Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

Description: หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

1 หลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรยี นรู้ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม

2 หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

3 คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้พัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี และนวัตกรรมการเรียนรู้ ในปีการศึกษา 2564 ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือให้เป็นไปกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2559-2564) รวมทั้งสนองต่อ ความต้องการของหน่วยงานท้ังภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่เทคโนโลยีและ นวัตกรรมการเรียนรู้ พร้อมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการ พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรฉบับนี้ จะมีประสิทธิภาพในการผลิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสังคม อันจะนาไปสู่การพัฒนา ประเทศชาติท่ยี ่งั ยนื ตอ่ ไป คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

4 สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั ข หมวดที่ 1 6 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป 10 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลักสูตร 35 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลักสตู ร 53 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล 55 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมินผลนักศึกษา 56 6 การพัฒนาคณาจารย์ 61 7 การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร 62 8 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของหลักสูตร 65 ข้อแตกตา่ งระหวา่ งหลกั สูตรเดิมและหลักสูตรปรบั ปรุง ภาคผนวก 68 ก คาส่งั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทา 94 พัฒนาหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ เรียนรู้ (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2564) 120 ข ประวัติ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์การสอนของอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบ หลกั สตู ร อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์ประจา และอาจารย์พิเศษ ค ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดับ บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา (ฉบับที่2) พ.ศ.2560 ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา (ฉบับที่3) พ.ศ.2561 ง ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรอ่ื ง เกณฑก์ ารวดั และ ประเมนิ ผลการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559

1 หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2564 ชือ่ สถาบนั อุดมศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ หมวดที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1. ช่ือหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการ เรยี นรู้ ภาษาองั กฤษ: Master of Education Program in Learning Technology and Innovation 2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ช่อื เตม็ (ไทย): ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรียนรู้) ช่ือยอ่ (ไทย): ศษ.ม. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้) ชื่อเตม็ (องั กฤษ): Master of Education (Learning Technology and Innovation) ชอ่ื ย่อ (องั กฤษ): M.Ed. (Learning Technology and Innovation) 3. วชิ าเอก - 4. จานวนหนว่ ยกิตทีเ่ รยี นตลอดหลักสูตร 36 หนว่ ยกิต 5. รูปแบบของหลักสตู ร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาโท หลกั สตู ร 2 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย/ภาษาองั กฤษ 5.3 การรบั เขา้ ศกึ ษา รับนกั ศกึ ษาไทย และนักศึกษาตา่ งประเทศ 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอน่ื - 5.5 การใหป้ ริญญาแก่ผูส้ าเร็จการศึกษา ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

2 6 สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสตู ร  หลกั สตู รใหม่ พ.ศ....  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 หลักสตู รปรบั ปรงุ มาจากศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2559) สภาวิชาการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลักสตู รต่อสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 11/2563 วนั ที่ 5 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สภามหาวทิ ยาลัย อนุมัตหิ ลักสูตร ในการประชุม ครง้ั ที่ 12/2563 วันที่ 23 ธันวาคม 2563 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 7 ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลักสูตรคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและกรอบมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ในปีการศกึ ษา 2566 8 อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 8.1 อาจารย์ นักวิชาการศึกษา นักเทคโนโลยีการศึกษาที่เก่ียวข้องกับศูนย์ผลิตส่ือเพื่อการศึกษา ศูนย์การ เรียนรู้ แหล่งการเรยี นรู้ คลังความรู้ท้งั ภาครฐั และเอกชน 8.2 ผู้บริหาร และนักวจิ ยั ที่เกย่ี วข้องกับเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทงั้ ภาครฐั และเอกชน 8.3 นกั ฝึกอบรม / สัมมนา ที่เกี่ยวข้องกับการผลติ สื่อการศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ 8.4 ผ้ปู ระกอบการและที่ปรกึ ษาเกี่ยวกบั สถาบัน หน่วยงานดา้ นสง่ เสริมการเรยี นรู้ การพฒั นาสือ่ เพ่ือการ เรยี นรู้ สื่อมวลชน และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8.5 อาชีพอิสระ เช่น นักผลิตสื่อการศึกษา นักสร้างสรรค์สื่อสังคมออนไลน์ / โซเชียลมีเดีย นักออกแบบ สือ่ ดิจิทัลบนเว็บไซต์ แอนิเมชัน ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว งานโฆษณาประเภทตา่ ง ๆ

3 9 ช่อื ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร ลา ชือ่ - นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วฒุ ิ – สาขาวิชาเอก สาเร็จจาก ปที ี่จบ ดบั วิชาการ 1 นางสาวทศพร ผู้ช่วย ปร.ด. (นวัตกรรมการเรยี นร้ทู าง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2554 แสงสว่าง* ศาสตราจารย์ เทคโนโลยี) พระจอมเกล้าธนบรุ ี (สาขาเทคโนโลยี ศษ.ม. (เทคโนโลยแี ละสื่อสาร มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช 2546 มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 2539 และสอ่ื สาร การศกึ ษา) การศกึ ษา) ค.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์) 2 นายเทียมยศ ผชู้ ว่ ย ศษ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2553 ปะสาวะโน ศาสตราจารย์ ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 2545 (สาขาเทคโนโลยี นศ.บ. (นิเทศศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช 2540 และสื่อสาร การศกึ ษา) 3 นายเมธี ผชู้ ว่ ย ปร.ด. (เทคโนโลยเี ทคนคิ ศึกษา) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี 2558 พิกุลทอง ศาสตราจารย์ พระจอมเกล้าพระนครเหนอื (สาขาเทคโนโลยี ศษ.ม. (เทคโนโลยกี ารศึกษา) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2539 และส่ือสาร มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง 2532 การศกึ ษา) ศษ.บ. (โสตทัศนศกึ ษา) หมายเหตุ * ประธานหลกั สตู ร 10 สถานที่จดั การเรียนการสอน คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 11 สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาที่จาเปน็ ต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร 11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ สภาวการณ์และแนวโน้มภายนอกเกิดการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีดิจิทัลแบบก้าวกระโดด การเข้าสู่ยุคอินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง (Internet of Things) ส่งผลต่อการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้และวิถีการดาเนินชวี ิตของมนษุ ยไ์ ปโดยฉบั พลันสน้ิ เชงิ (Disruption) เกดิ เปน็ ความท้าทายของกระแสโลกาภิวัตน์รอบใหม่ท่ีทุกประเทศในโลกจะต้องเตรียมพร้อมเพ่ือรับมือให้ทัน และ สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศท่ีมีอยู่อย่างมหาศาลเพ่ือความเป็นต่อ ทางด้านเศรษฐกิจภายใต้การแข่งขันอย่างเสรีและไร้พรมแดน ทิศทางการจัดการศึกษาของไทยในอนาคต จาก แนวโน้มสภาวการณ์การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมาจากความ เจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสามารถเช่ือมโยงข้อมูลท่ัวโลกเข้าไว้ ด้วยกนั ข้อมลู และความรู้มากมายมหาศาลสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย ดงั นั้นจึงตอ้ งมกี ารพฒั นาทนุ มนุษย์ การใช้ และต่อยอดองค์ความรู้ การวิจัยและพัฒนาท้ังด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเตรียมคนให้ พร้อมรองรับกับสภาวการณ์ดังกล่าว โดยระบบการเรียนรู้จะต้องเปลี่ยนการเรียนรู้แบบท่องจา (Passive Learning) ไปสู่การเรียนรู้แบบเชิงลึก (Active Learning) และต่อยอดด้วยการวิจัยและพัฒนาเพ่ือให้เกิด นวัตกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 65 กาหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติด้าน การศึกษา ได้แก่ จัดให้มีและส่งเสรมิ การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้าง ความสามารถของคนในชาติ การปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยเพื่อนวัตกรรม รวมทั้ง แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาเร่ือง ท่ี 7 ได้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วย ระบบดิจิทัล (Digitalization for Educational and Learning Reform) ซ่ึงประกอบด้วยประเด็นปฏิรูป 3 ประเด็น ได้แก่ การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Learning Reform: National Digital Learning Platform (NDLP)) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Big Data for Education) การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ ดจิ ิทัล(Digital Literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ความฉลาดรสู้ ่ือ (Media Literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้ (Learning How to Learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยจาเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนา และยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีดีเก่งและมีคุณภาพพร้อมขับเคล่ือนการ พัฒนาประเทศไปข้างหนา้ ไดอ้ ย่างเต็มศักยภาพ ดังน้ันการพัฒนาทางเศรษฐกิจตามเป้าหมายเพ่ือการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่ขับเคล่ือนโดยภูมิ ปัญญาและนวัตกรรมในอีก 20 ปขี ้างหนา้ จาเป็นต้องมีการวางรากฐานการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ อย่างเป็นระบบให้เป็นกาลังท่ีสาคัญเพ่ือเป็นฐานความรู้ท่ีช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าให้กับ ประเทศชาติ ภูมิภาค และโลก อยา่ งย่ังยืน 11.2 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม บริบทของประเทศและของโลกกาลังเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ท้ังการพัฒนาเศรษฐกิจการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมตลอดจนนวัตกรรมของเทคโนโลยีต่าง ๆ มีแหล่งความรู้ใหม่ๆ เกิดข้ึนอย่างหลากหลาย ซึ่งเหมือนเป็นโอกาสในทางหน่ึง แต่ในอีกทางหน่ึงการเปล่ียนแปลงข้างต้นส่งผลให้ประชาชนต้องมี ความสามารถและสมรรถนะในการเลือกเรยี นรู้สง่ิ ใหมแ่ ละการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ระบบการศึกษาจึงต้องมุ่งพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน เปิดทางเลือกให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็ม ศักยภาพ เชี่ยวชาญในเร่ืองท่ีถนัด และสามารถเรียนร้ตู ลอดชวี ิต นอกจากนี้ทิศทางของการพัฒนาประเทศจาก การกาหนดยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 ข้อ 4.3 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชว่ งวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมี คุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ มีการ ปรบั เปล่ียนค่านยิ มและวัฒนธรรมเพ่ือสร้างคนดี มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน และสงั คม มีการพัฒนา ศกั ยภาพของคนตลอดช่วงชวี ิต ตระหนกั ถึงพหปุ ัญญาของมนุษยท์ ี่หลากหลาย 12 ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและความเก่ยี วข้องกบั พันธกิจของมหาวทิ ยาลัย 12.1 การพัฒนาหลกั สตู ร สืบเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษา จึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการศึกษาตลอดชวี ิตและพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาในสถาบนั อุดมศึกษาทุกแห่งให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานท่สี ามารถเทยี บเคียง

