงานวิชาการอาจารยข์ องอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารยป์ ระจา อาจารย์พเิ ศษ

69 ประวัติ และผลงานทางวิชาการอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสตู ร ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรยี นรู้ 1. ชอื่ -สกลุ นางสาวทศพร แสงสว่าง 2. ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา) 3. สงั กัดหนว่ ยงาน ภาควชิ าเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม 4. ท่อี ยปู่ ัจจุบนั 39 ม.1 ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 5. ประวัติการศกึ ษา ปที จ่ี บ วุฒกิ ารศกึ ษา สาขาวชิ า มหาวิทยาลัย 2554 ปร.ด. นวัตกรรมการเรยี นร้ทู างเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี 2546 ศษ.ม. เทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช 2539 ค.บ. บรรณารกั ษศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2547– ปจั จุบัน อาจารยป์ ระจาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ ภาควิชาเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 7. ผลงานทางวชิ าการที่ไดร้ ับการตพี ิมพ์เผยแพร่ 7.1 งานวิจัย - บทความวิจยั เผยแพร่ในรปู แบบบทความวจิ ัยลงในวารสารทางวิชาการระดบั นานาชาติ 1) Sangsawang, T. (2020). An Instructional Design for Online Learning in Vocational Education according to a Self-Regulated Learning Framework for Problem Solving during the CoViD-19 Crisis. Indonesian Journal of Science & Technology. 5(2). September 2020. https://doi.org/10.17509/ijost.v5i2.24702. pp. 283-298. (Q1). 2) Sangsawang, T., & Maneetham, D. (2020). The Machine Game for Development in Reading Skill of Learning Disabilities Students. International Journal of Advanced Science and Technology. 29,(7s), July 2020. pp. 251-261.(Q3). 3) Hurriyati, R., A, A., AD, Minghat, Sangswang, T. (2020). Model of Purchase Impulsive Behavior of Online Consumers: Case in Indonesia.” International Journal of Advanced Science and Technology. 29, (7s), July 2020. pp. 290-298.(Q3) 4) Boonsong, S., Sangsawang, T., Jermtaisong, R. & Chinsri, K. (2020). Training Curriculum on the Curriculum Development in Moral, Culture, and Folk Wisdom for Primary School Teachers. International Journal of

70 Advanced Science and Technology. 29,(4s), April 2020. pp. 3541-3546. (Q4) 5) Boonsong, S., Sangsawang, T., & Chinsri, K. (2020). The Development of the Learning Management Process for Inculcating 12 Principal Values with the Idea of Sustainable Learning for Secondary Schools. International Journal of Advanced Science and Technology. 29, (4s), April 2020. pp. 3547-3552. (Q4) เผยแพร่ในรูปแบบบทความวจิ ยั ลงในทีป่ ระชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ 1) Sangsawang, T. (2019). The self-learning activity packed in development of occupation skills for children with multiple disabilities.” Proceeding of The Third International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education (ICIEVE 2019), Bandung, 26 November 2019. pp. 378-595. (Scopus). 2) Yannasoot, P., & Sangsawang, T. (2019). Computer-assisted Instruction Based on the GCC Concept in the English Subject for Vocational Students. Proceeding of the Third International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education (ICIEVE 2019), Bandung, 26 November 2019. pp. 294-300. (Scopus). 3) Kaenpoolers, C., & Sangsawang, T. (2019). Instructional Package of STEM Education in English Subject. Proceeding of the Third International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education (ICIEVE 2019), Bandung, 26 November 2019. pp. 380-387. (Scopus) 4) Heng, L., & Sangsawang, T. (2018). The Development of E-Learning Platform According to Blended Learning Concept to Enhance English Language Skills at Elementary Level for Secondary School Students. The 16th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences: Using Innovation and Enhanced Technologies (DRLE2018). 31 May – 1 June 2018. pp. TLS02- 1-7. 5) Saijean, J., & Sangsawang, T. (2018). Learning Activity Package on Professional Learning Community Concept in Thai Language Subject for Primary 6 Students. The 16th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences: Using Innovation and Enhanced Technologies (DRLE2018). 31 May – 1 June 2018. pp. TLS02-8-16.

