Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

Description: หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

Search

Read the Text Version

1 หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

2 หลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

3 คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา ในปีการศึกษา 2564 เพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพการบริหารการศึกษา รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงานท้ังภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีที่เปล่ียนไปอย่าง รวดเร็ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ี ผู้บริหารสถานศึกษา พร้อมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรฉบับน้ี จะมีประสิทธิภาพในการผลิตมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มีคุณภาพคุณลักษณะที่พึง ประสงคต์ ามความต้องการของตลาดแรงงานและสงั คม อนั จะนาไปสูก่ ารพัฒนาประเทศชาติท่ีย่งั ยนื ตอ่ ไป คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

4 สารบญั คานา หน้า สารบัญ ก ข หมวดท่ี 1 5 1 ขอ้ มูลท่วั ไป 9 2 ข้อมลู เฉพาะของหลักสตู ร 37 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลักสตู ร 52 4 ผลการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมนิ ผล 53 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมินผลนักศึกษา 54 6 การพัฒนาคณาจารย์ 59 7 การประกนั คุณภาพหลกั สูตร 60 8 การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 62 ตารางเปรียบเทยี บหลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2559 และหลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2564 65 ภาคผนวก 101 ก คาสง่ั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทา 127 พัฒนาหลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) ข ประวตั ิ ผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์การสอนของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบ หลกั สตู ร อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์ประจา และอาจารยพ์ ิเศษ ค ข้อบังคบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559 ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ว่าดว้ ยการศึกษาระดับ บณั ฑติ ศึกษา (ฉบับท่ี2) พ.ศ.2560 ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา (ฉบับที่3) พ.ศ.2561 ง ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เรื่อง เกณฑ์การวัดและ ประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559

1 หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม ภาควชิ าการศกึ ษา สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลกั สูตร ภาษาไทย: หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา ภาษาอังกฤษ: Master of Education Program in Educational Administration 2. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย): ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ช่อื ย่อ (ไทย): ศษ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ชื่อเต็ม (องั กฤษ): Master of Education (Educational Administration) ชื่อยอ่ (องั กฤษ): M.Ed. (Educational Administration) 3. วิชาเอก - 4. จานวนหน่วยกิตทเ่ี รียนตลอดหลักสตู ร 42 หน่วยกิต 5. รปู แบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก 2 (มใี บประกอบวชิ าชพี จากครุ ุสภา) 5.2 ภาษาท่ใี ช้ ภาษาไทย และมีตาราเอกสารบางสว่ นเปน็ ภาษาองั กฤษ 5.3 การรบั เข้าศึกษา รบั นกั ศึกษาไทย และนักศึกษาตา่ งประเทศทสี่ ามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.4 ความร่วมมือกบั สถาบนั อนื่ - 5.5 การใหป้ ริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปรญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดียว

2 6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลักสตู ร  หลักสตู รใหม่ พ.ศ. ………...  หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2564  สภาวิชาการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวทิ ยาลัยฯ ในการประชมุ คร้ังท่ี 11/2563 เม่อื วันที่ 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563  สภามหาวิทยาลัยฯ อนุมตั หิ ลักสตู ร ในการประชุม ครง้ั ที่ 12/2563 วนั ท่ี 23 ธันวาคม 2563 เปดิ สอน ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสตู รคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2552 ในปีการศกึ ษา 2563 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเรจ็ การศกึ ษา 8.1 ผู้บริหารสถานศกึ ษาของหน่วยงานภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถน่ิ และภาคเอกชน 8.2 นกั วชิ าการศึกษา ผู้เชย่ี วชาญ ทปี่ รกึ ษาดา้ นการศึกษาในหนว่ ยงาน ทงั้ ภาครฐั และเอกชน 8.3 อาจารยใ์ นสถาบนั การศึกษาต่างๆ 8.4 ประกอบอาชีพอิสระทางด้านการใหค้ าปรกึ ษาด้านการบริหารการศกึ ษา 9. ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร ลาดับ ช่ือ- ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ - สาขาวิชา สาเร็จจาก ปีที่ นามสกลุ วิชาการ จบ 1. นางพมิ ลพรรณ รอง ปร.ด. (บรหิ ารการศึกษาและ มหาวทิ ยาลยั เซนตจ์ อห์น 2555 เพชรสมบตั ิ * ศาสตราจารย์ ภาวะผ้นู า) 2551 ศษ.ม. (การวัดและประเมนิ ผล มหาวิทยาลยั สุโขทยั 2545 2554 การศึกษา) ธรรมาธริ าช 2547 2541 ศษ.บ. (คณิตศาสตร)์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง 2559 2. นางสาวต้องลกั ษณ์ ผูช้ ่วย ปร.ด. (การบริหารการศกึ ษา) มหาวิทยาลยั สยาม 2546 บุญธรรม ศาสตราจารย์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2544 ค.บ. (วทิ ยาศาสตร์- จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย คณติ ศาสตร์) 3. นายชัยอนันต์ อาจารย์ ศษ.ด. (การบริหารการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มัน่ คง ค.ม. (การบริหารการศกึ ษา) สถาบนั ราชภฏั พิบูลสงคราม ค.บ. (การประถมศึกษา) สถาบนั ราชภฏั พิบลู สงคราม หมายเหตุ * ประธานหลกั สูตร 10. สถานทจี่ ัดการเรยี นการสอน คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

3 11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพัฒนาท่ีจาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางเศรษฐกิจ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะ หดตัว และเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิต การทางานในรูปแบบใหม่ รวมถึงการจัดการศึกษา และการบริหารจัดการการศึกษา การจัดการศึกษาในรูปแบบเดิมไม่เออ้ื ต่อสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ส่งผลต่อการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ที่มีศักยภาพ และความสามารถในการจัดการและรับมือกับการเปลี่ยนแปลง และสร้างมูลค่าเพ่ิมด้านทุนมนุษย์ ในการพัฒนาการศึกษาระดับพื้นฐาน เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันเพ่ือการพัฒนาประเทศอย่าง ยัง่ ยนื 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม สถานการณ์การเปล่ียนแปลงของโลกในยุคนิว นอมอล (New normal) เนื่องจากวิกฤติการไวรัส โคโรน่า (Covid-19) ที่ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงและปรับตัวทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศครั้งสาคัญ ทาให้สังคมไทยต้องเผชิญกับวิกฤต และความถดถอยเศษฐกิจอย่างรุนแรง มีผลกระทบด้านคุณธรรมและ จริยธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย รวมถึงการเผชิญกับภาวะท่ีสุ่มเส่ียงสาหรับเด็ก และเยาวชน ในขณะเดียวกันคนไทยยังต้องการได้รับการพัฒนาศักยภาพทุกช่วงวัย ต้องมีความรับผิดชอบต่อ สังคมและธรรมาภิบาล มีความต้องการความเท่าเทียมทางสังคม ได้รับการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มขึ้น ต้องการ สวัสดิการทางสังคมหลายรูปแบบ ส่งผลให้คุณภาพของการศึกษาต้องสามารถตอบสนองความต้องการดังกล่าว ท้ังนี้การพัฒนาสังคมและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศทุกช่วงวัยจาเป็นต้องใช้เรื่องของการพัฒนาการ จัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารสถานศึกษา และการเข้าถึงการศึกษาระดับสูงขึ้นเพ่ือการพัฒนา สงั คมและตนเอง 12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกจิ ของมหาวิทยาลัย 12.1 การพัฒนาหลักสูตร เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตนักปฏิบัติทางด้านการบริหารการศึกษาท่ีมีศักยภาพ และสอดคล้องกับความ ต้องการทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในปัจจุบัน บนพ้ืนฐานของศาสตร์การบริหาร โดยการพัฒนา หลักสูตรได้ใช้หลักการ ความรู้ วิธีการ และงานวิจัยทางด้านการบริหารการศึกษาทุกระดับ ทั้งการศึกษาข้ัน พื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานวิชาชีพทาง การศึกษา มาเป็นฐานในการออกแบบหลักสูตร รวมท้ังการกาหนดเน้ือหาสาระและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการเรียนการสอนของหลักสูตร โดยหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ต้อง เป็นหลักสูตรที่พัฒนาความเช่ียวชาญ บูรณาการ และสร้างความสามารถในการลงมือปฏิบัติ โดยพัฒนา หลักสตู รเฉพาะทางวิชาชพี ผบู้ ริหารสถานศึกษารองรับความต้องการบุคลากรท่มี ีศักยภาพเฉพาะทางการศึกษา 12.2 ความเกีย่ วข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ได้พัฒนาข้ึนตามวิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ม่งุ ส่คู วามเป็นเลิศทางด้านวิชาการ รวมทัง้ ผลิตบัณฑติ นักปฏิบัติให้มี

4 คุณภาพสูง เพ่ือให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสถานการณ์หรือ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ดังน้ัน ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยในการผลิตบุคลากร ทางด้านการบริหารการศึกษา ในพันธกิจเก่ียวกับการจัดการศึกษาวิชาชีพระดับอุดมศึกษาบนพ้ืนฐานของ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมอย่างมีคณุ ภาพ บัณฑิตสามารถคิดเป็น ทาเป็น สร้างเป็น แกป้ ัญหาเป็น สอื่ สารเป็น ตอบสนองตอ่ การพัฒนาการศึกษาของประเทศ 13. ความสัมพนั ธก์ ับหลกั สูตรท่เี ปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอืน่ ของมหาวิทยาลัย 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลกั สตู รนเี้ ปิดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สูตรอืน่ - 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลกั สตู รท่ีเปิดสอนใหภ้ าควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรยี น - 13.3 การบริหารจดั การ -