5 กันได้ ประกอบกับสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของ ประเทศไทย (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF :HEd) ท่ีมุ่งเน้นเป้าหมาย การจัดการศกึ ษาทผี่ ลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ดังนั้นคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิต ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ซ่งึ หมายความรวมถึงนักเทคโนโลยีการศึกษา ทีจ่ ะตอ้ งมคี วามรู้ความสามารถและทักษะการผลิต การสร้างสรรค์นวัตกรรม และเลือกใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสม จงึ ทาการปรบั หลักสตู รพร้อมจัดกระบวนการเรียน การสอนให้มีมาตรฐาน มีคุณภาพ และประสิทธิภาพโดยเฉพาะอย่างย่ิงมุ่งเน้นหลกั สูตรท่ีให้ความสาคัญกับการ ผลิตมหาบัณฑิตให้ชานาญทาง การวิจัยและการออกแบบและพัฒนาระบบทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ เรียนรู้ทต่ี อบสนองตอ่ การพฒั นาสังคมและประเทศต่อไป 12.2 ความเก่ียวขอ้ งกับพนั ธกิจของมหาวิทยาลัย 12.2.1 ดาเนินการสอนเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ทักษะท่ีเชี่ยวชาญเทคโนโลยีในการพัฒนา การศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมและรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 12.2.2 ผลิตผลงานวิจัยระดับมหาบัณฑิต และคณาจารย์เพื่อช้ีนาการพัฒนาการศึกษาของสังคม และประเทศ 12.2.3 บริการความรู้ เผยแพร่วิชาการทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ สู่ชุมชน สังคม และประเทศ 12.2.4 พฒั นานกั เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ท่ีสง่ เสรมิ ทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ 13 ความสมั พันธก์ ับหลกั สูตรที่เปดิ สอนในคณะ/ภาควิชาอืน่ ของมหาวิทยาลยั 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสตู รน้ีเปิดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สูตรอน่ื ไม่มี 13.2 กลุ่มวชิ า/รายวชิ าในหลกั สูตรทเ่ี ปิดสอนใหภ้ าควชิ า/หลกั สตู รอนื่ ตอ้ งมาเรยี น ไม่มี 13.3 การบริหารจดั การ ไมม่ ี

6 หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สตู ร 1. ปรัชญา ความสาคญั และวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร 1.1 ปรัชญา มหาบัณฑิตเป็นผู้นาในการวิจัยและพัฒนาทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนา การศกึ ษา อย่างมคี ณุ ธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม 1.2 วัตถปุ ระสงค์ เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และประสบการณใ์ นด้านตอ่ ไปนี้ 1.1.1. มีความเป็นผู้นา มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ศรัทธาในวิชาชีพ สนใจใฝ่รู้พัฒนา ตนเองและพัฒนาวิชาชพี 1.1.2. มีความรู้ ความสามารถทางการศึกษา และวิชาชีพเฉพาะสาขา โดยเน้นการนาเทคโนโลยี มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ แกป้ ัญหาและประเมินสถานการณ์ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 1.1.3. มีความสามารถวิจัยและพัฒนาออกแบบระบบสื่อสาร วิธีการ การฝึกอบรม โดยประยุกต์ หลกั การและทฤษฎีได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้ 1.1.4. มีความรับผิดชอบในการวางแผน ดาเนินงานในหน้าท่ีร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างเหมาะสม มี ทศั นคตทิ ีด่ ีตอ่ งานบรกิ าร เข้ากบั ครแู ละเปน็ ท่ีพึ่งของครดู า้ นการออกแบบการสอน 1.1.5. มคี วามสามารถในการสือ่ สารและประเมนิ วเิ คราะห์ 1.1.6. มีความสามารถในการเลือกใช้ส่ือและเผยแพร่นวัตกรรม วิเคราะห์กลยุทธ์ถ่ายทอดการ ยอมรบั การประยุกตใ์ ช้ และบรู ณาการเทคโนโลยีกบั การเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1.1.7.มีความสามารถในการบริหารจัดการและประเมินเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ 1.3 ผลการเรียนรู้ระดับหลกั สูตร (PLO) PLO 1 : สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ความรู้ เฉพาะกลุ่มวิชาและสามารถประยุกต์ใช้สถิติในการศึกษาวจิ ัยทส่ี ามารถบูรณาการองค์ความรู้ เพ่ือ ตอ่ ยอดงานวจิ ัยที่นาไปสกู่ ารพัฒนานวัตกรรมดา้ นการเรียนรูท้ ี่ทนั สมัยได้ Sub PLO 1.1 เชอ่ื มโยงสถานการณ์โลกและเทคโนโลยใี หท้ นั กบั ยุคปจั จบุ นั Sub PLO 1.2 พฒั นาต่อยอดงานวจิ ัยจนไดอ้ งคค์ วามรใู้ หม่ที่ทนั สมัยยิ่งขนึ้ Sub PLO 1.3 บูรณาการเชิงสถิติเพ่ือสังเคราะห์งานวิจัยจนได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง PLO 2 : สามารถนาความรู้เฉพาะกลุ่มวิชามาประยุกต์ใช้และบูรณาการกับการศึกษาวิทยานิพนธ์ การวางแผนการจัดทาวิทยานิพนธ์ วิธีการดาเนินงาน การวิเคราะห์และอภิปรายผลตลอดจน นาเสนอผลงานวจิ ัยตอ่ สาธารณะได้ Sub PLO 2.1 นาเสนอผลการวิจยั ในท่ปี ระชมุ ระดบั ชาติและนานาชาติ Sub PLO 2.2 เผยแพร่ผลงานตีพิมพใ์ นวารสารท่ีอยูใ่ นฐานขอ้ มูลท่ีสากลยอมรับ Sub PLO 2.3 ศึกษาวจิ ยั อยา่ งรอบคอบภายใตก้ รอบจรรยาบรรณนักวิจยั

7 PLO 3 : สามารถเป็นผู้นาในองค์กร เป็นนักวางแผนและพัฒนาองค์กรให้เกิดความก้าวหน้าด้วย ผลการวิจัยในองค์กรท่ีนาไปสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน พร่ังพร้อมด้วยเทคโนโลยีล้าสมัย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบส่วนรวม สามารถแก้ไขปัญหา เฉพาะหนา้ ได้ Sub PLO 3.1 ประยกุ ต์งานวจิ ัยเข้ากบั กระบวนการทางานภายในองค์กร Sub PLO 3.2 มีวิสัยทัศน์บริหารองค์กรด้านการศึกษาสมบทบาทความเป็นผู้นามี คุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถทางานเปน็ หมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบสว่ นรวม สามารถแกไ้ ข ปัญหาเฉพาะหน้าได้ Sub PLO 3.3 สรรหาเทคโนโลยที นั สมยั มาประยุกตใ์ ช้กับองค์กรด้านการศึกษา PLO 4 : นาวิทยาการท่ีได้รับจากงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้สู่ชุมชนรอบข้าง และนาภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ มาบรู ณาการร่วมกับงานวิจัย และเผยแพรอ่ งคค์ วามรูใ้ หม่ส่สู าธารณชน Sub PLO 4.1 เกบ็ ข้อมูลวิจัยเชิงลกึ กับปราชญ์ชาวบา้ นและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ Sub PLO 4.2 สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการสร้างงาน สรา้ งอาชพี เกิดรายไดแ้ กช่ มุ ชน Sub PLO 4.3 ประยกุ ต์ใช้รปู แบบการจัดการความรแู้ ละถา่ ยโยงความรูส้ ชู่ มุ ชน 1.4 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนร้เู มอ่ื ส้นิ ปีการศึกษา (Year Learning Outcomes, YLOs) ชั้นปที ี่ ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรูเ้ มือ่ ส้นิ ปีการศึกษา 1 สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้รบั มาประยุกตใ์ ช้กบั งานวิจยั ได้และทาการ สงั เคราะห์องค์ความร้จู ากแหลง่ สารสนเทศทงั้ ในและต่างประเทศท่ี ทันสมยั ตอ่ สภาวการณ์ของโลกปจั จบุ ัน 2 มีความรู้ดา้ นการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมใหมใ่ หเ้ กิดข้นึ ในวงการศกึ ษาและ ทาวิทยานพิ นธ์ท่ีตอบโจทย์ต่อยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

8 1.5 ความเช่อื มโยงระหว่างผลลัพธ์การเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ของหลกั สูตร (PLO) และผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอุดมศึกษา (TQF) ผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษา (TQF) ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 3.ด้านทกั ษะ 4.ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ 5. ด้านทักษะการ 6. ทักษะพสิ ยั ที่คาดหวังของ ทางปญั ญา ระหวา่ งบุคคลและความ วเิ คราะหเ์ ชิง หลกั สตู ร (PLOs) และ Sub 1.ดา้ นคณุ ธรรม 2.ด้านความรู้ รบั ผดิ ชอบ ตวั เลข การสอ่ื สาร PLOs จริยธรรม และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3 PLO 1 Sub PLO 1.1     Sub PLO 1.2     Sub PLO 1.3    PLO 2 Sub PLO 2.1      Sub PLO 2.2     Sub PLO 2.3     PLO3 Sub PLO 3.1     Sub PLO 3.2       Sub PLO 3.3      PLO 4 Sub PLO 4.1       Sub PLO 4.2     Sub PLO 4.3   