71 6) Sangsawang, T. (2017). Constructivism Perspective on Multimedia Games for Hearing impaired Children. New Trends and Issues Proceedings on Humanities. 3(7). 23 July 2017. pp. 100-108. 7) Sangsawang, T. (2017). Instructional Package of Development of Skill in Using Fine Motor of Children for Children with Intellectual Disabilities. The Second ICIEVE 2017, the International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education, Aryaduta Manado, North Sulawesi, Indonesia, during October 25-26, 2017, pp.1-9. (Scopus) เผยแพรใ่ นรูปแบบบทความวจิ ัยลงในวารสารทางวชิ าการระดบั ชาติ 1) กมลเนตร จติ รตรีนิตย์, ทศพร แสงสวา่ ง. (2563). ชดุ วดี ทิ ัศน์ฝกึ ทักษะอาชพี เร่ืองการตัดผม สาหรบั นกั เรยี นระดับประถมศึกษา. วารสารมหาจุฬาวชิ าการมหาวทิ ยาลัยมหา จฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลัย, 8(1). มกราคม – เมษายน 2563. หน้า 125-131. (TCI กลุม่ 2) 2) สุรบดิน ตรีขา, ทศพร แสงสว่าง. (2563). บทเรียนคอมพิวเตอรม์ ัลติมเี ดยี เรื่องการตดั ต่อวีดิ ทศั น์สาหรบั นกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี. วารสารมหาจุฬาวิชาการมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั , 8(1). มกราคม – เมษายน 2563. หนา้ 252-259. (TCI กล่มุ 2 3) ณัฐณชิ า ภมู ริ ัตนไพศาล, ทศพร แสงสวา่ ง. (2560). ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยตนเองดา้ น การพฒั นาการดา้ น กล้ามเน้ือมดั หรบั เดก็ ดาวนซ์ ินโดรม ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษมหาจกั รีสิ รนิ ธรประจาจงั หวดั นครนายก. วารสารวิชาการศรีปทมุ ชลบุรี, 14(2). เมษายน- มิถนุ ายน 2560. หนา้ 194-204. (TCI กลมุ่ 1) 4) ลนา นพรัตน์, ทศพร แสงสว่าง. (2560). ชดุ การเรยี นร้ฝู ึกทักษะอาชีพวิชาการงานพื้นฐาน อาชีพและเทคโนโลยี ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 สาหรบั ผ้บู กพร่องทางการได้ยนิ . วารสารวิชาการศรีปทมุ ชลบุรี, 14(2). เมษายน-มิถนุ ายน 2560. หนา้ 224-232. (TCI กลมุ่ 1) 5) พัชรียา อนิ ทร์พรหม, ทศพร แสงสวา่ ง. (2560). ชุดการสอนเสรมิ ทกั ษะด้านการอา่ น เร่ือง ตวั สะกด ในภาษาไทยระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 สาหรบั นักเรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา. วารสารวชิ าการศรปี ทมุ ชลบรุ ี, 14(3). กรกฎาคม-กันยายน 2560. หน้า 121-130. (TCI กลมุ่ 1) 6) อาภากรณ์ เสถียรรัตน์, ทศพร แสงสวา่ ง. (2560). บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนตามหลัก ความรแู้ บบองค์ รวมเร่อื งทัศนธาตุและการจัดองค์ประกอบสาหรับนักเรยี นชั้น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1.” EAU Heritage Journal Social Science and Humanities, 2018, 8(2). พฤษภาคม-สิงหาคม 2560. หน้า 274-282. (TCI กลมุ่ 1) 7) สชุ าดา เทศดี, ทศพร แสงสว่าง. (2559). การพัฒนาชดุ ฝกึ อบรมตามแนวคดิ การเรยี นแบบ กระตือรอื รน้ หลกั สตู รนักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวยั สาหรบั อาสาสมัครสาธารณสุข. วารสารวชิ าการศรีปทมุ ชลบรุ ี, 14(1). มกราคม-มีนาคม 2559. หนา้ 114-223. (TCI กลมุ่ เผยแพร่ในรปู แบบนาเสนอบทความวิจัยตอ่ ที่ประชุมทางวิชาการระดบั นานาชาติ