5 หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 1.1 ปรชั ญา ผู้บริหารการศึกษาท่ีพึงประสงค์ในอนาคตจะต้องเป็นนักบริหารมืออาชีพเชิงรุก มีความรู้ ทักษะ วิชาชพี ทกั ษะสังคม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ ความสาคญั ของหลกั สตู ร กระแสการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาของโลกในศตวรรษที่ 21 และวิกฤติการไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ท่ีเกิดข้ึน ส่งผลให้การบริหารจัดการรวมถึงการบริหารการศึกษาต้องมีบทบาท และเป็นกลไก หลักสาคัญในทุกกระบวนการของการจัดการศึกษา จึงจาเป็นต้องผลิตผู้บริหารสถานศึกษาที่มีคุณลักษณะ การเป็นผู้บริหารมืออาชีพเชิงรุก มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณวุฒิวิชาชีพทางการบริหารการ ศึกษา สอดคล้องกับข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึง ต้องได้รับการบ่มเพาะคุณลักษณะดังกล่าว ผ่านกระบวนการของหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา ตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพทค่ี ุรุสภากาหนด 1.2 วัตถุประสงค์ เพ่อื ผลิตบณั ฑิตที่มีคณุ ลกั ษณะ ดงั นี้ 1.2.1 เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ มีจริยธรรมและคุณธรรมในวิชาชีพ เป็น ผูเ้ ช่ยี วชาญด้านบริหารการศึกษาด้วยจิตสานึกรับผิดชอบตอ่ สังคม ยกระดับมาตรฐานของสังคมไทย 1.2.2 เพอ่ื ผลิตมหาบัณฑติ ทมี่ ีความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ ผลิตงานวจิ ยั และผลงานวิชาการ การพัฒนาองค์ความรู้ให้เจริญก้าวหน้าทางด้านการบริหารการศึกษาอย่างต่อเน่ือง มีทักษะการวิเคราะห์ ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการวิจัยทางบริหารการศึกษาได้ และสามารถนาผลงานวิจัยไป ตีพมิ พเ์ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชนได้ 1.2.3 เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทม่ี ีวิสัยทัศน์กวา้ งไกล สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาตาม หลัก วิชาการอยา่ งถูกตอ้ ง และเปน็ ผนู้ าในทางวิชาการหรือวิชาชพี ดา้ นการบริหารการศกึ ษา 1.2.4 เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตที่มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา มี ทักษะในการบริหารการศึกษา เป็นผู้นาทางวิชาการ มีความสามารถในการให้คาปรึกษาด้านการศึกษาใน สถานศึกษาจากหลกั การวจิ ยั และหลกั วชิ าการ 1.2.5 เพื่อผลิตมหาบัณฑิตท่ีสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพ่ือการสนับสนุนการ บรหิ ารการศกึ ษา

6 1.3 ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ท่คี าดหวงั ระดบั หลักสูตร (Program Learning Outcomes, PLO) PLO 1 : สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการบริหารการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับหลักและทฤษฎีการบริหาร การศึกษา และสามารถนามาบูรณาการองค์ความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นผู้นา มีจรรยาบรรณต่อ วิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษา สามารถให้คาปรึกษาและมีแนวทางการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า Sub PLO 1.1 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการบริหารการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็น ผ้นู า มีจรรยาบรรณต่อวิชาชพี ทางการบริหารสถานศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตัวเองและสงั คม SubPLO 1.2 สามารถให้คาปรึกษาด้านการศึกษาในสถานศึกษาจากหลักการวิจัยและหลักวิชาการ และมแี นวทางการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ และสามารถทางานเปน็ ทีมได้ PLO 2 : ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ผลิตงานวิจัย และผลงานวิชาการ มีทักษะการวิเคราะห์ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการวิจัยทางบริหารการศึกษาได้ และสามารถนาผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เผยแพร่ ตอ่ สาธารณชนได้ Sub PLO 2.1 สามารถวิเคราะห์ปัญหา นาความรู้มาผลิตงานวิจัยและผลงานวิชาการทางบริหาร การศกึ ษา Sub PLO 2.2 สามารถจัดการเรียนรู้ทางบริหารการศึกษา มีความเป็นผู้นาในทางวิชาการหรือ วิชาชีพด้านการบริหารการศึกษา SubPLO 2.3 สามารถนาความรู้ไปใช้ในการวิจัยทางบริหารการศึกษาได้ และสามารถนาผลงานวิจัย ไปตีพมิ พเ์ ผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้ PLO 3 : สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการบริหารการศึกษา ที่มีภาวะผู้นาทาง การศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในการบริหาร สถานศกึ ษา Sub PLO 3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการศึกษาการบริหาร การศกึ ษาของสถานศึกษา Sub PLO 3.2 มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาปรบั ใช้ในการบริหารสถานศึกษา PLO 4 : สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธ์ทางการบริหารการศึกษา มีความเข้าใจกฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปล่ียนแปลง และสามารถยืนหยัดและโต้แย้งตามหลักวิชาการ สร้างแรงจูงใจ และ โนม้ นา้ วผฟู้ ังได้ Sub PLO 4.1 สามารถกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธ์ทางการบริหารการศึกษาให้เป็นไปตาม นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของชาติได้ Sub PLO 4.2 สามารถยืนหยัดและโต้แย้งตามหลักวชิ าการ สรา้ งแรงจูใจ และโนม้ น้าวผ้ฟู ังได้ SubPLO 4.3 มีความเข้าใจกฎ ระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ และของกระทรวง ศึกษาธิการที่ เปล่ยี นแปลง

7 1.4 ความคาดหวังของผลลพั ธก์ ารเรียนร้เู มอ่ื สน้ิ ปีการศกึ ษา (Year Learning Outcomes, YLOs) ช้นั ปีที่ ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรยี นรเู้ มอ่ื สิ้นปีการศึกษา 1 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรดู้ ้านการบรหิ ารการศกึ ษา ความรเู้ กยี่ วกบั หลกั และ ทฤษฎกี ารบรหิ ารการศึกษา และสามารถนามาบูรณาการองคค์ วามรู้ เพื่อต่อยอด ผลงานวจิ ยั ทน่ี าไปส่กู ารพฒั นาดา้ นการบริหารการศกึ ษาต่อไป 2 สามารถนาความรู้ เฉพาะกลุ่มวิชาการบริหารการศึกษามาประยุกต์ใช้และ บูรณาการกับการศึกษาวิทยานิพนธ์ การวางแผนจัดทาวิทยานิพนธ์ วิธีการ ดาเนินงานวิจัย การวิเคราะห์และอภิปรายผล ตลอดจนนาเสนอผลงานวิจัยต่อ สาธารณะได้ 1.5 ความเชื่อมโยงระหว่างผลลพั ธ์การเรียนรู้ทคี่ าดหวังของหลักสตู ร (PLO) และผลการเรยี นรู้ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษา (TQF) ผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษา (TQF) 4. ด้านทกั ษะ 5. ด้านทกั ษะ 6. ด้าน ผลลัพธ์การเรียนร้ทู ่ี ความสมั พันธ์ การวิเคราะห์ ทักษะ คาดหวังของหลักสตู ร (PLOs) และ Sub PLOs 1. ด้านคณุ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะ ระหวา่ งบุคคล เชิงตวั เลข การ ในการ จรยิ ธรรม ทางปัญญา และความ สอื่ สาร และ บรหิ าร รับผิดชอบ การใช้ การศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.1 1.2 1.31.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 PLO 1 Sub PLO 1.1     Sub PLO 1.2   PLO 2 Sub PLO 2.1   Sub PLO 2.2  Sub PLO 2.3  PLO3 Sub PLO 3.1  Sub PLO 3.2  PLO 4 Sub PLO 4.1  Sub PLO 4.2  Sub PLO 4.3  

8 แผนพฒั นาปรับปรุง หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีแผนการพัฒนา ปรับปรุง หลักสูตร ดงั รายละเอยี ด แผนการพัฒนา กลยทุ ธ์ และตวั บ่งชี้การพฒั นาปรับปรุง ดงั น้ี แผนการพฒั นา/ กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งชี้ เปลีย่ นแปลง - แผนการปรับปรุง - ตดิ ตามผล และรวบรวมขอ้ มลู - รายงานผลการประเมนิ หลกั สตู ร หลกั สูตรทกุ 5 ปี สาหรับใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนา หลกั สูตรอยา่ งต่อเนื่องสม่าเสมอ รวมถึงการประเมนิ หลักสูตร - แผนการจดั ทา - ตดิ ตามและรวบรวมข้อมลู - รายงานการประเมินตนเอง รายงานการประเมิน สาหรับการประกันคุณภาพ ประจาปกี ารศกึ ษา ตนเอง - แผนพฒั นาบุคลากร - สนบั สนุน ส่งเสรมิ และกากับ - สรุปผลการประเมินความ ดา้ นการจัดการเรียน ตดิ ตามการพัฒนาตนเองรายบคุ คล พึงพอใจของนักศึกษา ในการ การสอน การวิจยั ดา้ นการจดั การเรียนการสอน การ จดั การเรียนการสอน และการบริการ วจิ ัย และการบริการวิชาการ - งานวจิ ัยหรอื ผลงานทางวชิ าการท่ี วิชาการ ไดร้ บั การตีพมิ พ์เผยแพร่ - ผลการประเมินความพึงพอใจของ ผูใ้ ชบ้ รกิ ารจากโครงการบริการ วิชาการของหลกั สตู ร