9 2. แผนพฒั นาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตัวบง่ ชี้ แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง - ติดตามผล และรวบรวมข้อมลู - รายงานผลการประเมินหลักสตู ร สาหรบั ใช้ในการปรับปรงุ - แผนการปรบั ปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี พัฒนาหลักสูตรอย่างตอ่ เน่อื ง - รายงานการประเมนิ ตนเอง สมา่ เสมอ รวมถงึ การประเมิน ประจาปีการศกึ ษา - แผนการจดั ทารายงานการประเมิน หลักสูตร - สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ตนเอง - ติดตามและรวบรวมข้อมูล ของนักศึกษา ในการจัดการเรียน - แผนพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการจดั การ สาหรบั การประกันคณุ ภาพ การสอน เรียนการสอน การวจิ ยั และการ - สนบั สนุน ส่งเสรมิ และกากับ - งานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่ บรกิ ารวชิ าการ ตดิ ตามการพฒั นาตนเอง ไดร้ ับการตีพิมพ์เผยแพร่ รายบุคคลดา้ นการจดั การเรียน - ผลการประเมินความพึงพอใจของ การสอน การวิจยั และการ ผ้ใู ช้บรกิ ารจากโครงการบริการ บริการวชิ าการ วิชาการของหลกั สตู ร

10 หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสตู ร 1. ระบบการจัดการศกึ ษา 1.1. ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซึ่งเปน็ ภาค การศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาหต์ ่อหนึ่งภาคการศึกษา ท้ังนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการ สอบด้วย และข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษา ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ (ภาคผนวก ค) 1.2. การจดั การศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับการพิจารณาของคณะ กรรมการบริหารหลักสตู ร ระยะเวลาการจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยเพิ่มชั่วโมงการศึกษา ในแตล่ ะรายวิชาให้เท่ากับภาคปกติ 1.3. การเทยี บเคยี งหน่วยกิตในระบบทวภิ าค - 2. การดาเนนิ การหลักสตู ร 2.1. วนั - เวลาในดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 เดอื นมิถนุ ายน–ตลุ าคม ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนพฤศจิกายน–มีนาคม ภาคการศึกษาฤดรู ้อน เดอื นเมษายน–มิถุนายน 2.2. คณุ สมบัติของผเู้ ขา้ ศกึ ษา 1. สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีทางด้านการศึกษาหรือเทียบเท่า 2. สาเรจ็ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรที ี่ไมเ่ ก่ยี วข้องกับการศึกษาหรือเทยี บเท่า กรณีผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาท่ีไม่เก่ียวข้องทางการศึกษาจะต้องศึกษาวิชา พนื้ ฐานทางการศกึ ษา 02-211-601 ในหมวดวชิ าปรบั พ้นื ฐานเพิ่มเตมิ 2.3. ปญั หาของนักศึกษาแรกเข้า 1. นักศึกษาไม่สาเรจ็ คณุ วฒุ ิทางการศึกษา 2. ไม่มีพื้นฐานความรู้ทางการศึกษา 3. ยงั มไิ ดร้ ับการแนะนาเกี่ยวกับการเรยี น การปรบั เปลย่ี นวิถีชีวติ ให้สามารถเรียนได้อย่างราบร่นื 2.4. กลยทุ ธใ์ นการดาเนนิ การเพอ่ื แกไ้ ขปญั หา/ข้อจากดั ของนกั ศึกษาในขอ้ 2.3 1. นักศกึ ษาท่ไี มม่ พี ้นื ความรูท้ างการศึกษา หลักสตู รได้กาหนดให้เรียนวชิ าพ้นื ฐานทางการศึกษา 2. จัดอาจารย์ท่ปี รึกษาใหค้ าแนะนาเกีย่ วกับการเรยี น การปรบั เปลย่ี นวถิ ีชีวติ ใหส้ ามารถเรียน

11 2.5. แผนการรบั นกั ศึกษาและผ้สู าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี แผน ก แบบ ก2 จานวนนกั ศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาแต่ละปกี ารศกึ ษา 2568 2564 2565 2566 2567 20 20 ช้ันปที ี่ 1 20 20 20 20 40 20 ช้ันปีท่ี 2 - 20 20 20 รวม 20 40 40 40 คาดว่าจะสาเร็จการศกึ ษา - 20 20 20 2.6. งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย:บาท) รายละเอียดรายรบั ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 ค่าบารงุ การศกึ ษา+ 920,000 1,840,000 1,840,000 1,840,000 1,840,000 ค่าลงทะเบียน เงินอดุ หนุนจากรัฐบาล --- - - รวมรายรับ 920,000 1,840,000 1,840,000 1,840,000 1,840,000 2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย:บาท) หมวดเงิน ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 ก. งบดาเนนิ การ 1. ค่าใชจ้ ่ายบคุ ลากร 1,548,000 1,609,920 1,674,316 1,741,289 1,810,941 2. คา่ ใชจ้ ่ายดาเนนิ งาน 187,500 375,000 375,000 375,000 375,000 (ไม่รวม 3) 3. ทนุ การศึกษา 00 0 00 4. รายจ่ายระดบั มหาวทิ ยาลัย 309,600 321,984 334,863 348,257 362,188 (รวม ก) 2,045,100 2,306,904 2,384,179 2,464,546 2,548,129 รวม (ก) 2,115,100 2,376,904 2,454,179 2,543,546 2,618,129 จานวนนกั ศกึ ษา 20 40 40 40 40 คา่ ใช้จ่ายตอ่ หวั นกั ศกึ ษา 105,755 59,422 61,354 63,588 65,453 * หมายเหตุ จานวนนกั ศึกษารวมหลักสูตรเก่า และหลักสตู รปรบั ปรงุ ค่าใช้จา่ ยตอ่ หัวนกั ศึกษาเฉลย่ี 65,453 บาท/ปี 2.7. ระบบการศกึ ษา ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน และเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 และแก้ไขเพิ่มเติม (ภาคผนวก ค)

12 2.8. การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถาบันอดุ มศึกษา การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา ให้เป็นไปตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และแก้ไข เพ่มิ เติม (ภาคผนวก ค) 3. หลกั สตู รและอาจารย์ผสู้ อน 3.1. หลกั สูตร 3.1.1. จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกติ 3.1.2. โครงสร้างหลกั สตู ร ใช้หลกั สูตรตามแผน ก แบบ ก2 แบง่ เปน็ หมวดตา่ งๆ ดังน้ี 1. หมวดวชิ าบังคับ 18 1.1 วชิ าพืน้ ฐานทางการศกึ ษา 9 1.2 วชิ าเฉพาะ 9 2. หมวดวชิ าเลือก 6 3. วิทยานพิ นธ์ 12 รวมท้ังส้ิน 36 หมายเหตุ ทัง้ น้ี หากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรมีความคดิ เหน็ ให้เพิม่ เติมพน้ื ฐานความรู้ คณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู รอาจกาหนดให้เรยี นรายวชิ าเพิม่ เตมิ โดยไม่นับหนว่ ยกติ และประเมนิ ผล เปน็ S หรอื U

13 3.1.3. รายวิชา ความหมายของเลขรหสั รายวชิ า คณะ ภาควชิ า/สาขา สาขาวิชา แขนงวิชา/กลมุ่ วิชา ปที ค่ี วรศึกษา ลาดับทีข่ องรายวิชา XX-X X X- X XX 12 3 4 5 6 7 8 1. ตาแหน่งที่ 1-2 หมายถึง คณะ 2. ตาแหน่งท่ี 3 หมายถึง ภาควิชา/สาขา 3. ตาแหนง่ ที่ 4 หมายถึง สาขาวิชา 4. ตาแหน่งท่ี 5 หมายถึง แขนงวชิ า/กลุ่มวชิ า 5. ตาแหนง่ ที่ 6 หมายถงึ ปีที่ควรศึกษา 6. ตาแหน่งที่ 7-8 หมายถงึ ลาดับที่ของรายวชิ า ความหมายของรหสั การจัดชั่วโมงเรียน หน่วยกติ ชั่วโมงเรยี นทฤษฎี ช่ัวโมงเรียนปฏิบตั ิ ช่ัวโมงการศึกษานอกเวลา X (X- X - X)

14 รายวชิ า 3(3-0-6) หมวดวิชาปรับพนื้ ฐาน 3 หน่วยกิต *02-211-601 พืน้ ฐานทางการศึกษา Foundations of Education 1. หมวดวชิ าบงั คบั 18 หน่วยกิต 3(3-0-6) 1.1 วชิ าพื้นฐานทางการศกึ ษา 9 หน่วยกติ ให้ศึกษาจากวิชาตอ่ ไปนี้ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-311-601 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ Learning Technology and Innovation 02-131-601 ระเบียบวธิ วี ิจยั Research Methodology 02-311-605 นวัตวถิ ีทางการศึกษา New Normal in Education 1.2 วิชาเฉพาะ 9 หนว่ ยกิต ให้ศกึ ษาจากวชิ าต่อไปน้ี 3(3-0-6) 02-311-602 การสร้างสรรคส์ อ่ื ใหมแ่ ละแหลง่ การเรยี นรแู้ บบเปิด 3(3-0-6) New Media Creation and Open Educational 3(2-3-5) Resources 02-311-604 การบริหารและการจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรียนรู้ Learning Technology and Innovation Management 02-311-701 สมั มนาทางเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรยี นรู้ Seminar in Learning Technology and Innovation หมายเหตุ * รายวิชาปรับพืน้ ฐานสาหรับผ้ไู มม่ วี ุฒทิ างการศึกษา ผูส้ าเรจ็ การศึกษาระดับปรญิ ญาตรใี นสาขา ที่ไม่เกย่ี วขอ้ งกับทางการศกึ ษาจะตอ้ งเรียนปรับพนื้ ฐานโดยไม่นบั หนว่ ยกิต และต้องมผี ลการเรยี นผ่านเกณฑ์ ในระดับ S ในรายวิชา 02-211-601 2. หมวดวชิ าเลอื ก จานวน 6 หน่วยกติ ให้เลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี โดยให้นักศกึ ษา สามารถเลอื กศึกษา ขา้ มกลุ่มวิชาได้ 2.1 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-311-603 การวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Research and Development of Learning Technology and Innovation 02-312-601 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการเรียนรู้ 3(3-0-6) Information and Communication Technology for Learning