72 ประวัติ และผลงานทางวชิ าการอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสตู ร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ 1. ช่อื -สกลุ นายเทียมยศ ปะสาวะโน 2. ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) 3. สังกดั หน่วยงาน ภาควชิ าเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม 4. ท่อี ย่ปู ัจจุบนั 39 ม.1 ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 5. ประวตั ิการศึกษา ปที ่จี บ วุฒิ สาขาวชิ า มหาวิทยาลัย การศกึ ษา 2553 ศษ.ด. เทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2545 ศษ.ม. เทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2540 นศ.บ. นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช 6. ประสบการณท์ างาน/การสอน พ.ศ. 2545– ปจั จบุ ัน อาจารยป์ ระจาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวชิ าการทีไ่ ด้รับการตพี ิมพเ์ ผยแพร่ 7.1 งานวิจัย - บทความวจิ ยั เผยแพร่ในรูปแบบนาเสนอบทความวจิ ัยตอ่ ทีป่ ระชุมทางวชิ าการระดบั นานาชาติ 1) Pasawano, T. (2019). Vocational Education and Training in Thailand - Current Status and Future Development. Vocational Education and Training in ASEAN Member States: Current Status and Future Development (Perspectives on Rethinking and Reforming Education), Springer, Singapore, 14 April 2019. pp. 207-228. (Scopus). 2) Pasawano, T. (2019). Effectiveness of Web-Based Learning to Enhance Critical Thinking for Grade 3 Students. Proceeding The Third International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education (ICIEVE 2019), Universitas Pendidikan Indonesia (UPI), Bandung, Indonesia, 26 November 2019. pp. 581-586. (Scopus)

73 3) Pasawano, T. (2019). Development of an Edutainment Classroom Model on Creation of Multimedia for Education. Proceeding 15th Annual CamTESOL Conference on English Language Teaching, Teachers as Learners, , Institute of Technology Cambodia (ITC) Phnom Penh, Cambodia. 16-17 February 2019. pp. 150-151. 4) Pasawano, T. & Papan, N. (2019). A Production of Multimedia Lesson with Blended Learning in the topic of Democratic for Grade 6 Students. Proceeding International Conference on Social Sciences and Economics (ICSSE). 29-30 March 2019. Yangon, Myanmar. pp. 150-151. 5) Chan Veasna, K. & Pasawano, T. (2019). The Development of Web-Based Instruction Using Self-Directed Learning to Enhance English Reading Comprehsion of Undergraduate Students of Royal University of Phnom Penh. Proceeding the 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET 2019). 11-13 July 2019, Chonburi, Thailand. pp 87-90. 6) Pasawano, T. & Papan, N. (2018). Web-Based Instruction of Thai Language in topic of Vocabulary for Primary 5 Students. Proceeding International Conference on Social Sciences and Humanities (ICSSH). 29-30 November 2018. Yangon, Myanmar. pp. 12-15. 7) Pasawano, T. (2018). Development of an Activity Format to Support Exchange Students in ASEAN Community. Proceeding 13th International Conference on Economics, Education, Humanities and Social Sciences Studies (E2HS3- 18). 6-8 August 2018, Chonburi, Thailand. pp.103-105. 8) Kungsamreth, Y. & Pasawano, T. (2018). Development of Web-Based Instruction Using Self-Directed Learning to Enhance English Language Skill for Secondary 2 Students. Proceeding the16th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences (DRLE 2018). 31 May-1 June 2018. King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. Bangkok Thailand. pp. 256-263.

74 9) Dokboran, K. & Pasawano, T. (2018). A Development of Self Learning Multimedia in topic of Information System for Staffs at Suranaree University of Technology. Proceeding the 16th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences (DRLE 2018). 31 May-1 June 2018. King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok Thailand. pp. 281-288. 10) Sovat, O. & Pasawano, T. (2018). Development of the Self-Directed E-Learning Module on Introduction C++ Programming Language for Undergraduate Students in Faculty of Sciences and Technology, Mean Chey University. Proceeding 12th International Conference on Humanities, Business, Education and Social Sciences (HBESS-18). June 12-13, 2018. Manila Philippines, pp.17-20. เผยแพรใ่ นรปู แบบบทความวิจัยลงในวารสารทางวิชาการระดบั ชาติ 1) ทับทิม หุ่นหิรัญ และ เทียมยศ ปะสาวะโน. (2563). การพัฒนาชุดการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์ด้วย วิธกี ารแบบเรยี นปนเล่น เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจนี สาหรบั เดก็ นักเรียนชั้นปฐมวัย โรงเรยี น ปยิ วฒั นศาสตร.์ วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 7(3). กันยายน-ธนั วาคม 2563. น.89-102. 2) จุฑาทิพย์ อรุณรัตน์ และ เทียมยศ ปะสาวะโน. (2562). การผลิตสื่อวีดิทัศน์ออนไลน์โดยการ เรียนรู้แบบหรรษา รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 7(1). เดือน มกราคม-มถิ ุนายน 2563. น. 115-127. 3) พัชรี ปู่สีทา และ เทียมยศ ปะสาวะโน. (2561). ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาทัศนศิลป์ เรื่อง ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านไทยสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการศรี ปทุม ชลบุร.ี 14(3). เดือนมกราคม - มนี าคม 2561, น. 150-158. 4) ปภาณิน สินโน และ เทียมยศ ปะสาวะโน. (2560). ชุดการสอนความเป็นจริงเสริมเร่ืองชนิด พรรณไม้สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีนเทิร์น เอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 7(3). ประจาเดือนกันยายน – ธันวาคม 2560. น.39-45. 5) Prammanee, N. & Pasawano, T. (2018). The Development of an Augmented Reality Media Using Inquiry- Based Learning on the Topic of the Force and Motion Object. HRD Journal, Burapha University, Chonburi. 9( 2) , July- December 2018. pp.37-53.