9 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลกั สูตร 1. ระบบการจัดการศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ภาคผนวก ค) 1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดูร้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร ระยะเวลาการจัดการเรียนการสอน ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยเพิ่มช่ัวโมง การศึกษาในแต่ละรายวิชาใหเ้ ทา่ กบั ภาคปกติ 1.3 การเทยี บเคียงหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค - 2. การดาเนินการหลกั สูตร 2.1 วัน – เวลา ดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 เดอื นกรกฎาคม – ตุลาคม ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธนั วาคม – มีนาคม ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือนเมษายน – มิถุนายน 2.2 คณุ สมบตั ิของผู้เขา้ ศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาทุกสาขา หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย หรือ สถาบนั ทีไ่ ด้รบั การรบั รองจากทางราชการ 2.3 ปัญหาของนกั ศกึ ษาแรกเขา้ 1. การปรบั ตัวในดา้ นการเรียนและการบรหิ ารเวลา 2. ความร้พู ้นื ฐานทางภาษาองั กฤษ 3. ความรพู้ ้ืนฐานและทกั ษะทางการวจิ ยั 2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนินการเพือ่ แกไ้ ขปัญหา/ขอ้ จากดั ของนกั ศกึ ษา ในข้อ 2.3 1. จัดการปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหม่ เพื่อแนะนาการวางแผนการเรียน 2. แต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาให้กับนักศึกษาทุกคน เพ่ือทาหน้าท่ีให้คาแนะนาและให้คาปรึกษา ทั้งด้านวิชาการและการใช้ชีวิตแก่นักศึกษาอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง รวมถึงการติดตามผลการเรียน ตลอดระยะเวลาของการศึกษา 3. จัดโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เช่น การจัดอบรมความรู้ภาษาอังกฤษระดับบัณฑิต ศกึ ษา การเรยี นเพมิ่ เติมรายวิชาภาษาองั กฤษกบั คณะ/หน่วยงานที่มหาวิทยาลัยจัดให้ 4. จดั รายวิชาวิจัยพ้นื ฐานและวจิ ัยเฉพาะทางการบริหารการศึกษาใหแ้ ก่นักศึกษา

10 2.5 แผนการรบั นกั ศึกษาและผ้สู าเรจ็ การศึกษาในระยะ 5 ปี จานวนนกั ศึกษา จานวนนกั ศกึ ษาแตล่ ะปกี ารศกึ ษา 2564 2565 2566 2567 2568 ช้นั ปีท่ี 1 40 40 40 40 40 ช้นั ปที ่ี 2 40 40 40 40 รวม 40 80 80 80 80 คาดวา่ จะสาเเร็จการศกึ ษา - 40 40 40 40 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย: บาท) รายละเอยี ดรายรับ ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 ค่าบารุงการศึกษา+ค่าลงทะเบยี น 3,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 แบบเหมาจ่าย เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล - - - -- รวมรายรับ 3,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หน่วย: บาท) หมวดเงิน ปงี บประมาณ 2568 2564 2565 2566 2567 ก. งบดาเนินการ 1. ค่าใช้จ่ายบคุ ลากร 1,620,000 1,684,800 1,752,192 1,822,280 1,895,171 2. ค่าใชจ้ า่ ยดาเนินงาน 187,500 375,000 375,000 375,000 375,000 (ไม่รวม 3) 3. ทุนการศึกษา --- -- 4. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัย 668,160 1,378,000 1,378,000 1,378,000 1,378,000 (รวม ก) 2,475,660 3,437,000 3,506,892 3,575,280 3,648,171 ข. งบลงทนุ ค่าครุภัณฑ์ 70,000 70,000 70,000 70,000 70,000 (รวม ข) 70,000 70,000 70,000 70,000 70,000 รวม (ก) + (ข) 2,545,660 3,507,000 3,576,892 3,645,280 3,718,171 จานวนนักศึกษา 40 80 80 80 80 คา่ ใช้จ่ายต่อหวั นกั ศกึ ษา 63,641.50 43,837.50 44,711.15 45,566 56.477.14 *หมายเหตุ จานวนนกั ศึกษารวมหลกั สตู รเก่าและหลักสูตรปรบั ปรงุ ค่าใช้จา่ ยตอ่ หวั นกั ศึกษา 56,477.14 บาท ต่อปี

11 2.7 ระบบการศกึ ษา ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน และเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธญั บุรี วา่ การดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม 2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกติ รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถาบันอุดมศกึ ษา การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาและการเทียบโอนจากต่างสถาบันเป็นไปตามระเบียบของ กระทรวงศึกษาธิการ และข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เติม 3. หลักสูตรและอาจารย์ผสู้ อน 3.1 หลกั สตู ร 3.1.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ 42 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร ใชห้ ลกั สูตรตามแผน ก แบบ ก2 แบ่งเป็นหมวดตา่ งๆ ดังนี้ 1. หมวดวิชาบังคบั 24 หน่วยกิต 1.1 วิชาเฉพาะไม่นับหน่วยกติ * 3 หน่วยกิต 1.2 วิชาเฉพาะนบั หนว่ ยกติ 24 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาเลอื ก 6 หน่วยกิต 3. วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

12 3.1.3 รายวิชา ความหมายของตัวเลขรหัสรายวชิ า การกาหนดรหัสรายวชิ าในหลกั สตู ร ประกอบด้วยตัวเลขท้ังหมด 8 ตวั ซึ่งจาแนกตามแผนภมู ิ ตอ่ ไปน้ี คณะ ภาควชิ า/สาขา สาขาวิชา แขนงวิชา/กลุ่มวชิ า ปีท่คี วรศกึ ษา ลาดับวิชาในแขนงวชิ า/กลมุ่ วิชา XX – X X X – X XX หมายถงึ คณะ 12 – 3 4 5 – 6 7 8 หมายถงึ ภาควิชา/สาขา หมายถงึ สาขาวชิ า 1. ตาแหนง่ ท่ี 1-2 หมายถงึ แขนงวชิ า/กลุ่มวิชา 2. ตาแหนง่ ท่ี 3 หมายถึง ปีท่คี วรศึกษา 3. ตาแหน่งท่ี 4 หมายถงึ ลาดบั วชิ าในแขนงวิชา/กลุ่มวิชา 4. ตาแหนง่ ท่ี 5 5. ตาแหนง่ ท่ี 6 6. ตาแหน่งที่ 7-8 ความหมายของรหสั การจัดช่ัวโมงเรียน หนว่ ยกติ ชั่วโมงเรียนทฤษฎี ชว่ั โมงเรยี นปฏิบัติ ช่วั โมงการศึกษานอกเวลา X(X–X–X)

13 3.1.4 รายวิชา วิชาปรับพืน้ ฐาน (ไมน่ ับหน่วยกติ ) 02-121-501 พน้ื ฐานทางการศึกษา* 3(3-0-6) Fundamentals of Education * หมายเหตุ ผู้สาเรจ็ ศึกษาการระดบั ปริญญาตรใี นสาขาท่ไี ม่เก่ียวข้องทางการศึกษา จะต้องศึกษาเพ่มิ เติมเพื่อปรบั พน้ื ฐาน โดยประเมินผลเป็น s/u และไม่นบั หนว่ ยกติ 1. หมวดวชิ าบังคับ 3(90) 1.1 วชิ าเฉพาะไม่นบั หน่วยกิต* 3 หน่วยกติ 02-121-608 ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพทางการบรหิ ารการศึกษา 3(3-0-6) Professional Experience in Educational 3(3-0-6) Administration 1.2 วิชาเฉพาะนับหนว่ ยกติ 24 หน่วยกติ 02-121-601 ระเบียบวธิ ีวจิ ัย Research Methodology 02-121-710 กระบวนการทางการศึกษา Educational Process 02-121-602 หลักการและทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา 3(3-0-6) Principles and Theories of Educational 02-121-603 Administration 3(3-0-6) 02-121-604 นโยบายและการวางแผนเชงิ กลยุทธท์ างการศกึ ษา 3(3-0-6) Policy and Strategic Planning in Educational 02-121-606 การพัฒนาผบู้ รหิ ารการศึกษามืออาชพี 3(3-0-6) 02-121-607 Professional Educational Administrator 3(3-0-6) 02-121-609 Development 3(3-0-6) สมั มนาทางการบรหิ ารการศกึ ษา Seminar in Educational Administration การวิจยั ทางการบริหารการศึกษา Educational Administration Research หลักการและกระบวนการบริหารสถานศึกษา Principles and Process School Administration

14 2. หมวดวิชาเลอื ก 6 หนว่ ยกิต 02-121-605 การพัฒนาองค์การและทรัพยากรมนุษย์ทาง 3(3-0-6) การศกึ ษา Organizational Development and Educational Human Resources Development 02-121-711 การนเิ ทศการศึกษา 3(3-0-6) Educational Supervision 02-121-712 การบริการวชิ าการเชงิ พน้ื ท่ขี องผู้บรหิ ารสถานศึกษา 3(3-0-6) Area-Based Academic Service of School Administrator 02-121-713 ความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 3(3-0-6) Corporate Social Responsibility of School Administrator 02-131-604 การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) Learning Measurement and Evaluation 02-141-608 นวตั กรรมการพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) Innovations for Curriculum Development 02-142-601 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การชน้ั เรียน 3(2-2-5) Innovations for Learning Management and Classroom Management 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 3(2-2-5) Educational Innovation and Information Technology 3. วทิ ยานิพนธ์ 12 หนว่ ยกิต 12(0-0-36) 02-121-709 วทิ ยานพิ นธ์ Thesis