15 02-311-702 การเรียนรูผ้ า่ นโสตประสาท 3(3-0-6) 02-311-703 Auditory Learning 3(3-0-6) แนวโน้มและวิถใี หม่ทางเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ 02-311-704 Trends and New Normal in Learning Technology 3(3-0-6) 02-311-705 and Innovation 3(3-0-6) 02-311-706 การสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรรู้ อบโลก 3(3-0-6) 02-311-707 Technology Creation for Learning Around the World 3(3-0-6) เรยี นรูเ้ พื่อรเู้ รยี นสาหรับนวัตกร Learning to Learn for Innovators 3(3-0-6) กลยุทธ์การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรม 3(3-0-6) Strategies for Training Course Development การจัดสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้เสมอื นจรงิ 3(3-0-6) Virtual Learning Environment Arrangement 3(3-0-6) 2.2 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-3-5) 02-312-701 สอื่ สงั คมออนไลน์เพ่ือการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Social Media for Learning 02-312-702 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ Innovation and Information Technology for Learning 02-312-703 ส่ือดจิ ิทลั เพ่ือการศกึ ษา Digital Media for Education 02-312-704 การพัฒนาแอปพลิเคชันเพ่ือการเรยี นรู้ Application Development for Learning 2.3 กลุ่มวิชาสรา้ งสรรค์นวัตกรรม 02-313-701 การพัฒนาสื่อปัญญาประดษิ ฐ์เพอื่ การเรียนรู้ Development of Artificial Intelligence Media for Learning 02-313-702 นวัตกรรมส่ิงประดิษฐเ์ พ่ือการเรียนรู้ Innovation Invention for Learning

02-313-703 16 3(2-3-5) การผลิตรายการวทิ ยุ-โทรทัศนด์ ิจิทลั เพือ่ การเรียนรตู้ าม 3(3-0-6) อธั ยาศัย 3(3-0-6) Production of Digital Radio and Television Programs 12(0-0-36) for Informal Learning 2.4 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีบูรณาการ 02-314-701 ววิ ฒั นาการเรียนรู้จากอีเลิร์นนง่ิ ถึงยเู ลริ ์นนิง่ Learning Evolution from E-Learning to U-Learning 02-314-702 การออกแบบส่ือบรู ณาการเพ่ือการเรยี นรู้ Integrated learning Materials Design 3. วิทยานิพนธ์ 02-317-702 วทิ ยานพิ นธ์ Thesis

17 3.1.4. แสดงแผนการศกึ ษา แผน ก 2 ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-131-601 ระเบียบวิธีวจิ ยั 3 30 6 02-311-601 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 3 30 6 02-311-602 การสร้างสรรคส์ ื่อใหม่และแหลง่ การ 3 30 6 เรียนรูแ้ บบเปิด 02-31x-xxx วชิ าเลอื ก 3 xx x รวม 12 x x x ปที ี่ 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-311-605 นวตั วถิ ีทางการศึกษา 3 30 6 02-311-701 สัมมนาทางเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 3 23 5 การเรยี นรู้ 02-311-604 การบรหิ ารและการจดั การเทคโนโลยี 3 30 6 และนวตั กรรมการเรยี นรู้ 02-31x-xxx วิชาเลอื ก 3 xx x รวม 12 x x x ปที ี่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-317-702 วิทยานิพนธ์ รวม 6 0 0 18 6 0 0 18 ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-317-702 วทิ ยานิพนธ์ รวม 6 0 0 18 6 0 0 18

18 3.1.5. คาอธิบายรายวชิ า *02-211-601 พ้นื ฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) Foundations of Education การศึกษาในลักษณะบูรณาการเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษา ระบบการศึกษา ของไทย หลักสูตรและการสอน จิตวิทยาการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาและ การวัดและประเมินผลการศึกษา Integration related to the philosophy of education, Thai Education the system, curriculum and instruction, educational psychology, educational technology, and educational measurement and evaluation * รายวิชาปรับพื้นฐานสาหรับผู้ที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสาขาที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางการศึกษาจะต้องเรียนปรับพื้นฐานโดย ไม่นับหน่วยกิต และต้องมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ ในระดับ S ในรายวิชา 02-211-601 02-311-601 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Learning Technology and Innovation ขอบข่าย บทบาท พัฒนาการและแนวโน้มเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ น วัต ก ร ร ม ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยีแ ล ะ สื่อ ส า ร ก า ร ศึก ษ า ก า ร ป ร ะ ยุก ต์ ใ ช้กับ ก า ร เ ร ี ย น การสอน การเรียนรู้ การศึกษาและสังคม ท้ังในปัจจุบันและอนาคต Domains, roles, development, and trends in learning technology and innovation, innovations in educational technology and communications, applications of instruction, learning, education and society in the present and future

19 02-131-601 ระเบยี บวธิ วี ิจยั 3(3-0-6) Research Methodology ประเภทของการวิจัย การนิยามปัญหาการวิจัย การศึกษาเอกสารและงานวิจัย ท่เี กยี่ วข้อง ประชากรและการเลือกกล่มุ ตัวอย่าง การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ วิจัย การรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวจิ ัย การวิเคราะห์ข้อมูล การแปล ความหมาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการอภิปรายผล การให้ข้อเสนอแนะ การเขียนเค้า โครงการวิจยั การรายงานผลการวจิ ยั และฝึกประสบการณก์ ารวจิ ยั Analysis, criticism of research types, research problems, research and documents, population number and sampling selection, quality of research tools, interpretation, summary, and recommendation provision structure, the research report 02-311-605 นวัตวถิ ีทางการศึกษา 3(3-0-6) New Normal in Education ศกึ ษาแนวทางใหม่ท่ีเกยี่ วข้องกบั การจดั การเรียนรู้ท่มี ีการปรบั เปล่ยี นตามกาลเวลา การ จัดสภาพแวดล้อมด้วยนวัตกรรมที่เหมาะสม การออกแบบการเรียนการสอนและการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับยุคสมัย วิธีการเรียนรู้และการประเมินผลท่ีหลากหลาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ แนวทางการสงั เคราะห์งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้องกับนวัตวิถที างการศึกษาที่จะ ถกู นามาใช้อยา่ งเป็นปกติเพ่ือใหก้ ารจัดการศึกษาเปน็ ไปตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศ The new roles concerning the educational situation, environment setup by suitable innovation, instructional and learning design that consistent with the era, various instructional and evaluation methods, rules, regulations, and guidelines for research synthesis related to new normal in education that will generally use to provide education by the direction of national development

20 02-311-602 การสรา้ งสรรค์สื่อใหมแ่ ละแหล่งการเรียนรแู้ บบเปิด 3(3-0-6) New Media Creation and Open Educational Resources หลักการสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้ตามยุคสมัย การจัดการสื่อการเรียนรู้รูปแบบ ดิจิทัลที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม การเผยแพร่ นวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ การพัฒนาแหล่งความรู้ที่ ไม่ขึ้นต่อสถาบันการศึกษา แนวทางการสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อ ใหม่และแหล่งการเรียนรู้แบบเปิด Principles of learning media creation in the digital era, learning media management with appropriate tools, diffusion of learning innovation podcasting, open sources of knowledge development that are independent of educational institutions, guidelines for research synthesis related to new media, and open learning resources 02-311-604 การบริหารและการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(3-0-6) Learning Technology and Innovation Management แนวคิดหลักการบริหารและการจัดการ การวิเคราะห์ การวางแผน การออกแบบ การพัฒนา และการประเมินเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ และองค์กร ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ในบริบทจริงและบริบทเสมือน Concepts, principles of administration, analysis, planning, design, development, and evaluation in learning technology and innovation and learning technology and innovation organization in realistic contexts and and virtual contexts 02-311-701 สมั มนาทางเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-3-5) Seminar in Learning Technology and Innovation นาเสนอและอภิปรายประเด็นท่ีน่าสนใจทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ใน ปัจจบุ ันและอนาคต Interesting topics to discuss and present on learning technology and innovation in the present and future

21 02-311-603 การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ 3(3-0-6) Research and Development of Learning Technology and Innovation หลักและระเบียบวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินการวิจัยในสาขาเทคโนโลยีการศึกษาท้ังในและนอกประเทศ นาเสนอโครงการวิจยั Principles and methodologies in learning technology and innovation, analysis synthesis and evaluation of research in educational technology in domestic and international other countries, research proposal presentation 02-312-601 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการเรียนรู้ 3(3-0-6) Information and Communication Technology for Learning ทฤษฎี กระบวนการ บทบาท และงานวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการและ กระบวนการส่ือสารการเรียนรู้ เทคนิค และการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารการศกึ ษา Theories, processes, roles, and researches in information, principles and learning communications processes, methods and applications of information and communications technology for education 02-311-702 การเรียนรผู้ า่ นโสตประสาท 3(3-0-6) Auditory Learning หลักการทางวิชาการเกี่ยวกับการได้ยิน คลื่นเสียงเหลื่อมความถี่เพื่อกระตุ้นการ เรียนรู้ การพัฒนาสื่อเสียงที่มีผลต่อการเรียนรู้ การใช้ดนตรีเพื่อการบาบัดสภาวะ ทางอารมณ์ กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบทเพลง แนวทางการสังเคราะห์งานวิจัยท่ี เกี่ยวข้องกับการใช้คล่ืนเสียงเพ่ือการเรียนรู้ Principles about audiology, binaural beats to stimulate learning, audio media creation that affects learning, the use of music for emotional therapy, learning activities through music, guidelines for the synthesis of research related to the use of sound waves for learning