75 ประวตั ิ และผลงานทางวิชาการอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู รและอาจารย์ประจาหลักสูตร ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรียนรู้ 1. ช่ือ-สกลุ นายเมธี พกิ ุลทอง 2. ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) 3. สังกัดหนว่ ยงาน ภาควิชาเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศึกษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม 4. ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน 39 ม.1 ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 5. ประวัติการศกึ ษา ปที ่จี บ วฒุ กิ ารศึกษา สาขาวชิ า มหาวิทยาลัย 2558 ปร.ด. เทคโนโลยเี ทคนิคศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ 2539 ศษ.ม. เทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2532 ศษ.บ. โสตทัศนศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2552– ปัจจุบัน อาจารยป์ ระจาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวิชาการทไี่ ดร้ ับการตีพิมพ์เผยแพร่ 7.1 งานวจิ ัย - บทความวิจยั เผยแพร่ในรปู แบบบทความวิจยั ลงในประชมุ ทางวิชาการระดบั นานาชาติ 1) Plaimart, W., Pigultong, M., Vipahasna, K, Pannim, .P, and Rangrongratana, R. (2019). Ecosystem for human capital development to drive the digital economy in industrial areas in Thailand. The International Conference on Science and Technology ( TICST 2019) . National Pingtung University, Pingtung, Taiwan, November 22 - 24, 2019. pp.175-187. 2) Pigultong, M. (2019). Training Course Development for enhancement of Buddhist Monk Characteristics as the Community Leader. The International Conference on the 14th on Teaching, Learning, Innovation and Educational Technology (ICE19Singapore Conference). 14 April 2019. pp. 1-9.

76 3) Pigultong, M. ( 2018) . The Opinions about Relationship between Student and Instructor in the Class of Hands – on. the International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education 2017, Universitas Pendidikan Indonesia ( UPI) in collaboration with Universitas Negeri Manado ( Unima) and Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Manado, North Sulawesi, Indonesia. 11-12 September 2018. pp.188-203. 4) Pigultong, M. (2017). Expectations of Instructional quality in The 21st century of undergraduate student. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. TVET International Conference 2017 , Universiti Teknologi Malaysia, Johor Bahru, Malaysia. 3-5 November 2017. pp. 109-121. เผยแพรใ่ นรปู แบบนาเสนอบทความวิจัยต่อท่ปี ระชุมทางวิชาการระดบั นานาชาติ 1) Pigultong,M. (2020). Important characteristics of Buddhist monk as the moral teacher in Thailand : A Case study in Patumthani Province. The 2020 International Conference on Education and Learning (ICEL2020). Kyoto, Japan, March 30 - April 1, 2020. pp.347-365. 2) Wichet Plaimart, Metee Pigultong, Kitipoom Vipahasna, Piyanan Pannim, and Roongaron Rangrongratana. (2019). Ecosystem for human capital development to drive the digital economy in industrial areas in Thailand. The International Conference on Science and Technology (TICST 2019). National Pingtung University, Pingtung, Taiwan, November 22 - 24, 2019. pp.175-187. 3) Pigultong,M. (2019). Training Course Development for enhancement of Buddhist Monk Characteristics as the Community Leader. The International Conference on the 14th on Teaching, Learning, Innovation and Educational Technology (ICE19Singapore Conference) Singapore. August 2-4, 2019. pp.385-397. 4) M Pigultong. (2017). The Opinions about Relationship between Student and Instructor in the Class of Hands – on. the International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education 2017, Universitas Pendidikan Indonesia (UPI) in collaboration with Universitas Negeri Manado (Unima) and Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Manado, North Sulawesi, Indonesia. October 25-26, 2017. pp.188-203.