15 3.1.3 แสดงแผนการศกึ ษาเสนอแนะ สาหรับแผน ก แบบ ก 2 ปีที่ 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-121-601 ระเบยี บวธิ วี ิจยั 3 30 6 02-121-602 หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3 30 6 02-121-603 นโยบายและการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ทาง 3 30 6 การศกึ ษา 02-121-604 การพฒั นาผบู้ รหิ ารการศกึ ษามอื อาชพี 3 30 6 12 12 0 24 รวม ปีท่ี 1 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-121-607 การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา 3 30 6 02-121-608 ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ทางการบริหาร 3 0 90 0 การศึกษา* 02-121-609 หลักการและกระบวนการบรหิ าร 3 30 6 สถานศึกษา 02-121-710 กระบวนการทางการศึกษา 3 30 6 02- XXX -XXX วชิ าเลอื ก 3 XX X 12 X X X รวม ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-121-606 สมั มนาทางการบริหารการศกึ ษา 3 30 6 02- XXX -XXX วิชาเลอื ก 02-121-709 วิทยานิพนธ์ 3 XX X รวม 3 00 9 9 XX X ปที ี่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-121-709 วิทยานิพนธ์ 9 0 0 27 รวม 9 0 0 27 หมายเหตุ * รายวิชาที่จะต้องลงทะเบียนเรียน แบบไม่นับหน่วยกิต การประเมินผล S/U และ จะตอ้ งมีผลการเรยี นในระดบั คะแนน S (สอบผา่ น)

16 3.1.5 คาอธบิ ายรายวชิ า 02-121-501 พื้นฐานทางการศกึ ษา 3(3-0-6) Fundamentals of Education แนวคิด ทฤษฎี และศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการบริหารศึกษาโครงสร้าง และระบบการจัดการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์และแผนการศึกษา แห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติการประกันคุณภาพการศึกษา กฎหมายท่ี เกยี่ วข้องกบั การศึกษา ปญั หาและแนวโน้มการจัดการศกึ ษาไทย หมายเหตุ การประเมินผลการสอบ มีระดบั คะแนน เป็น S และ U Theories and concepts related to education and educational administration, educational structures and management systems, visions and national education plans, national education standards, education quality assurance, laws related to education, and issues and trends in educational management in Thailand Note: Evaluation result is indicated in terms of Satisfactory (S) or Unsatisfactory (U) 02-121-601 ระเบยี บวิธวี จิ ัย 3(3-0-6) Research Methodology ความหมาย ระเบียบวิธีและข้ันตอนการทาวิจัยประเภทต่างๆ ปัญหาการวิจัย และวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย การตรวจเอกสารงานวิจัย การต้ังสมมตฐิ านและการ ทดสอบสมมุติฐาน กลยุทธก์ ารออกแบบวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เคร่อื งมือ ที่ใช้ในการวิจัยการเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความ โครงการวิจัย การรายงานผลการวิจัย และจรรยาบรรณในการวจิ ยั Concepts, research methodology and procedures of various types of research projects, research objectives, literature review, hypothesis forming and testing, research designs, population and samples, research instruments, data collection, data analysis, research interpretation and report, and research ethics

17 02-121-710 กระบวนการทางการศกึ ษา 3(3-0-6) Educational Process แนวคิด ทฤษฎีทางการศึกษา ปรัชญา ปรัชญาการศึกษา นโยบาย วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาการศึกษาของไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานและ การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรและหลักสูตร สถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน การสอนเสริม ปัจจัยในการพัฒนาหลักสูตร และการจดั การเรียนการสอนสาหรับอนาคต การพฒั นาหลักสตู รและบริหารการจัด การเรียนการสอนในแนวทางใหม่ จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาพัฒนาการ การ แนะแนว หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การสร้างและหา คุณภาพของเคร่ืองมือวัดผล การนาผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงการจัดการ เรยี นรู้ Concepts and theories of educational, philosophy, educational philosophy, policies, visions, educational development plan of Thailand, National Education Act, educational standard and Quality Assurance curriculums, curriculum development and school curriculum development, Instruction, enriched instruction, factors in curriculum development and instruction for the future, new methods of curriculum development and instructional management, learning theories psychology developmen school guidance principles and techniques in measurement and evaluation, evaluation instrument development, score interpretation, and use of evaluation for instructional improvement

18 02-121-608 ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ทางการบรหิ ารการศึกษา 3(90) Professional Experience in Educational Administration การปฏิบัติภารกิจทางการบริหารจัดการทางการศึกษาในองค์การและสถาบัน ทางการศึกษาภาครัฐหรือภาคเอกชนท่ีเลือกสรร ตลอดจนศึกษาดูงานอบรมใน สถานศึกษาหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศ การตัดสินใจ และนาการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการบริหารทางการบริหารการศึกษาซ่ึงใช้การวิจัย เป็นฐานในการดาเนินการ วิเคราะห์รายงานผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพอย่าง เปน็ ระบบ Professional work experience in educational administration in selected public or private educational institutions within Thailand and other countries, training and field trip in educational institutes, decision making and problem solving using educational administration process based on research, and professional work experience analysis and report 02-121-602 หลกั การและทฤษฎกี ารบรหิ ารการศึกษา 3(3-0-6) Principle and Theories in Educational Administration แนวคิด หลักการ และทฤษฎีการบริหารการศึกษา การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ทฤษฎี ทางการบริหาร การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการบริหารในการพัฒนาการศึกษาให้ สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา แนวคิดร่วมสมัยในการบริหารและแนวโน้ม ทางการบริหารการศึกษา การประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีทางการบริหารเพื่อการศกึ ษาวิจยั Concepts, principle and educational administration theories, Critical analysis of educational administration theories, application of theories into educational development practices in accordance with school contexts, contemporary concepts concerning educational administration trends in educational administration , management theories for uses in educational administration research

19 02-121-603 นโยบายและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ทางการศึกษา 3(3-0-6) Policy and Strategic Planning in Educational แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับนโยบาย การกาหนดนโยบาย การวเิ คราะหน์ โยบาย การ จดั ทานโยบายและแผนการศกึ ษา แนวคดิ เกยี่ วกับการวางแผนการศึกษาเชิงกลยุทธ์ การนานโยบายและแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา แนวคิด หลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา การประกัน คุณภาพภายในและภายนอก การกากับติดตามการประเมินคุณภาพทางการศึกษา การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือรองรับการประเมิน ภายนอก การสรา้ งวัฒนธรรมคุณภาพการศกึ ษา และการนาผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้เพื่อพัฒนาการศึกษา รวมท้ังกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการศึกษาและ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลการบริหารสถานศึกษา Concepts and principles of policy, policy setting, policy analysis, policy and educational plan setting, concepts of educational strategic planning, concepts and principles of policy and strategic plan implementation in school contexts, concepts and principles of educational quality assurance, internal quality assurance and external quality assurance, educational quality assurance supervision, school self assessment report for external quality assurance, educational quality culture, application of educational quality assurance, and laws related to education and educational administrators

20 02-121-604 การพฒั นาผบู้ รหิ ารการศึกษามอื อาชีพ 3(3-0-6) Professional Educational Administrator Development แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับภาวะผู้นา พฤติกรรมผู้นา คุณลักษณะและบทบาทผู้นา ทางการศึกษา ผู้นาการเปล่ียนแปลงในบริบทของการเปลี่ยนแปลงของโลกและ สังคม การบริหารความเส่ียง การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา การสร้าง ปฏิสัมพันธ์และการพัฒนาเพื่อนร่วมงานทางวิชาการ การนิเทศเพ่ือพัฒนาครูให้ จัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนตามศักยภาพ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง สถานศึกษากับชุมชนและท้องถ่ิน รวมท้ังความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ หลักธรรมา ภิบาล คุณธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี Theories and concepts of leadership, leader’s behaviors, characteristics and roles of educational leaders, transformational leader in contexts of changing world and society, risk management, mobilization of educational resources, interaction and academic colleagues development, instructional supervision to improve learner’s potential, relationship between schools, communities and locals, principles of good governance, morals and ethics, and code of ethics 02-121-606 สัมมนาทางการบริหารการศึกษา 3(3-0-6) Seminar in Educational Administration การอภิปรายเชิงวิพากษ์ การวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการบริหาร การศึกษา การสร้างอุดมการณ์ จิตวิญญาณของผู้บริหารยุคใหม่เพ่ือเป็น แนวทางการพัฒนาไปสู่การเป็นผู้บริหารมืออาชีพ โดยวิธีการศึกษากรณีเฉพาะราย และการจดั การความรู้ Criticism, analytical and synthesis discussion of educational administration knowledge, and forming modernized administrators’ ideology and spirit in being professional administrators through case study and knowledge management procedure

21 02-121-607 การวิจยั ทางการบริหารการศึกษา 3(3-0-6) Educational Administration Research หลักการวิจัยทางการบริหารการศึกษา การสืบค้น ทบทวนเอกสารงานวิจัยและ การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัยทางการบริหารการศึกษา การออกแบบการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโครงการวิจัยทางการบริหารการศึกษา การนาเสนอ ผลการวิจัย การประเมินและวิพากษ์งานวิจัยเพ่ือการพัฒนาวิชาชีพการบริหาร การศกึ ษา และจรรยาบรรณการวิจยั Principles of educational administration research, retrieving and reviews of related literature in educational administration, formation of educational administration research framework, research design, data analysis, educational administration research proposal develop ment, research presentation, research evaluation and criticism for educational administration professional development, and research ethics 02-121-609 หลักการและกระบวนการบริหารสถานศกึ ษา 3(3-0-6) Principle and Process of School Administration คุณลักษณะ บทบาทและหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษา การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานทั่วไป การ บริหารงานกจิ การนักเรยี น ความสัมพันธ์กับชุมชน การนิเทศการศึกษา การประกัน คณุ ภาพการศกึ ษา และกฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการบริหารสถานศึกษา Characteristics, functions and roles of educational administrators, academic administration, financial administration, personnel administration, general administration, students activities management, administration of public and community relations, educational supervision, educational quality assurance, laws related to educational administration