22 02-311-703 แนวโน้มและวิถีใหมท่ างเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Trends and New Normal in Learning Technology and Innovation แนวคิด หลักการ และทฤษฎีทางจิตวิทยาทางการศึกษา ท่ีนามาใช้ในการพัฒนางานด้าน เทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ การออกแบบการเรยี นการสอน ออกแบบสอื่ การประเมิน การจัดการและการบรกิ ารทางดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรียนรู้ Concepts, principles educational psychology theories, to develop learning technology and innovation, instructional design, media design, evaluation, learning technology and innovation management and service 02-311-704 การสร้างสรรค์เทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนรรู้ อบโลก 3(3-0-6) Technology Creation for Learning Around the World หลักการออกแบบเทคโนโลยี การประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อสร้างส่อื การเรียนรู้ การจัดระบบการ จัดการเรียนรู้ ด้านบริหาร ด้านวิชาการ และด้านบริการ การประยุกต์ใช้เพ่ือประโยชน์ในการ เรยี นรขู้ องประชาคมโลก Technology design principles, application of technology to create learning materials, organization of learning management systems in academic and service management, application for the global community's learning benefit 02-311-705 เรยี นรเู้ พอื่ รูเ้ รยี นสาหรับนวัตกร 3(3-0-6) Learning to Learn for Innovators หลักการเรียนรู้เพ่ือรู้เรียนการพัฒนานวัตกรรมสาหรับนวัตกรยุคใหม่ การรวบรวม การ ประมวลผล การแปลงข้อมูลการเรียนรู้เพื่อสื่อความหมายท่ีเหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน สภาพ การเรียนรู้และยุคสมัยในรูปแบบของส่ือชนิดต่าง ๆ แนวทางการสังเคราะห์งานวิจัยที่ เกยี่ วขอ้ งกบั นวตั กรรมการเรยี นรู้ Principles of learning of innovation development for a modern innovator, collection, processing, data transformation for communication that is suitable for the learners, learning conditions, and learning eras of various media guidelines for the synthesis of research related to the learning innovation

23 02-311-706 กลยุทธ์การพฒั นาหลกั สตู รฝึกอบรม 3(3-0-6) Strategies for Training Course Development การสร้างยุทธวิธี กระบวนการ การวางแผน ออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการฝึกอบรม การจดั การและการถ่ายทอดความรู้ การเลือกใช้กลยทุ ธทีเ่ หมาะสมในการจดั การฝกึ อบรม Strategic creating, process planning, designing and developing training management system, management, and transfer knowledge, select strategic appropriately of training management 02-311-707 การจัดสภาพแวดลอ้ มการเรยี นร้เู สมอื นจรงิ 3(3-0-6) Virtual Learning Environment Arrangement แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ การออกแบบการ จัดสภาพแวดล้อมเสมือนจริงเพื่อประยุกต์ใช้ในการศึกษา Concepts, principles, theories, information management systems, information technology, designing virtual learning environment management apply to education 02-312-701 สอื่ สงั คมออนไลนเ์ พื่อการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Social Media for Learning การบูรณาการ หลักการศึกษา หลักการสื่อสาร วิธีระบบ การจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เครอ่ื งมอื ในการสือ่ สารผ่านโซเชียลมีเดีย Integration, educational principles, communications principles, system approach, knowledge management, information system, information technology, tools in communicating via social media 02-312-702 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้ 3(3-0-6) Innovation and Information Technology for Learning การประยุกต์หลักการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบการเรียนการสอน และจิตวทิ ยาการศึกษาเพ่ือนามาใช้ในการออกแบบและพัฒนาระบบการเรียนรู้ Applications of principles in information communication and technology, instructional system, and educational psychology apply for designing and developing a learning system

24 02-312-703 ส่ือดิจิทัลเพ่ือการศกึ ษา 3(3-0-6) Digital Media for Education การพฒั นาและออกแบบระบบสือ่ ดิจิตอลเพ่อื การศึกษา การบริหาร การวิจยั การบริการ และแก้ปัญหาทางการศึกษา Developing and designing digital systems for education, administration, researching, serving, and problems solving in education 02-312-704 การพฒั นาแอปพลเิ คชนั เพอื่ การเรียนรู้ 3(3-0-6) Application Development for Learning การประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องในการออกแบบแอปพลิเคชันเพ่ือ การเรยี นรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ Applications of principles, theories, and researches in designing an application for learning several forms systematically 02-313-701 การพัฒนาสือ่ ปัญญาประดิษฐเ์ พือ่ การเรยี นรู้ 3(2-3-5) Development of Artificial Intelligence Media for Learning หลักการเรียบเรียงข้อมูล การเตรียมต้นฉบับมันสมองอิเล็กทรอนิกส์ ลิขสิทธิ์ส่ือ ปญั ญาประดิษฐ์ การวเิ คราะห์ต้นทุนและคณุ ภาพ ระบบและกระบวนการจัดเรียงไมโครชิฟ ปฏิบัติการผลิตสื่อปัญญาประดิษฐ์ด้วยซอฟท์แวร์เฉพาะ วิเคราะห์คุณภาพส่ือและการ นาไปใชส้ นับสนนุ การเรียนรู้ Data compilation principles preparation of the electronic brain manuscript copyright of artificial intelligence media cost and quality analysis microchip sorting systems and processes practice producing artificial intelligence media with specialized software, analyze media quality and use to support learning 02-313-702 นวตั กรรมสงิ่ ประดิษฐเ์ พอื่ การเรียนรู้ 3(3-0-6) Innovation Invention for Learning การสร้างแนวคิดเชิงนวัตกรรม ประยุกต์หลักการเชิงดิจิทัลเสริมการเรียนรู้ การออกแบบ ส่ิงประดิษฐ์ จิตวิทยาการเรียนรู้ ความรู้ทางด้านผลิตสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และหลักการ นาไปใชใ้ นและประเมินสอื่ อย่างเปน็ ระบบ Creating innovative ideas apply digital principles to enhance learning. invention design, learning psychology, the production of learning materials, and principles of applying in and systematically evaluating the media

25 02-313-703 การผลติ รายการวิทยุ-โทรทศั น์ดจิ ิทลั เพอ่ื การเรียนรู้ตามอธั ยาศยั 3(2-3-5) Production of Digital Radio and Television Programs for Informal Learning หลักการผลิตรายการวิทยุ-โทรทัศน์ดิจิทัลเพ่ือออกอากาศบนระบบเครือข่ายสารสนเทศ จิตวิทยาที่เก่ียวข้อง การจัดการกระบวนการผลิตรายการ การออกแบบสาร การประเมิน คุณภาพรายการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกอากาศ แนวทางการสังเคราะห์งานวิจัยที่ เกีย่ วขอ้ งกบั สอ่ื รูปแบบดิจิทลั แพลตฟอรม์ Principles of production for broadcasting media on digital network, psychology- related to informal learning, production process management, message design, program quality evaluation, broadcasting law, guidelines for research synthesis related to the media in the digital platform 02-314-701 วิวฒั นาการเรียนรจู้ ากอีเลิรน์ นิ่งถึงยูเลริ น์ นง่ิ 3(3-0-6) Learning Evolution from E-Learning to U-Learning พฒั นาการ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และนาเสนออีเลิรน์ นงิ ถงึ ยเู ลิร์ นนิ่งเพอ่ื การศึกษาอยา่ งเป็นระบบ ประยุกตใ์ ช้ หลักการ ทฤษฎี ทางการออกแบบ จติ วทิ ยา การศกึ ษา การนาส่ือยูเลริ น์ นง่ิ มาใชเ้ พื่อพฒั นาการสอน Evolution information technology systems, information technology and presenting E- Learning to U- Learning for education systematically, apply principles and theories in designing, educational psychology, apply U-Learning for teaching development 02-314-702 การออกแบบส่ือบูรณาการเพื่อการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Integrated learning Materials Design การประยุกต์หลักการ ทฤษฎี บูรณาการส่ือ อิเล็กทรอนิกส์และส่ือไม่ใช้อิเล็กทรอนิกส์ในการ ผลิตสอ่ื เพ่อื การนาเสนอ และสื่อเพื่อการเรียนรู้ในระบบการเรยี นการสอน Application of principles, theories, integrate non- electronics media and electronics media to produce media for presentation and learning media in the teaching system

26 02-317-702 วิทยานิพนธ์ 12(0-0-36) Thesis การจัดทาวิทยานิพนธ์ภายใต้ขอบข่ายเทคโนโลยีและส่ือสาร โดยการกาหนดปัญหา การ วางแผน การศึกษาวรรณกรรมและเอกสารที่เก่ียวข้อง ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติท่ีเก่ียวข้อง การพัฒนาเคร่ืองมือในการวิจัย การดาเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และแปลผลข้อมูล การเขียน การจัดทา การเสนอวิทยานิพนธ์ต่อคณะกรรมการสอบ วิทยานพิ นธ์ และสาขาวชิ า และการเผยแพร่วิทยานิพนธ์ Development thesis in educational technology and communications domains, problems identification, planning, research and literature reviews, research methodology and statistics, data collections, data analysis and interpretations, writing, developing, and presenting of thesis reports to the thesis examination committees