77 ประวตั ิ และผลงานทางวิชาการอาจารย์ประจาหลกั สตู ร ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 1. ช่ือ-สกลุ นางสาวนฤมล เทพนวล 2. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 3. สังกดั หนว่ ยงาน ภาควิชาเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม 4. ท่อี ยู่ปจั จุบัน 39 ม.1 ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 5. ประวัติการศกึ ษา ปที ี่จบ วฒุ ิการศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัย 2556 กศ.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547 ศศ.ม. บรรณารกั ษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง 2539 ศศ.บ. บรรณารกั ษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั เพชรบรุ ี 6. ประสบการณ์ทางาน/การสอน พ.ศ. 2558– ปัจจบุ นั อาจารย์ประจาหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรียนรู้ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 7. ผลงานทางวิชาการท่ไี ดร้ ับการตีพิมพ์เผยแพร่ 7.1 งานวิจัย - บทความวจิ ัย เผยแพร่ในรูปแบบบทความวจิ ัยลงในวารสารทางวิชาการระดบั ชาติ 1) เกตุแกว้ ยิง่ ยืนยง และนฤมล เทพนวล. (2563). การพัฒนาแอปพลิเคชนั สาหรบั การเรยี นรู้เร่ือง เซลล์และโครงสร้างของ เซลล์ เพ่ือส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1. วารสารมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 8(1). เดือน มกราคม-เมษายน 2563. น.78-97. (TCI ฐาน 2). 2) ศิริวรรณ ดับทุกข์ และนฤมล เทพนวล. (2563). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมการเข้า ร่วมกิจกรรมสาหรับนิสิตระดับปริญญาตรี. วารสารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. 7(2). พฤษภาคม –สิงหาคม 2563. น.81-93. (TCI ฐาน 2). 3) นพดล เพ็ญประชมุ และนฤมล เทพนวล. (2563). การพฒั นาบทเรียนผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ส่วนงานเพ่ือส่งเสริมทักษะด้านดิจิทัลสาหรับบุคลากรภาครัฐ. วารสารมหาจฬุ าวิชาการ. 7(1). มกราคม-เมษายน 2563. น.204-217. (TCI ฐาน 2).

78 4) พันธิภา สารสุวรรณ และนฤมล เทพนวล. (2563). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง โจทย์ ปญั หาคณิตศาสตร์โดย ประยกุ ต์ใช้ตัวละครในนทิ านพ้ืนบ้านไทยทีส่ ่งผลต่อทักษะการ แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ สาหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4. วารสารสังคมศาสตร์ และมานษุ ยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ. 5(4). เมษายน 2563. น.220-233. (TCI ฐาน 1). 5) นฤมล เทพนวล และเกียรติศักดิ์ พันธ์ลาเจียก. (2562). ผลการเรียนรู้แบบยูบิควิตัสด้วยการ เรียนรู้แบบนาตนเองท่ีมีต่อผลการเรียนรู้และพฤติกรรมการอ่านของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 11 (มกราคม – ธนั วาคม). น.124-138. (TCI ฐาน 1). 6) นฤมล เทพนวล. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ยูบิควิตัสเพื่อเสริมสร้างทักษะ กระบว นการแก้ปัญหาสาหรับอุดมศึกษา. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 12(3). พฤษภาคม-มิถนุ ายน 2562. น. 433-448. (TCI ฐาน 1). 7) พนมวรรณ ผลสาล่ี และนฤมล เทพนวล. (2562). การพฒั นาส่ืออินโฟกราฟกิ ตามทฤษฎีการถ่าย โยงความรู้ เร่ือง การออมเพ่ืออนาคต สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6. (2562). วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 13(3). กันยายน – ธันวาคม 2562. น.89-100. (TCI ฐาน 1). 8) ภัทรานิษฐ์ เจษฎางค์กูร ณ อยุธยา และนฤมล เทพนวล. (2562). การพัฒนาชุดฝึกอบรม ออนไลน์ เรอ่ื ง การนวด คลายเครียดสาหรับคนวัยทางานในจังหวดั ปทุมธานี. วารสาร ครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 6(2). กรกฎาคม – ธนั วาคม 2562. น.82-92. (TCI ฐาน 2). 9) สุบิน เอกจิตต์ และนฤมล เทพนวล. (2562). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการช้ีนา เรื่อง การ ประชาสัมพันธ์แนวทางการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6. วารสารมจร พุทธปัญญาปริทรรศน์. 4(1). มกราคม-เมษายน 2562. น.72-82. (TCI ฐาน 2). 10) พัชรินทร์ พรมแดง และนฤมล เทพนวล. (2561). การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์ เร่ือง อาชีวอ นามยั และความปลอดภัยพ้ืนฐานสาหรับพนักงานในโรงงาน. วารสารศรปี ทุมปริทัศน์ ฉบับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 10 (มกราคม-ธนั วาคม). น.33-45. (TCI ฐาน 1). 11) ฐาปนีย์ เครืออนันต์ และนฤมล เทพนวล. (2561). ชุดการสอนมัลติมีเดียเสริมทักษะการอ่าน สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับ สงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 8(3). กันยายน-ธันวาคม 2561. น.144-155.(TCI ฐาน 2). 12) ศักดินนท์ พุ่มพฤกษ์ และนฤมล เทพนวล. (2561). หนังสือความจริงเสริม วิชาการกระจายเสียง และแพร่ภาพสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 8(3). กันยายน-ธันวาคม 2561. น.156-167. (TCI ฐาน 2).