22 02-121-605 การพฒั นาองค์การและทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3(3-0-6) Organizational Development and Educational Human Resources Development แนวคิดและหลักการเก่ียวกับองค์การ การบริหารองค์การและการพัฒนาองค์การให้ สามารถรับเทคโนโลยีและการเปล่ียนแปลงใหม่ๆ แนวคิด หลักการเก่ียวกับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ การวางแผน การวิเคราะห์งานและการ ออกแบบระบบงาน การคัดเลือก การสรรหา และการพัฒนาขีดความสามารถของคนใน องค์การแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน แนวโน้มการ จัดการองค์การและการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ท่มี ตี ่อความสาเร็จขององค์การ Concepts and principles of organizations, organizational administration and organizational development toward new technology and changes, principles and concepts of human resource development, human behaviors in organization, planning, task analysis and work system design, personnel recruitment and personnel potential development in learning organization, performance evaluation system, trends in organizational management, and human resource administration for success 02-121-711 การนิเทศการศกึ ษา 3(3-0-6) Educational Supervision หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการนิเทศ การใช้เทคนิคการนิเทศอย่าง หลากหลายด้วยความเป็นกัลยาณมิตร จิตวิทยาการนิเทศและการสอ่ื สาร การสรา้ ง พลังอานาจและการพัฒนาศักยภาพครู การสร้างวัฒนธรรมในการพัฒนางาน วิชาการและการนาไปสู่การเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ Principles, concepts and guidelines of supervision, using variety technics of amicable supervision, psychology of supervision and communication, empowering teachers and teacher’s potential development, building organization culture in academic areas, and creating life-long leraning teachers

23 02-121-712 การบรกิ ารวชิ าการเชงิ พ้นื ที่ของผู้บริหารสถานศกึ ษา 3(3-0-6) Area-Based Academic Service of School Administrator ทักษะในการแสวงหาความรู้ในบริบทของการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ การสร้างศรัทธา และความเชื่อมั่นของผู้รับบริการทางวิชาการ การบริการทางวิชาการเชิงรุก การ ประเมินความต้องการจาเป็นในการบริการทางวิชาการ เทคนิคการเขียนโครงการ การบริหารโครงการการบริการทางวิชาการ การสรุปผลและประเมินการบริการ วชิ าการ และการวางแผนพัฒนาปรับปรงุ การบริการวชิ าการ Inquiry skills in the context of area-based development, building academic service recipients’ faith and trust, proactive academic service, academic service needs assessment, techniques for writing project, academic service project administration, summarizing and evaluating academic service, academic service improvement plan 02-121-713 ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมของผู้บรหิ ารสถานศึกษา 3(3-0-6) Corporate Social Responsibility of School Administrator หลักการ แนวคิด ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้บริหาร หลักธรรมาภิบาล ระบบและ กลไกในการกากับดูแลสถานศึกษาท่ีดี คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของ ผู้บริหาร เพ่อื การสร้างจติ สานึกสาธารณะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา Principles and concepts of social responsibility of school administrator, good governance, systems and mechanisms of good school monitoring, morals, ethics and code of ethics of school administrator, and school administrator public consciousness

24 02-131-604 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) Learning Measurement and Evaluation หลักการ แนวคิดและแนวปฏบิ ัติในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การออกแบบ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สถิติสาหรับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้เทคนิคและเคร่ืองมอื ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา ผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ปฏิบัติการวัดและประเมินผลผู้เรียน การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือวัด และประเมินผลการเรียนรู้ การนาผลการวัดและการประเมินไปใช้ในการพัฒนา ผู้เรียน Principles and guidelines on measurement and assessment of learning, measurement and assessment designs of learning, statistics for measurement and assessment of learning, application of techniques and instruments to develop learner individually, report learner’s outcome on quality development systematically, practice on measurement and assessment of learning, construction and examination of instrument for measurement and assessment, implement the instrument to develop learners 02-141-608 นวตั กรรมการพฒั นาหลักสูตร 3(2-2-5) Innovations for Curriculum Development แนวคิด หลักการ ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตร การออกแบบหลักสูตร ระบบหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตร กระบวนการสร้างและ พัฒนานวตั กรรมหลักสตู รในสถานศึกษา การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรดว้ ยวิธีการ ใหม่ๆ ท่ีส่งเสริมทักษะสาคัญสาหรับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 การนาหลักสูตรไปใช้ การทาหน่วยการเรียนรู้และโครงการสอน การประเมินหลักสูตร ปัญหาและแนวโน้ม ในการพัฒนาหลักสตู ร Concepts, principles, curriculum theories, theories related to curriculum preparation, curriculum Design, curriculum system, curriculum analysis, curriculum innovation construction and development process for educational institutions, new methods for curriculum design and construction courses to support learners’ skills of the 21st century, curriculum implementation, instructional Learning unit and teaching project, curriculum evaluation, problems and trends in curriculum development

25 02-142-601 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้และการจดั การช้ันเรียน 3(2-2-5) Innovations for Learning Management and Classroom Management ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎีและรูปแบบการ จัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาได้ การบูรณาสาระการเรียนรู้ การบูรณาการสอน และการบรูณาการการเรียนรู้ แบบเรียนรวม การสร้างบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมเพ่ือการเรียนรู้ การจัดการช้ัน เรียน การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา วิธีสอน รูปแบบการเรียนรู้ เทคนิค การสอน ทักษะการสอน วิทยาการจดั การเรยี นรู้ และการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 การวางแผนการจัดการเรียนรู้และ นาไปใช้จัดการเรียนรู้ โดยบรูณาการวิทยาการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญา ร้คู ิด และมีความเป็นนวัตกรใหเ้ กิดผลจริง Principles and concepts of curriculum and learning management, theories and models of learning management to motivate learner to think, analyze, create and solve problems, integrate learning content, pedagogy and holistic learning, atmosphere and environment for learning, classroom management, development of learning center on sites, teaching techniques, teaching skills, learning sciences and innovation creation for learner’s development in 21st century, planning for learning management, implementation and bringing into practice of intellectualization, consideration and invention 02-311-601 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 3(2-2-5) Educational Innovation and Information Technology หลักการ แนวคิด ทฤษฎี การออกแบบ การประยุกต์ใช้ การประเมินสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ในขอบข่ายระบบการสอน การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือสื่อสารการศึกษา รวมถึงกระบวนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ สรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพื่อการศกึ ษาในอนาคต Principles, conceptual framework, theories, designs, applications, evaluations, media innovations and information technology for learning on concerning instructional system, development educational communications, including processes

26 02-121-709 วทิ ยานิพนธ์ 12(0-0-36) Thesis การวิจัยเก่ียวกับการบริหารการศึกษา โดยใช้กระบวนการ ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติ ในสาขาการบริหารการศึกษา ภายใต้ความควบคุมดูแลของคณาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการศึกษา โดยเน้นความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ทางวิชาการ การนาทฤษฎแี ละหลักการมาใชใ้ นการพฒั นาการบริหารการศึกษา Research on educational administration using research process, methodology, and statistics under the supervision of thesis advisors, creating of new educational knowledge with emphasis on academic creativity, and applying theories and principles to develop educational administration

3.2 ช่ือ-สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒิของอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจาหลกั สูตร ลาดบั ชอ่ื – นามสกลุ ตาแหน่ง คุณวุฒิ - สาขาวชิ า สาเรจ็ จาก วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั เซนต์จอ 1 นางพมิ ลพรรณ รอง ปร.ด. (บรหิ ารการศึกษาและ มหาวิทยาลยั สุโขทยั เพชรสมบัติ ศาสตราจารย์ ภาวะผู้นา) ธรรมาธิราช มหาวิทยาลยั รามคาแ ศษ.ม. (การวัดและประเมินผล การศึกษา) ศษ.บ. (คณติ ศาสตร์) 2 นางสาวต้องลักษณ์ ผชู้ ว่ ย ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลยั สยาม บุญธรรม ศาสตราจารย์ กศ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) มหาวิทยาลัยนเรศว (วทิ ยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ค.บ.

1 ปีท่จี บ ภาระการสอน ชม./ ผลงานทางวชิ าการ สัปดาห/์ ปกี ารศึกษา 2564 2565 2566 2567 อห์น 2555 1) อารรี ัตน์ จีนแส และ พิมลพรรณ เพชรสมบตั ิ. (2562). ภาวะผ้นู าแบบ 6 6 6 6 บารมขี องผบู้ รหิ ารโรงเรียน สงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่ี สังกดั สานกั งานเขต 2551 พื้นท่ีการศึกษาสระบุรี เขต 1. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัย สงฆ์นครสวรรค.์ 8(2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. น. 1-14. แหง 2545 2) เสาวนีย์ สมบูรณ์ศิโรรัตน์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2562). การศึกษาภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 2. วารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. 8(2), พฤษภาคม- สิงหาคม 2562. น. 15-3. 3) วภิ าดา สารัมย์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2563). การบริหารงาน บุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. 12(1), มกราคม – มิถุนายน 2563, น. 19-25. 2554 1) ศศิวิมล ม่วงกล่า และ ต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2563). การวิเคราะห์ 6 6 6 6 วร 2547 องค์ประกอบด้านความสามารถทางดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการ ทยาลยั 2541 ศึกษา จังหวัดสระบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต. 15(1), มกราคม – มิถนุ ายน 2563. น. 68-85. 2) พิชิต ขาดี และ ต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2562) ความต้องการ จาเป็นของการเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี สาหรับโรงเรยี น ขนาดเลก็ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 39(2). มีนาคม - เมษายน 2562. น. 67-78. 27