27 3.2. ช่ือ สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสตู ร ลา ช่อื - นามสกลุ ตาแหนง่ คุณวุฒ/ิ สาขาวชิ าเอก สาเร็จจาก ดบั วชิ าการ 1 นางสาวทศพร* ผู้ช่วย ปร.ด. (นวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี แสงสวา่ ง ศาสตราจารย์ ทางเทคโนโลย)ี พระจอมเกล้าธนบุรี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช (สาขา ศษ.ม. (เทคโนโลยีและ เทคโนโลยแี ละ สื่อสารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร สอื่ สาร ค.บ. (บรรณารกั ษศาสตร)์ การศกึ ษา) 2 นายเทียมยศ ผู้ช่วย ศษ.ด.(เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ปะสาวะโน ศาสตราจารย์ ศษ.ม.(เทคโนโลยีการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น นศ.บ.(นิเทศศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช (สาขา เทคโนโลยแี ละ

ภาระการสอน ชม./สปั ดาห์/ ปีทจี่ บ ผลงานทางวชิ าการ ปีการศกึ ษา 2564 2565 2566 2567 2554 1) Sangsawang, T. (2020). An Instructional Design for 6 9 9 9 Online Learning in Vocational Education according to 2546 a Self- Regulated Learning Framework for Problem Solving during the CoViD-19 Crisis. Indonesian Journal 2539 of Science & Technology. 5( 2) . September 2020. https://doi.org/10.17509/ijost.v5i2.24702. pp. 283-298. 2) Sangsawang, T. , & Maneetham, D. ( 2020) . The Machine Game for Development in Reading Skill of Learning Disabilities Students. International Journal of Advanced Science and Technology. 29,(7s), July 2020. pp. 251-261. (Q3). 3) Hurriyati, R., A, A., AD, Minghat, Sangswang, T. (2020). Model of Purchase Impulsive Behavior of Online Consumers: Case in Indonesia.” International Journal of Advanced Science and Technology. 29, ( 7s) , July 2020. pp. 290-298.(Q3) 2553 1) Pasawano, T. ( 2019) . Vocational Education and 6 9 9 9 2545 Training in Thailand - Current Status and Future 2540 Development. Vocational Education and Training in ASEAN Member States: Current Status and Future Development ( Perspectives on Rethinking and

28 สอื่ สาร การศึกษา) 3 นายเมธี ผู้ช่วย ปร.ด. (เทคโนโลยีเทคนคิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี พกิ ุลทอง ศาสตราจารย์ ศกึ ษา) พระจอมเกล้าพระนครเหนอื มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (สาขา ศษ.ม. (เทคโนโลยี เทคโนโลยีและ การศึกษา) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ส่ือสาร ศษ.บ. (โสตทัศนศึกษา) การศึกษา)

Reforming Education), Springer, Singapore, 14 April 2019. pp. 207-228. (Scopus). 2) Pasawano, T. ( 2019) . Effectiveness of Web- Based Learning to Enhance Critical Thinking for Grade 3 Students. Proceeding The Third International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education ( ICIEVE 2019) , Universitas Pendidikan Indonesia (UPI), Bandung, Indonesia, 26 November 2019. pp. 581-586. (Scopus) 3) Pasawano, T. (2019). Development of an Edutainment Classroom Model on Creation of Multimedia for Education. Proceeding 15th Annual CamTESOL Conference on English Language Teaching, Teachers as Learners, , Institute of Technology Cambodia ( ITC) Phnom Penh, Cambodia. 16-17 February 2019. pp. 150- 151. 2558 1) Plaimart, W., Pigultong, M., Vipahasna, K, Pannim, .P, 6 9 9 9 and Rangrongratana, R. (2019). Ecosystem for human 2539 capital development to drive the digital economy in industrial areas in Thailand. The International 2532 Conference on Science and Technology (TICST 2019). National Pingtung University, Pingtung, Taiwan, November 22 - 24, 2019. pp.175-187. 2) Pigultong, M. (2019). Training Course Development for enhancement of Buddhist Monk Characteristics as the Community Leader. The International Conference on the 14th on Teaching, Learning, Innovation and

29 4 นางสาวนฤมล อาจารย์ กศ.ด. (เทคโนโลยแี ละ มหาวิทยาลัยนเรศวร เทพนวล สอ่ื สารการศึกษา) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง สถาบนั ราชภฎั เพชรบุรี ศศ.ม. (บรรณารกั ษศาสตร์ และสารนเิ ทศศาสตร์) ศศ.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์)

Educational Technology ( ICE19Singapore Conference) . 14 April 2019. pp. 1-9. 3) Pigultong, M. ( 2 0 1 8 ) . The Opinions about Relationship between Student and Instructor in the Class of Hands – on. the International Conference on Innovation in Engineering and Vocational Education 2 0 1 8, Universitas Pendidikan Indonesia ( UPI) in collaboration with Universitas Negeri Manado ( Unima) and Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Manado, North Sulawesi, Indonesia. 11-12 September 2018. pp.188-203. 2556 1) เกตุแก้ว ย่ิงยืนยง และนฤมล เทพนวล. (2563). การพัฒนา 6 9 9 9 แอปพลิเคชันสาหรับการเรียนรู้เรื่องเซลล์และโครงสร้างของ 2547 เซลล์ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1. วารสารมหาจุฬาลงกรณราช 2539 วิทยาลัย. 8(1). เดือนมกราคม-เมษายน 2563. น.78-97. (TCI ฐาน 2). 2) ศิริวรรณ ดับทุกข์ และนฤมล เทพนวล. (2563). การพฒั นา แอปพลิเคชนั เพอื่ ส่งเสริมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมสาหรบั นิสิตระดับ ปรญิ ญาตรี. วารสารมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. 7(2). พฤษภาคม –สิงหาคม 2563. น.81-93. (TCI ฐาน 2). 3) นพดล เพญ็ ประชุม และนฤมล เทพนวล. (2563). การพัฒนา บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ส่วน ง า น เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ด้ า น ดิ จิ ทั ล ส า ห รั บ บุ ค ล า ก ร ภ า ค รั ฐ . วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 7(1). มกราคม-เมษายน 2563. น. 204-217. (TCI ฐาน 2).

30 5 นางสาวธดิ ารตั น์ อาจารย์ ปร.ด. (เทคโนโลยีเทคนิค มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี กุลณัฐรวงศ์ ศึกษา) พระจอมเกล้าพระนครเหนอื มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ค.อ.ม. (คอมพวิ เตอร์และ พระจอมเกล้าธนบรุ ี เทคโนโลยสี ารสนเทศ) สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ) 6. นางสาวมธุรส อาจารย์ ปร.ด.(เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอม ผ่านเมอื ง สารสนเทศ) เกลา้ พระนครเหนือ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล วท.ม.(เทคโนโลยีการจัดการ ระบบสารสนเทศ) สถาบันราชภฎั บา้ นสมเด็จ เจา้ พระยา ศศ.บ.(บรหิ ารธุรกจิ )

2556 1) ธิดารตั น์ กุลณัฐรวงศ์ และเกียรติศักดิ์ พนั ธล์ าเจยี ก. (2562). 6 9 9 9 การพัฒนาระบบการเรียนแบบปรับเหมาะบนเว็บตาม แนวคิด 2549 การเรียนแบบรอบรู้ที่เสริมศักยภาพการเรียนเพื่อเสริมสร้าง ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี. วารสาร 2546 ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 30(1). มกราคม – เมษายน 2562. น.195-208. 2) ลิขิต เกิดมงคล, สวนันท์ แดงประเสริฐ และธิดารัตน์ กุลณัฐ รวงศ์. (2562). การพัฒนาเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อเสริม ทักษะการสร้างสื่อการสอน Augmented Reality. วารสารครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนอื . 10(1). มกราคม-เมษายน 2562. น.198-213. 3) ธิดารัตน์ กุลณัฐรวงศ์ และเกยี รตศิ กั ด์ิ พนั ธ์ลาเจยี ก. (2561). การพัฒนาระบบการสอนอัจฉริยะบนเว็บตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคลด้านแบบการเรียนเพ่ือเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสาร Veridian e-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11(1) เดือนมกราคม – เมษายน 2561. น.1691-1706. 2561 1) Tangprasert, S. and Panmuang, M. ( 2019) . 3 6 6 6 Authentication and Authorization System. In The 7th 2553 International Conference on Robotics, Informatics, and Intelligence control Technology ( RIIT2019) , 13- 15 2545 December 2019 Bangkok, Thailand. pp.203-215. 2) Panmuang, M. and Porrawatpreyakorn, N. ( 2016) . Factors Influencing Acceptance of and Benefit Realization from Information Systems in Thai State Enterprises. In 16th European Conference on e-

31 7. นางสาวปิยนนั ท์ ผูช้ ว่ ย ปร.ด. (ธุรกจิ เทคโนโลยแี ละ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ปานนม่ิ ศาสตราจารย์ การจดั การนวตั กรรม) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (สาขา วท.ม. (เทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศ) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั สารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล การศึกษา) ค.ม. (โสตทัศนศกึ ษา) บธ.บ. (คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ)

Government. Faculty of Administration, University of Ljubljana Slovenia. 16-17 June 2016. pp. 343-347. 3) Potiwara, K., Rodmorn, C. and Panmuang, M. (2016). An Analysis of the Computer Network Based on the Traffic of Social Network by Graph Theory: A Case Study of Bangkokthonburi University. In International Conference on Learning Innovation in Science and Technology (ICLIST2016). 27-29 January 2016 Pattaya, Thailand. pp. 190-197. 2562 1) กิติภูมิ วิภาหัสน์, ปิยนันท์ ปานนิ่ม และนายวรพันธ์ สาระ สุรยี ์ภรณ.์ (2563). แอปพลเิ คชันบนอปุ กรณ์พกพาพฒั นาทักษะ 2554 ด้านมารยาทชาวพุทธ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 22(4). ตุลาคม- 2550 ธนั วาคม 2563. หนา้ 307-330. 2545 2) 1) Plaimart, W. , Pikulthong, M. , Vipahasna, K. , Pannim, P. , & Rangrongratana, R. ( 2019) . Innovative Ecosystem for Human Capital Development to Drive the Digital Economy in Industrial Areas in Thailand. Proceeding of The International Conference on Science and Technology ( 2019 TICST) . 22- 24 November 2019. National Pingtung University Taiwan, PP.54 – 60. 3) Pannim, P., Suwannatthachote, P. & Numprasertchai, S. ( 2018) . Investigation of Instructional Design on

32 หมายเหตุ * ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร และลาดบั ที่ 1 เปน็ ประธานหลกั สตู ร

Reading Comprehension Affect the Demand for Mobile Application for Students with Learning Disabilities. Proceedings of the 2018 2nd International Conference on Education and E- Learning - ICEEL 2018, Bali, Indonesia, 5-7 November 2018. PP.104-108.