79 ประวัติ และผลงานทางวิชาการอาจารย์ประจาหลกั สตู ร ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 1. ช่อื -สกลุ นางสาวธดิ ารตั น์ กลุ ณฐั รวงศ์ 2. ตาแหน่งทางวชิ าการ อาจารย์ 3. สังกดั หน่วยงาน ภาควชิ าเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม 4. ทอ่ี ยปู่ จั จุบัน 39 ม.1 ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 5. ประวัตกิ ารศึกษา ปีที่จบ วฒุ ิการศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัย 2556 ปร.ด. เทคโนโลยเี ทคนคิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ 2549 ค.อ.ม. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สารสนเทศ 2546 บธ.บ. ระบบสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 6. ประสบการณท์ างาน/การสอน พ.ศ. 2554– ปัจจบุ ัน อาจารย์ประจาหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรียนรู้ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 7. ผลงานทางวชิ าการทไี่ ดร้ ับการตีพมิ พ์เผยแพร่ 7.1 งานวจิ ัย - บทความวจิ ัย เผยแพร่ในรปู แบบบทความวิจยั ลงในวารสารทางวิชาการระดบั ชาติ 1) ธิดารัตน์ กุลณัฐรวงศ์ และเกียรติศักดิ์ พันธ์ลาเจียก. (2562). การพัฒนาระบบการเรียนแบบ ปรับเหมาะบนเว็บตาม แนวคิดการเรียนแบบรอบรู้ท่ีเสริมศักยภาพการเรียนเพื่อ เสรมิ สรา้ งผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 30(1). มกราคม – เมษายน 2562. น.195-208. 2) ลิขิต เกดิ มงคล, สวนนั ท์ แดงประเสริฐ และธดิ ารตั น์ กลุ ณฐั รวงศ์. (2562). การพัฒนาเครือข่าย สังคมออนไลน์เพื่อเสรมิ ทักษะการสร้างส่ือการสอน Augmented Reality. วารสารครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 10(1). มกราคม-เมษายน 2562. น.198-213.

80 3) ธดิ ารัตน์ กลุ ณฐั รวงศ์ และเกยี รติศักด์ิ พนั ธล์ าเจียก. (2561). การพัฒนาระบบการสอนอจั ฉริยะ บนเว็บตามความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านแบบการเรียนเพ่ือเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี. วารสาร Veridian e-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ. 11(1) เดือน มกราคม – เมษายน 2561. น.1691-1706. 4) ธิดารตั น์ กุลณฐั รวงศ์. (2561). ผลการใช้บทเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีเสรมิ ศักยภาพการเรยี นรู้เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วารสาร Veridian e- Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ. 11(3). เดอื นกนั ยายน – ธันวาคม 2561. น. 2219-2234.