3.2 ช่ือ-สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒิของอาจารย์ 3.2.2 อาจารยป์ ระจาหลักสูตร (ต่อ) ลาดับ ชื่อ – นามสกุล ตาแหนง่ คุณวฒุ ิ - สาขาวิชา สาเรจ็ จาก วชิ าการ 3 นายชัยอนันต์ อาจารย์ ศษ.ด. (การบริหารการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศา มัน่ คง ค.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) สถาบนั ราชภฏั พบิ ูล สงคราม ค.บ. (การประถมศึกษา) สถาบันราชภฏั พิบลู สง

2 ภาระการสอน ชม./ ปีทีจ่ บ ผลงานทางวชิ าการ สัปดาห/์ ปีการศึกษา 2564 2565 2566 2567 3) ศิริพร เกษวิทย์ และต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2562). ปัยจัยที่ส่งผลต่อ 6 6 6 6 การดาเนินงานตามตัวชี้วัดการประเมินแบบสมดุลของสถานศึกษาระดับ ประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 39(2), มีนาคม - เมษายน 2562. น. 98-111. าสตร์ 2559 1) ชานนท์ วรรณา และ ชัยอนันต์ มั่นคง. (2563). แนวทางการ 6 6 6 6 2546 พัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยม ศึกษาเขต 4. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลยั งคราม 2544 ราชภัฎศรีสะเกษ. 14(1), มกราคม – มถิ ุนายน 2563. น. 45-56. 2) อิทธิศักดิ์ ศิริจนั ทร์ และ ชัยอนันต์ มั่นคง. (2563). ความสัมพนั ธ์ ระหว่างบรรยากาศองค์การกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ ครใู นโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกดั สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสระบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. 14(1), มกราคม – เมษายน 2563. น. 11-21. 3) ชัยอนันต์ มั่นคง และ ระติกรณ์ นิยมะจันทร์. (2561). โมเดล สมการโครงสร้างของพฤติกรรมการทางานเชิงรุกของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิชาการคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 19(2), กรกฎาคม - ธนั วาคม 2561. น. 92-103. 28

3.2 ช่ือ-สกุล ตาแหนง่ และคณุ วฒุ ขิ องอาจารย์ 3.2.2 อาจารย์ประจาหลกั สูตร (ต่อ) ลาดับ ช่ือ – นามสกุล ตาแหน่ง คณุ วุฒิ - สาขาวิชา สาเร็จจาก วิชาการ มหาวิทยาลยั ขอนแก 4 นายสทุ ธพิ ร บุญสง่ ผูช้ ว่ ย ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยเกษตรศ ศาสตราจารย์ ศษ.ม. (การสอนสังคมศกึ ษา) มหาวิทยาลยั ศลิ ปาก ศษ.บ. (สังคมศกึ ษา)

3 ภาระการสอน ชม./ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ สัปดาห/์ ปีการศึกษา 2564 2565 2566 2567 ก่น 2545 1) ณัฐณชิ า จิตตะคาม และ สุทธพิ ร บญุ สง่ . (2562). การพัฒนาการ 3 3 3 3 ศาสตร์ 2533 จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์ของกอร์ดอนเพ่ือส่งเสริมการ กร 2525 เขียนตามจินตนาการเชิงสร้างสรรค์ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. การประชุมประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562. 1 กุมภาพันธ์ 2562. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์, น. 236-248. 2) กมลวรรณ ทับโต, สุทธิพร บุญส่ง และ ลินัฐฎา กุญชรินทร์. ก า ร ศึ ก ษ า เจ ต ค ติ ต่ อ วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ข อ ง นั ก เรี ย น ร ะ ดั บ ช้ั น ประถมศึกษาตอนปลายกลุ่มโรงเรียนแม่เลย์ สังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2.ในการประชุม วิชาการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ สิ่งประดิษฐ์ ครั้งที่ 2 ประจาปี 2561.ปทุมธานี: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุร.ี วันท่ี 18 ก.ค. 2561,573-583. 3) สายรุ้ง ทองสูง, อรรถวิทย์ สุปัตติ, สุทธิพร บุญส่ง และ ลินัฐฎา กุญชรินทร์. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อ วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้การสอนแบบสะเตม็ ศึกษาด้วยสื่อประสม เรื่อง พลังงานทดแทน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน สระแก้ว.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ส่ิงประดิษฐ์ คร้ังท่ี 2 ประจาปี 2561. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วันที่ 18 ก.ค. 2561, น.625-635 29

3.2 ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 3.2.2 อาจารย์ประจาหลกั สูตร (ต่อ) ลาดับ ช่ือ – นามสกลุ ตาแหน่ง สาเรจ็ จาก วิชาการ 5 นางสาวลณิ ฐั ฎา อาจารย์ Ph.D. (Guidance and Counseling) University Science กญุ ชรนิ ทร์ Malaysia (USM) M.A. (Guidance and Counseling) University Science Malaysia (USM) วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษ

4 ภาระการสอน ชม./ ปที จี่ บ ผลงานทางวชิ าการ สัปดาห์/ปกี ารศกึ ษา 2564 2565 2566 2567 e of 2559 1) ธนชุดา อาจวงศา และ ลินัฐฎา กุญชรินทร์. การพัฒนาทักษะ 3 3 3 3 การคานวณทางวิทยาศาสตร์โดยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดผสานกับ e of 2554 เทคนิคการเล่นเกมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. ใน การประชุม วิชาการระดับชาติ การศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ประจาปี 2560. ษณ์ 2546 กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนสุนนั ทา.วันท่ี 25 พ.ค. 2561, น.61-70. 2) สุนิสา เนรจิตร์, สุทธพิ ร บุญส่ง และ ลนิ ัฐฎา กุญชรินทร์. ความ คิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครู โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 5. ในการประชุม วิชาการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ส่ิงประดิษฐ์ คร้ังที่ 2 ประจาปี 2561.ปทุมธานี: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี.วันที่ 18 ก.ค. 2561, น.553-562. 3) โชติกา สงิ หป์ อ้ ง, สทุ ธพิ ร บญุ ส่ง และ ลนิ ัฐฎา กุญชรินทร.์ ความ คิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนประถมศึกษา อาเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ส่ิงประดิษฐ์ คร้ังที่ 2 ประจาปี 2561. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วันท่ี 18 ก.ค. 2561, น. 14-615 30

3.2 ช่ือ-สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒขิ องอาจารย์ 3.2.3 อาจารยผ์ ้สู อน ลาดับ ชอื่ – นามสกลุ ตาแหนง่ คุณวฒุ ิ - สาขาวิชา สาเร็จจาก วิชาการ 1 นางสาววไิ ลวรรณ รอง ค.ด. วิธวี ทิ ยาการวจิ ยั การศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาล ศรีสงคราม ศาสตราจารย์ กศ.ม. จติ วทิ ยาพฒั นาการ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ท วิโรฒ ประสานมิตร วท.บ. จิตวทิ ยา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ท วโิ รฒ ประสานมิตร 2 นายเทยี มยศ ศษ.ด. (เทคโนโลยีารศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศ ปะสาวะโน ศษ.ม. (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ นศ.บ. (วิทยุโทรทัศน์) มหาวิทยาลัยสโุ ขทัย ธรรมาธิราช 3 นางสุกญั ญา แสงเดอื น ผู้ช่วย ศษ.ด. เทคโนโลยกี ารศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศ ศาสตราจารย์ ศษ.ม. เทคโนโลยีและสอื่ สาร มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัย การศกึ ษา ธรรมาธิราช ศศ.บ. บรรณารักษศาสตร์และ วทิ ยาลยั ครบู า้ นสมเด สารนิเทศศาสตร์ เจ้าพระยา

5 ภาระการสอน ชม./ ปที ีจ่ บ ผลงานทางวชิ าการ สปั ดาห์/ปีการศึกษา 2564 2565 2566 2567 ลัย 2555 1) วิไลวรรณ ศรีสงคราม. (2562). การเปรียบเทียบโมเดลเชิงสาเหตุ 3 3 3 3 ทร ระหวา่ งเพศของมิติทางบุคลิกภาพและพฤติกรรมความก้าวร้าวทาง 2539 ไซเบอร์. บทความนาเสนอในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยา ทร ครั้งที่ 13 “มนุษย์ในโลกดิจิทัล” ระหว่างวันที่ 4-6 กรกฎาคม 2532 2562, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน): กรุงเทพ. น. 758-764. ศาสตร์ 2553 1) Pasawano, T. (2019). Development of an Edutainment 3 3 3 3 น 2545 Classroom Model on Creation of Multimedia for 2540 Education. Proceeding 1 5 th Annual CamTESOL Conference on English Language Teaching, Teachers as Learners. 16-17 February 2019. at Institute of Technology Cambodia (ITC) Phnom Penh, Cambodia. pp. 1 5 0 - 151.Hotel Yangon, Myanmar. ศาสตร์ 2552 1) สุกัญญา แสงเดอื น และ บษกร เพชรอาวุธ. (2561). ปญั หาการ 3 3 33 2546 แปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยของนกั ศกึ ษา วชิ าภาษาอังกฤษเพอ่ื การ สอื่ สารสากล มหาวิทยาลยั เทคโนโลยลี ้านนา นา่ น. การประชมุ วชิ าการ ดจ็ 2534 ระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ประจาปี 2561. “ราชมงคลขับเคลอื่ นนวตั กรรมสู่ประเทศไทย 4.0.” วนั ที่ 1-3 สงิ หาคม 2561 ณ โรงแรมเรือรัษฎา จังหวดั ตรัง. น.788-796. 31