33 3.2.2 อาจารย์พิเศษ ตาแหนง่ สถานที่ทางาน ศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ลาดบั ช่อื -สกลุ พระนครเหนอื 1 นายกฤษมนั ต์ วัฒนาณรงค์ รองศาสตราจารย์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2 นายวสิ ุทธ์ิ สุนทรกนกพงศ์ รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี รองศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 3 นางกัลยาณี จติ ต์การณุ ย์ รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 4 นายณรงค์ สมพงษ์ รองศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 5 นายณัฐพล ราไพ รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง 6 นายสาโรช โศภีรกั ข์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั จนั ทรเกษม 7 นายสุพจน์ อิงอาจ 8 นายณฏั ฐกรณ์ ปะพาน 4. องค์ประกอบเก่ียวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) ไม่มี 5. ขอ้ กาหนดเกี่ยวกบั การทาโครงงานหรืองานวจิ ัย 5.1. คาอธบิ ายโดยย่อ นักศึกษาทาการวิเคราะห์ข้อมูล และศึกษาผลการวิจัยในบริบทต่าง ๆ เพ่ือกาหนดหัวข้อการ วจิ ยั ดาเนนิ การวจิ ยั รายงานผลการวิจัย โดยการเรยี บเรยี งเพื่อเผยแพร่หรือนาเสนองานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง กับสาขาวชิ าเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ 5.2. มาตรฐานผลการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้และจัดการความรู้ เพื่อดาเนินการวิจัยให้ได้องค์ความรู้ใหม่และ นวัตกรรมอย่างเป็นระบบภายใต้การแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา และมีเจตคติต่อการวิจัยทางวิชาการ และวชิ าชีพเพื่อพฒั นาการศกึ ษา 5.3. ชว่ งเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1-2 ของปีการศกึ ษาท่ี 2 5.4. จานวนหนว่ ยกิต สาหรับแผน ก แบบ ก 2 จานวน 12 หน่วยกิต 5.5. การเตรยี มการ 1. จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และคณะกรรมการสอบตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา 2. จัดให้มีแหล่งเรียนรู้และสิ่งอานวยความสะดวกในการดาเนินการวิจัย เช่น หนังสือ งานวิจัย เครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต เปน็ ตน้ 5.6. กระบวนการประเมินผล 1. ประเมินคุณภาพโครงงานโดยอาจารย์ประจาวิชา หรือประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์โดย คณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์

34 2. ประเมนิ ความก้าวหน้าในระหว่างการทาวิจยั หรือวทิ ยานพิ นธโ์ ดยอาจารย์ทีป่ รึกษา อาจารย์ ประจาวชิ า อาจารยอ์ นื่ อย่างน้อย 3 คน จากการสงั เกต จากการรายงานด้วยวาจา และ/หรอื เอกสารอน่ื 3. ประเมินผลการทางานของนักศึกษาในภาพรวม จากการติดตามการทางาน ผลงานที่เกิดในแต่ละ ขั้นตอน และรายงานโดยอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

35 หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมนิ ผล 1. การพัฒนาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศกึ ษา คุณลกั ษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกจิ กรรมของนักศกึ ษา มคี วามชานาญในการสร้างสรรคแ์ ละวิจัย - ศกึ ษาทักษะการเลอื กใชแ้ ละพัฒนานวัตกรรม ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้บน - สร้างจติ สานึกในการแบ่งปันและการรับผดิ ชอบต่อสงั คม พืน้ ฐานการมีคณุ ธรรม - สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมในการเรียน การสอน และงานวจิ ัย - แสดงออกทางวิชาการอย่างอิสระ - สรา้ งเจตคตทิ ่ีดีต่อการพัฒนาและวิจยั ทางเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการเรียนรู้ 2. การพัฒนาผลการเรยี นร้ใู นแตล่ ะดา้ น 2.1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2.1.1 ผลการเรียนร้ดู ้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1. เป็นผนู้ าในการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการทางานและตอ่ ชุมชน 2. จดั การปัญหาโดยยึดหลกั คุณธรรม จริยธรรมทม่ี ผี ลกระทบต่อตนเองและผอู้ ืน่ 3. เคารพสทิ ธิ กฎระเบยี บ และข้อบงั คับขององคก์ รและสงั คม หรอื PLO 3 : สามารถเป็นผนู้ าในองค์กร เป็นนักวางแผนและพฒั นาองค์กรใหเ้ กดิ ความกา้ วหน้า ด้วยผลการวิจัยในองค์กรที่นาไปสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน พร่ังพร้อมด้วยเทคโนโลยีล้าสมัย มี คุณธรรม จริยธรรม สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบส่วนรวม สามารถ แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้ Sub PLO 3.1 ประยกุ ต์งานวจิ ยั เข้ากับกระบวนการทางานภายในองค์กร Sub PLO 3.2 มีวิสัยทัศน์บริหารองค์กรด้านการศึกษาสมบทบาทความเป็นผู้นามี คุณธรรม จริยธรรม สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ เคารพสิทธิ กฎระเบียบส่วนรวม สามารถ แกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าได้ Sub PLO 3.3 สรรหาเทคโนโลยีทันสมยั มาประยกุ ต์ใชก้ บั องคก์ รด้านการศึกษา 2.1.2 กลยุทธ์การสอนทีใ่ ชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในเนื้อหาวิชาและการมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน 2. จัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรม เช่น การสอนโครงงานเป็นฐาน การระดมสมอง การอภปิ ราย การเปน็ ต้นแบบของผูส้ อน และสอดแทรกเนอื้ หาวิชาที่เนน้ การรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 3. จัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรม และสอดแทรกเน้ือหาวิชาที่เก่ียวข้องกับ จรรยาบรรณสิทธิ ลขิ สิทธ์ิ กฎระเบยี บพระราชบัญญัติท่เี ก่ียวขอ้ ง และขอ้ บังคบั ขององค์กรและสงั คม

36 2.1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนร้ดู า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ มของนักศึกษา 2. ประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลงานของนักศกึ ษา 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรดู้ ้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซ้ึงในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัย ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรู้ใหมโ่ ดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อ สาขาวชิ าชีพ สงั คม สภาพแวดล้อมของระดบั ชาติ และนานาชาตใิ นปัจจบุ ันและอนาคต 3. จัดการความรทู้ างเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง หรือ PLO 1 : สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ ความรู้เฉพาะกลุ่มวิชาและสามารถประยุกต์ใช้สถิติในการศึกษาวิจัยที่สามารถบูรณาการองค์ ความรู้ เพื่อตอ่ ยอดงานวิจยั ท่ีนาไปส่กู ารพัฒนานวัตกรรมดา้ นการเรียนรู้ท่ีทนั สมยั ได้ Sub PLO 1.1 เชื่อมโยงสถานการณโ์ ลกและเทคโนโลยีใหท้ นั กบั ยุคปจั จบุ ัน Sub PLO 1.2 พฒั นาต่อยอดงานวิจยั จนไดอ้ งคค์ วามร้ใู หม่ที่ทนั สมยั ยงิ่ ข้ึน Sub PLO 1.2 บูรณาการเชงิ สถติ เิ พือ่ สงั เคราะหง์ านวิจัยจนได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง 2.2.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้พฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. ใช้กลยุทธ์การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น กรณีศึกษา ปัญหาเป็นฐาน วิจัยเป็นฐาน เป็นตน้ 2. การเรียนจากประสบการณ์ เชน่ การเรียนรูใ้ นงาน การเขา้ ร่วมงานวชิ าการ 2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. การประเมินผลระหวา่ งเรียน เช่น การประเมนิ ผลงาน การประเมนิ กระบวนการเรียน 2. การประเมินผลหลงั เรียน เชน่ การทดสอบ การประเมินผลงาน 2.3 ทักษะทางปัญญา 2.3.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปัญญา 1. จดั การต่อประเด็นและปญั หาอยา่ งเป็นระบบ 2. รเิ รมิ่ และสรา้ งสรรคค์ วามรู้และนวัตกรรมใหม่ 3. สังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัยเพ่ือพัฒนาความคิดใหม่หรือเสนอความรู้ใหม่ได้อย่าง สรา้ งสรรค์ 4. วางแผนและจดั การโครงการไดด้ ้วยตนเอง 5. วางแผนและจัดการโครงการวิจัยเพ่ือขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพที่มี อย่เู ดมิ ไดอ้ ยา่ งมนี ัยสาคญั

37 หรือ PLO 2 : สามารถนาความรู้เฉพาะกลุ่มวิชามาประยุกต์ใช้และบูรณาการกับการศึกษา วิทยานิพนธ์ การวางแผนการจัดทาวิทยานิพนธ์ วิธีการดาเนินงาน การวิเคราะห์และอภิปรายผลตลอดจน นาเสนอผลงานวจิ ัยตอ่ สาธารณะได้ Sub PLO 2.1 นาเสนอผลการวจิ ยั ในทป่ี ระชมุ ระดับชาติและนานาชาติ Sub PLO 2.2 เผยแพร่ผลงานตพี ิมพใ์ นวารสารทอี่ ยู่ในฐานขอ้ มูลทีส่ ากลยอมรับ Sub PLO 2.3 ศกึ ษาวิจัยอยา่ งรอบคอบภายใตก้ รอบจรรยาบรรณนักวจิ ยั 2.3.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใช้พฒั นาการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา 1. การสอนทเี่ น้นวธิ กี ารระบบ 2. การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น การใช้แผนผังความคิด โครงงานเป็นฐาน ปัญหาเป็น ฐาน วิจัยเป็นฐาน การอภปิ ราย การระดมสมอง 3. การสอนที่เนน้ ผลงาน เชน่ แฟม้ สะสมงาน 2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา 1. ประเมนิ ผลพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มและการแสดงออก 2. ประเมนิ ผลจากผลงาน 2.4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 2.4.1 ผลการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ 1. แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพด้วยการตัดสินใจดาเนินงาน และประเมนิ ด้วยตนเองได้ 2. วางแผนปรบั ปรุงตนเองให้มปี ระสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านระดับสูงได้ 3. รับผดิ ชอบการดาเนนิ งานของตนเองและร่วมมอื กบั ผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี 4. เปน็ ผนู้ าได้อยา่ งเหมาะสมเพอ่ื ให้การทางานของกลุ่มมปี ระสิทธภิ าพ หรือ PLO 4 : นาวิทยาการที่ได้รับจากงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้สู่ชุมชนรอบข้าง และ นาภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มาบูรณาการร่วมกับงานวิจัย และเผยแพรอ่ งค์ความรใู้ หมส่ สู่ าธารณชน Sub PLO 4.1 เกบ็ ข้อมูลวจิ ัยเชงิ ลึกกบั ปราชญช์ าวบา้ นและภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ Sub PLO 4.2 ส่งเสรมิ ให้เกดิ การสร้างงาน สร้างอาชีพ เกดิ รายได้แกช่ ุมชน Sub PLO 4.3 ประยกุ ต์ใชร้ ูปแบบการจดั การความรูแ้ ละถา่ ยโยงความรู้ส่ชู มุ ชน 2.4.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1. การสอนที่เน้นทกั ษะกระบวนการกลุ่ม เชน่ การเรยี นแบบรว่ มมือ การเรียนแบบร่วมกนั การ เรยี นรู้เปน็ ทีม 2. การสอนโดยใชเ้ ครือข่ายสังคม เชน่ เครอื ข่ายสงั คม (Social Network) ชุมชนนกั ปฏบิ ัติการ (COP)

38 2.4.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1. การประเมนิ ตนเอง 2. การประเมนิ ผลงาน 3. การประเมนิ ผลพฤตกิ รรมการมีสว่ นรว่ มและการแสดงออก 2.5 ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. คัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์ และสถิติ ในการค้นคว้า สรุป และเสนอแนะได้ 2. สื่อสารในการพูด ฟัง อ่าน และเขียนอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลใน วงการวิชาการและวชิ าชีพ และชุมชน 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการตดิ ตอ่ สือ่ สาร การทางานและการวิจยั เชน่ เครอื ข่ายสงั คม (Social Network) การใชฐ้ านข้อมูลในการวจิ ัย หรอื PLO 1 : สามารถประยุกต์ใชอ้ งค์ความรูด้ ้านการใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการเรยี นรู้ ความรู้เฉพาะกลุ่มวชิ าและสามารถประยุกตใ์ ช้สถติ ิในการศึกษาวจิ ยั ทส่ี ามารถบรู ณาการองค์ ความรู้ เพื่อตอ่ ยอดงานวจิ ัยที่นาไปสู่การพัฒนานวตั กรรมด้านการเรยี นรทู้ ที่ นั สมยั ได้ Sub PLO 1.1 เชือ่ มโยงสถานการณโ์ ลกและเทคโนโลยใี หท้ ันกบั ยคุ ปจั จบุ นั Sub PLO 1.2 พฒั นาต่อยอดงานวจิ ัยจนไดอ้ งค์ความรู้ใหม่ทที่ นั สมัยย่งิ ขึ้น Sub PLO 1.2 บรู ณาการเชิงสถติ เิ พื่อสงั เคราะห์งานวิจัยจนไดผ้ ลลพั ธท์ ่ถี ูกต้อง 2.5.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรยี นรดู้ ้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. การสอนเน้นทักษะกระบวนการวิเคราะห์ 2. การสอนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน การเรียนบนเว็บ การใช้ เครือข่ายชมุ ชน 3. การสอนเนน้ กระบวนการทักษะทางภาษาในการอ่าน เขียน พูด และฟงั 2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ประเมนิ ผลจากผลงาน 2. ประเมนิ ผลทักษะทางภาษา 3. ประเมินผลพฤติกรรมและการแสดงออก 4. ประเมินผลด้วยการทดสอบ

39 2.6 ทกั ษะพิสัย 2.6.1 ผลการเรียนรดู้ ้านทักษะพสิ ัย 1. มที ักษะในการบรหิ ารจัดการและประเมินเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรยี นรู้ 2. มคี วามสามารถในการออกแบบ สร้างสรรค์เก่ยี วกับด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ 3. มที กั ษะในการวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ หรือ PLO 2 : สามารถนาความรู้เฉพาะกลุ่มวิชามาประยุกต์ใช้และบูรณาการกับการศึกษา วิทยานิพนธ์ การวางแผนการจัดทาวิทยานิพนธ์ วิธีการดาเนินงาน การวิเคราะห์และอภิปรายผลตลอดจนนาเสนอ ผลงานวิจัยตอ่ สาธารณะได้ Sub PLO 2.1 นาเสนอผลการวจิ ยั ในทป่ี ระชมุ ระดับชาติและนานาชาติ Sub PLO 2.2 เผยแพรผ่ ลงานตีพิมพ์ในวารสารที่อยใู่ นฐานข้อมูลทส่ี ากลยอมรบั Sub PLO 2.3 ศกึ ษาวจิ ยั อย่างรอบคอบภายใต้กรอบจรรยาบรรณนักวจิ ยั 2.6.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรยี นรดู้ ้านทักษะพิสัย 1. การสอนเน้นทักษะกระบวนการวเิ คราะห์ 2. การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น การใช้แผนผังความคิด โครงงานเป็นฐาน ปัญหาเป็น ฐาน วจิ ยั เป็นฐาน การอภปิ ราย การระดมสมอง 3. ส่ือสารในการพูด ฟัง อ่าน และเขียนอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลใน วงการวชิ าการและวชิ าชีพ และชมุ ชน 4. ใช้กลยุทธ์การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เช่น กรณีศึกษา ปัญหาเป็นฐาน วิจัยเป็นฐานเป็น ตน้ 2.6.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะพสิ ยั 1. ประเมนิ ผลจากผลงาน 2. ประเมินผลด้วยการทดสอบ 3. ประเมนิ ผลการเรียนรจู้ ากผลงานของนักศึกษา

40 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง (ตามที่ระบุในหมวดท่ี 4 ข้อ 2) โดยระบุว่าเป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง ซ่ึงบางรายวิชาอาจไม่นาสู่ผลการเรียนรู้บางเร่ืองก็ได้ จะแสดงเป็นเอกสารแนบท้ายก็ได้ ผลการเรยี นรู้ในตารางมีความหมายดงั น้ี 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. เป็นผูน้ าในการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการทางานและตอ่ ชมุ ชน 2. จัดการปญั หาโดยยดึ หลักคณุ ธรรม จริยธรรมท่มี ีผลกระทบต่อตนเองและผอู้ น่ื 3. เคารพสิทธิ กฎระเบยี บ และขอ้ บังคบั ขององคก์ รและสงั คม 2. ความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซ้ึงในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เก่ียวข้องกับ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรยี นรู้ 2. มีความเข้าใจในการพัฒนาความรู้ใหม่ และประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่โดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อสาขาวิชาชีพ สงั คม สภาพแวดล้อมของระดับชาติ และนานาชาตใิ น ปจั จุบนั และอนาคต 3. จัดการความรู้ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3. ทักษะทางปญั ญา 1. จัดการตอ่ ประเด็นและปัญหาอยา่ งเป็นระบบ 2. ริเริ่มและสรา้ งสรรค์ความรแู้ ละนวัตกรรมใหม่ 3. สังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัยเพอ่ื พัฒนาความคิดใหมห่ รือเสนอความร้ใู หมไ่ ด้อย่าง สรา้ งสรรค์ 4. วางแผนและจดั การโครงการได้ดว้ ยตนเอง 5. วางแผนและจดั การโครงการวิจยั เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพ ท่ีมีอยเู่ ดมิ ได้อย่างมี นัยสาคัญ 4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ 1. แก้ไขปัญหาท่มี ีความซับซ้อน หรอื ยุง่ ยากระดับสูงทางวิชาชีพดว้ ยการตดั สินใจดาเนินงาน และประเมิน ด้วยตนเองได้ 2. วางแผนปรับปรงุ ตนเองใหม้ ีประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ านระดบั สูงได้ 3. รบั ผดิ ชอบการดาเนนิ งานของตนเองและรว่ มมือกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี 4. เป็นผ้นู าได้อย่างเหมาะสมเพอื่ ใหก้ ารทางานของกล่มุ มีประสทิ ธภิ าพ 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. คดั กรองขอ้ มูลทางคณติ ศาสตร์ และสถติ ิ ในการค้นควา้ สรุป และเสนอแนะได้ 2. ส่ือสารในการพูด ฟัง อ่าน และเขยี นอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกับกลุม่ บคุ คลในวงการวชิ าการ และวิชาชพี และชุมชน