3.2 ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 3.2.3 อาจารย์ผู้สอน (ตอ่ ) ลาดบั ชือ่ – นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วุฒิ - สาขาวชิ า สาเร็จจาก วชิ าการ 4 นางสาวทศพร แสงสว่าง ผชู้ ่วย ปร.ด. นวัตกรรมการเรยี นรู้ทาง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ศษ.ม. เทคโนโลยีและสอ่ื สาร มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรม การศึกษา ค.บ. บรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระน 5 นายเมธี พกิ ุลทอง ผชู้ ว่ ย ปร.ด. เทคโนโลยีเทคนคิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ศาสตราจารย์ พระจอมเกลา้ พระนครเห ศษ.ม. เทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสต ศ.บ. โสตทัศนศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง 6 นางสุกญั ญา บญุ ศรี อาจารย์ ค.ด. การวัดและประเมินผล จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย การศึกษา ค.ม. การวดั และประเมินผล จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั การศึกษา ค.บ. การสอนวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ท่ัวไปและชวี วิทยา 7 นางสาวรนิ รดี พรามณี ผชู้ ่วย ค.ด. (หลกั สูตรและการสอน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศาสตราจารย์ ค.ม. (นเิ ทศศกึ ษาและพฒั นา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย หลักสูตร) ค.บ. (วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป) สถาบันราชภฏั พระนคร

6 ภาระการสอน ชม./ ปีทจ่ี บ ผลงานทางวิชาการ สปั ดาห/์ ปกี ารศกึ ษา 2564 2565 2566 2567 2554 1) Sangsawang, T., & Maneetham, D. (2020). The Machine 3 3 3 3 Game for Development in Reading Skill of Learning มาธิราช 2546 Disabilities Students. International Journal of Advanced Science and Technology. 29,(7s), pp. 251-261. นคร 2539 2558 1) Important characteristics of Buddhist monk as the 3 3 3 3 หนือ moral teacher in Thailand : A Case study in Patumthani ตร์ 2539 Province. The 2020 International Conference on ง 2532 Education and Learning (ICEL2020). Kyoto, Japan, March 30 - April 1, 2020. pp.452-464. ย 2561 1) Boontham, T. and Boonsri, S. (2020). The Comparison 3 3 3 3 of Industrial Characteristics of Rajamangala University of ย 2546 Technology Thanyaburi Students. Proceedings of the Asian Conference on Education & International ย 2543 Development, 23-26 March 2020. pp. 275-282. ย 2553 1) รินรดี ปาปะใน. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น 3 3 3 3 ย 2546 ฐานผสานเทคนิคแผนผังความคิด สาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารปัญญาภิวัฒน์. เดือนกันยายน-เดือนธันวาคม 2561. 10(3). 2541 น. 297-308. 32

3.2 ช่ือ-สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒขิ องอาจารย์ 3.2.3 อาจารย์ผ้สู อน (ต่อ) ลาดบั ช่อื – นามสกุล ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ - สาขาวชิ า สาเรจ็ จาก วชิ าการ 8 นางสาวปิยนันท์ ปานน่มิ ผชู้ ่วย ปร.ด. ธุรกจิ เทคโนโลยีและ จฬุ าลงกรณม์ หาวิท ศาสตราจารย์ การจัดการนวัตกรรม วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตร ค.บ. โสตทัศนศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ 9 นายสุรตั น์ ขวัญบญุ จันทร์ อาจารย์ ปร.ด. การวจิ ยั และพัฒนาทาง มหาวิทยาลัยราชภฏั การศกึ ษา พิบลู สงคราม กศ.ม. การวดั ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรีนคร วโิ รฒ ประสานมิตร ศษ.บ. บริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช 10 นายกิตภิ มู ิ วภิ าหัสน์ อาจารย์ Ph.D. Information Asian Instituted o Communications Tchnology and Technologies M.S. Computer and University of Sou Information Science Australia, Austral วท.บ. วิทยาการคอมพวิ เตอร์ สถาบันเทคโนโลยรี าช

7 ภาระการสอน ชม./ ปที ่จี บ ผลงานทางวชิ าการ สปั ดาห์/ปีการศกึ ษา ทยาลยั 2562 2564 2565 2566 2567 รศาสตร์ 2554 1) กิติภูมิ วิภาหัสน์, ปิยนันท์ ปานนิ่ม และนายวรพันธ์ สาระสุรีย์ 3 3 3 3 ทยาลัย 2550 ฏ 2559 ภรณ์. (2563). แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพาพัฒนาทักษะด้าน รนิ ทร 2531 มารยาทชาวพุทธ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2. วารสาร ร ย 2527 ศกึ ษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 22(4). หนา้ 307-330. 1) สุรัตน์ ขวัญบุญจันทร์. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ 3 3 3 3 ทางการเรียนวิชาการวจิ ัยทางการศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ในการประชุมและนาเสนอผลงาน วิชาการทางการศึกษาระดับชาติ คร้ังที่ 6. (12-13 มกราคม) น.631-639. นครราชสีมา: มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลิตกุล. of 2562 1) กิติภูมิ วิภาหัสน์, ปิยนันท์ ปานน่ิม และนายวรพันธ์ สาระสุรีย์ 3 3 3 3 ภรณ์. (2563). แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์พกพาพัฒนาทักษะด้าน มารยาทชาวพุทธ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2. วารสาร uth 2544 ศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั นเรศวร. 22(4). หนา้ 307-330. lia ชมงคล 2540 33

34 3.2.3 อาจารยพ์ ิเศษ ตาแหน่ง สถานท่ที างาน รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ลาดบั ชื่อ-สกลุ รองศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 1 นายสุทธ์ิ วจิ ติ รพชั ราภรณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2 นางอจั ฉรา นยิ ามา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลยั เซนตจ์ อหน์ 3 นางสาวอรุณี หงษ์ศิริวฒั น์ 4 นางธนีนาฎ ณ สนุ ทร 4. องค์ประกอบเกย่ี วกับประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน หรอื สหกิจศกึ ษา) ตามประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพ่ือการ ประกอบวิชาชีพ พ.ศ.2557 ระบุว่า ต้องมีรายวิชาปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต ดังน้ัน หลักสูตรจึงได้กาหนดรายวิชา 02-121-608 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางการบริหาร การศึกษา 3(90) เพอื่ รองรบั ตามประกาศฯ 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องประสบการณ์ภาคสนาม สังเกตการณ์การบริหารในสถานศึกษาหรือหน่วยงานทางการศึกษาภาครัฐหรือเอกชน และ ปฏิบัติหน้าที่ ตามภาระงานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมายจากพ่ีเลี้ยง (Mentor) ใน สถานศึกษาและอาจารย์นิเทศก์ เปน็ เวลา 1 ภาคการศึกษา 4.2 ชว่ งเวลา ภาคการศึกษาท่ี 2 ของปกี ารศกึ ษาท่ี 1 4.3 จานวนหนว่ ยกติ 3 หนว่ ยกิต 4.4 การจดั เวลาและตารางสอน มีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารสถานศึกษา ในสถานศึกษาหรือหน่วยงาน ทางการศึกษาภาครัฐหรือเอกชน 1 ภาคการศึกษา โดยมีชั่วโมงปฏิบัติงานในสถานศึกษา เช่น การ สงั เกตการณ์เกี่ยวกบั การบริหารงานวิชาการ งานบคุ คล งานงบประมาณ และงานบรหิ ารงานทั่วไป หรือ ปฏิบัติงานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมายไม่น้อยกว่า สัปดาห์ละ 6 ช่ัวโมง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ รวม เวลาไมน่ อ้ ยกว่า 90 ช่วั โมง ต่อภาคการศึกษา 5. ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับการทาวิทยานพิ นธ์ นักศึกษาทุกคนต้องผ่านการสอบหัวข้อและเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ภายใต้การดูแลและให้ คาปรึกษาจากอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่จะต้องควบคุม กาหนดขอบเขตการทางานท่ีชัดเจน การ รายงานความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษา การเขียนวิทยานิพนธ์ตามรูปแบบท่ีกาหนด การนาเสนอต่อท่ีประชุม และสอบความร้ดู ้วยปากเปล่าต่อคณะกรรมการสอบ รวมถึงผลงานวทิ ยานิพนธ์ ได้รับการเผยแพรโ่ ดยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการยอมรับ หรือเสนอ ต่อท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 และที่แกไ้ ขเพิ่มเตมิ

35 5.1 คาอธิบายโดยย่อ การทาวิทยานิพนธ์เก่ียวกับการบริหารการศึกษา โดยให้มีการดาเนินการ เช่น การเสนอ เค้าโครง การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ เรียบเรียงผลการวิจัย การเสนอผลการวิจัยในรูปบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐานข้อมูลท่ี ได้รับการยอมรับ หรือเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) ตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 1. สามารถวางแผน กาหนดกรอบแนวคิด และวิธีดาเนินงานในการทาวิทยานิพนธ์หรือการ คน้ คว้าอสิ ระอยา่ งเป็นระบบไดด้ ้วยตนเอง 2. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้นไดอ้ ย่างเป็นระบบ 3. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาศาสตร์การบริหารบนพ้ืนฐานการวิจัยได้อย่าง สร้างสรรค์ 4. สามารถสื่อสารได้ท้ังภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการ ส่ือสารอย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทัง้ สามารถนาเสนอรายงานแบบเป็นทางการไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 5.3 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ 1 - 2 ของปีการศกึ ษาท่ี 2 5.4 จานวนหน่วยกติ 12 หนว่ ยกิต แบง่ ออกเปน็ 1. ค้นคว้าเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องจนสามารถหาหวั ข้อวิทยานิพนธ์ได้ 2. เรยี บเรยี งเคา้ โครงเพอื่ เสนอคณะกรรมการพจิ ารณา 3. สอบเค้าโครงผ่าน และสง่ เค้าโครงเสนอต่อคณบดเี พ่ืออนมุ ัติ 4. สรา้ งเครอื่ งมือวิจัย 5. เก็บรวบรวมขอ้ มูล 6. วเิ คราะห์ข้อมูล 7. เผยแพรผ่ ลงานวิจัย 8. เขยี นวิทยานพิ นธ์เสร็จสมบูรณ์ทั้งฉบับ

36 5.5 การเตรียมการ 1. นักศึกษาต้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ภายในปีการศึกษาท่ี 1 เสนอต่อคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ 2. มีการกาหนดชั่วโมงการให้คาปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับงานวิจัยอย่างสม่าเสมอและ ต่อเนื่อง 3. มีกระบวนการเตรียมการให้คาแนะนาปรึกษาในการทาวิทยานิพนธ์แก่นักศึกษา ทั้งรายวิชา สัมมนาทางการบริหารการศึกษา และการวิจัยทางการบริหารการศึกษา เพ่ือกาหนดแนวทางงานวิจัย ของนักศกึ ษา 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล 1. นักศกึ ษาทุกคนต้องมกี ารนาเสนอรายงานความก้าวหน้าวทิ ยานิพนธใ์ นภาคการศึกษาทมี่ ีการ ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ภาคการศกึ ษาละ 1 ครัง้ ตลอดช่วงของการทาวิทยานิพนธ์ ให้กบั คณะกรรมการ สอบวทิ ยานิพนธ์ 2. นักศึกษาต้องนาเสนอและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์ประจาหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 3 คน 3. นักศึกษาต้องส่งรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธญั บรุ ี กาหนด 4. ข้อกาหนดอ่ืนๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ

37 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศกึ ษา คุณลกั ษณะพเิ ศษ กลยุทธ์หรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา ดา้ นความรู้ มคี วามเปน็ ผู้นา - มกี ารเรยี นการสอนท่ีมุ่งให้ศึกษา วเิ คราะห์ สงั เคราะห์แนวคดิ การเปล่ยี นแปลงท่ีมคี ณุ ธรรม ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้องกบั ศาสตร์ทางการบริหารการศกึ ษา เพือ่ สร้างองคค์ วามรู้และสามารถนาองค์ความรจู้ ากการวจิ ัยทางการ บรหิ ารการศกึ ษาเป็นฐานในสรา้ งองค์ความรดู้ า้ นการบริหารการศกึ ษา ใหม่ๆ ด้านทกั ษะการบรหิ ารทาง - มกี ารฝึกปฏบิ ตั ิเพื่อเสริมสร้างทักษะวิชาชีพทางการบรหิ ารทงั้ จาก การศกึ ษาอยา่ งมืออาชพี สถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริงด้วยรูปแบบการเรียนการสอน ทหี่ ลากหลาย - มกี ารส่งเสริมให้นักศกึ ษาเข้าร่วมการประชมุ สัมมนา ฝกึ อบรม ศกึ ษาดงู านท้งั ในและต่างประเทศ 2. การพฒั นาผลการเรยี นรู้ในแต่ละด้าน 1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และใชห้ ลักธรรมาภิบาลในการบริหารการศึกษา 2. เปน็ แบบอยา่ งและพฒั นาบุคลากรในดา้ นการมวี นิ ัย ตรงต่อเวลา มีความรบั ผิดชอบ ตอ่ ตนเองวชิ าชีพและสังคม 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการทางานเปน็ ทีม 4. มีจรรยาบรรณทางวชิ าการและวิชาชพี หรือ PLO 1 : สามารถประยุกตใ์ ชอ้ งค์ความรู้ดา้ นการบรหิ ารการศึกษา ความรู้เก่ียวกับหลักและ ทฤษฎีการบริหารการศึกษา และสามารถนามาบูรณาการองค์ความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความเป็นผู้นา มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษา สามารถให้คาปรึกษา และมี แนวทางการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า Sub PLO 1.1 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการบริหารการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความเป็นผู้นา มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตัวเอง และสงั คม Sub PLO 1.2 สามารถให้คาปรึกษาด้านการศึกษาในสถานศึกษาจากหลักการวิจัยและ หลกั วิชาการ และมแี นวทางการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า และสามารถทางานเปน็ ทมี ได้

38 1.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พัฒนาการเรยี นรู้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 1. สอดแทรกและปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้บรหิ าร 2. จดั การเรียนรู้จากสถานการณจ์ ริง การจัดกิจกรรมในวิชาเรียน 3. การสอนในรายวชิ าสมั มนา การวิจยั ทางการบริหารการศึกษา การฝึกประสบการณ์ วชิ าชีพ และวิทยานิพนธ์ 4. ใช้วิธกี ารสอนแบบการใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (problem based learning: PBL) 1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู า้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. สงั เกตการแสดงพฤติกรรมในการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ 2. การอภปิ รายแสดงความคิดเห็น 3. การนาเสนอผลงาน 2. ดา้ นความรู้ 2.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจอยา่ งลกึ ซงึ้ ในหลักการและทฤษฎสี าคัญในสาขาวชิ าการบริหาร การศึกษา และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการ ปฏบิ ัตงิ านในวชิ าชีพ 2. สามารถทาวจิ ัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวชิ าชพี ได้ โดยการพัฒนาความร้ใู หม่ หรอื ประยุกต์วธิ กี ารปฏิบตั งิ านใหมๆ่ ได้ 3. มคี วามรู้กวา้ ง และมีความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยท่มี ี ผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่ หรือการปฏบิ ตั ิงานในสาขาวชิ าการหรอื วชิ าชพี ในปจั จบุ ัน และการเปลีย่ นแปลงทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต 4. มีความรู้ในธรรมเนียมปฏบิ ตั ิ กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับในสาขาวชิ าชพี ท่เี ปลย่ี นแปลงตาม สถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5. มคี วามรู้เก่ยี วกับการวิจยั สถติ ิ การวดั ผลประเมนิ ผล และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การพฒั นา หรือ PLO 2 : ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ผลิตงานวิจัยและผลงานวิชาการ มีทักษะการ วิเคราะห์ปัญหา และสามารถนาความรไู้ ปใช้ในการวิจัยทางบริหารการศึกษาได้ และสามารถนา ผลงานวจิ ยั ไปตพี มิ พเ์ ผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ Sub PLO 2.1 สามารถวิเคราะห์ปัญหา นาความรู้มาผลิตงานวิจัยและผลงานวิชาการ ทางบรหิ ารการศึกษา Sub PLO 2.2 สามารถจัดการเรียนรู้ทางบริหารการศึกษา มีความเป็นผู้นาในทาง วชิ าการหรอื วิชาชีพดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา Sub PLO 2.3 สามารถนาความรู้ไปใช้ในการวิจัยทางบริหารการศึกษาได้ และสามารถ นาผลงานวิจยั ไปตีพมิ พ์เผยแพรต่ อ่ สาธารณชนได้

39 2.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ใช้รูปแบบการเรยี นการสอน วธิ ีการสอนทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ และเน้น หลกั ทางทฤษฎีและการปฏิบตั เิ พอ่ื ใหเ้ กิดองค์ความรู้ 2. การมอบหมายงานใหศ้ กึ ษาค้นควา้ และทารายงานท้ังรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 3. การอภิปรายโดยเนน้ การมีส่วนรว่ มของผสู้ อนและนกั ศกึ ษา 4. จดั การเรยี นรู้จากสถานการณจ์ รงิ โดยการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัตจิ รงิ 5. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหน้ ักศึกษาเขา้ รว่ มการประชมุ สมั มนาวชิ าการท้ังระดับชาตแิ ละ นานาชาติ 2.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู ้านความรู้ 1. ประเมินจากแบบทดสอบข้อเขียน การทดสอบภาคปฏบิ ัติ และการทาแบบฝกึ หดั 2. ประเมินจากรายงานผลการศกึ ษาค้นควา้ การทารายงานและการนาเสนอรายงาน 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 3.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะทางปัญญา 1. มีทักษะในการกาหนดนโยบาย แผน และกลยุทธท์ างการบริหารการศึกษา 2. มคี วามสามารถคิดคน้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทาความเขา้ ใจเพ่ือพฒั นาทักษะในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ผล วิพากษ์งานวิจยั และพฒั นาความรหู้ รอื แนวคิดใหม่ๆ ทางการ บริหารการศกึ ษา โดยบูรณาการเขา้ กบั ความรู้เดมิ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 3. สามารถนาความร้ไู ปใช้แก้ปญั หาและพัฒนาองค์กรได้ หรือ PLO 3 : สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพ่ือการสนับสนุนการบริหารการศึกษา ที่มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ปรบั ใชใ้ นการบริหารสถานศกึ ษา Sub PLO 3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการสนับสนุนการศึกษา การบริหารการศึกษาของสถานศกึ ษา Sub PLO 3.2 มีภาวะผู้นาทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษา และนา เทคโนโลยสี ารสนเทศมาปรบั ใชใ้ นการบริหารสถานศึกษา 3.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ชพ้ ฒั นาการเรยี นร้ดู ้านทักษะทางปญั ญา 1. จดั การเรียนรจู้ ากงานวจิ ัยท่ีเก่ียวกับการบรหิ ารการศึกษา เพ่อื ส่งเสริมใหเ้ กดิ การคิด วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และข้อสรุป จนเกดิ เป็นองคค์ วามรู้ทางการบรหิ าร 2. ฝึกวพิ ากษแ์ ก้ปัญหาและพัฒนาองค์กร 3. ฝึกการคิดเชิงระบบในการวเิ คราะห์ สงั เคราะหเ์ พื่อสร้างองค์ความรใู้ หม่ทางการบริหาร การศกึ ษา 4. การอภปิ รายกลุ่ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook